You are on page 1of 8

108

เรื่องที่ 2 การแปลงทางเรขาคณิต
เปนคําศัพทที่ใชเรียกการดําเนินการใด ๆ ทางเรขาคณิต ทั้งในสองมิติและสามมิติ เชน การเลือ่ น
ขนาน การหมุน การสะทอน
2.1 การเลื่อนขนาน ( Translation )
การเลื่อนขนานตองมีรูปตนแบบ ทิศทางและระยะทางที่ตองการเลื่อนรูป การเลื่อนขนานเปนการ
แปลงที่จับคูจุดแตละจุดของรูปตนแบบกับจุดแตละจุดของรูปที่ไดจากการเลื่อนรูปตนแบบไปในทิศทาง
ใดทิศทางหนึ่งดวยระยะทางที่กําหนด จุดแตละจุดบนรูปที่ไดจากการเลื่อนขนานจะหางจากจุดที่สมนัย
กันบนรูปตนแบบเปนระยะทางเทากัน การเลื่อนในลักษณะนี้เรียกอีกอยางหนึ่งวา “สไลด (slide)”
ดังตัวอยางในภาพที่ 1 และภาพที่ 2

ภาพที่ 1

ภาพที่ 2
109

2.2 การหมุน (Rotation)


การหมุนจะตองมีรูปตนแบบ จุดหมุนและขนาดของมุมที่ตองการในรูปนั้น การหมุนเปนการ
แปลงที่จับคูจุดแตละจุดของรูปตนแบบกับจุดแตละจุดของรูปที่ไดจากการหมุน โดยที่จดุ แตละจุดบนรูป
ตนแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนดวยขนาดของมุมทีก่ าํ หนด จุดหมุนจะเปนจุดที่อยูนอกรูปหรือบนรูปก็ได
การหมุนจะหมุนทวนเข็มนาฬิกาหรือตามเข็มนาฬิกาก็ได โดยทั่วไปเมื่อไมระบุไวการหมุนรูปจะเปนการ
หมุนทวนเข็มนาฬิกา
บางครั้งถาการหมุนตามเข็มนาฬิกา อาจใชสัญลักษณ -x๐
หรือ ถาการหมุนทวนเข็มนาฬิกา อาจใชสัญลักษณ x๐

C B จากรูป เปนการหมุนรูปสามเหลี่ยม ABC ใน


ลักษณะทวนเข็มนาฬิกา โดยมีจุด O เปนจุดหมุน
B ซึ่งจุดหมุนเปนจุดที่อยูนอกรูปสามเหลี่ยม ABC
/
รูป A′B′C′ เปนรูปที่ไดจากการหมุน 90๐ และ
A
จะไดวา ขนาดของมุม AOA′ เทากับ 90๐
A/
C O BOB′ เทากับ 90๐ COC′ เทากับ 90๐

2.3 การสะทอน ( Reflection )


การสะทอนตองมีรูป ตนแบบที่ตองการสะทอนและเสนสะทอน (Reflection line หรือ
Mior line) การสะทอนรูปขามเสนสะทอนเสมือนกับการพลิกรูปขามเสนสะทอนหรือการดูเงาสะทอน
บนกระจกเงาทีว่ างบนเสนสะทอน การสะทอนเปนการแปลงทีม่ ีการจับคูก ันระหวางจุด แตละจุดบนรูป
ตนแบบกับจุดแตละจุดบนรูปสะทอน โดยที่
1. รูปที่เกิดจากการสะทอนมีขนาดและรูปรางเชนเดิม หรือกลาววารูปที่เกิดจากการสะทอน
เทากันทุกประการกับรูปเดิม
2. เสนสะทอนจะแบงครึ่งและตั้งฉากกับสวนของเสนตรงที่เชื่อมระหวางจุดแตละจุดบนรูป
ตนแบบกับจุดแตละจุดบนรูปสะทอนที่สมนัยกัน นัน่ คือระยะระหวางจุดตนแบบและเสนสะทอนเทากับ
ระยะระหวางจุดสะทอนและเสนสะทอน
110

ตัวอยาง

จากรูป รูปสามเหลี่ยม A′B′C′ เปนรูปสะทอนของรูปสามเหลีย่ ม ABC ขามเสนสะทอน m


รูปสามเหลี่ยม ABC เทากันทุกประการกับรูปสามเหลี่ยม A′B′C′ สวนของเสนตรง AA′ ตั้งฉากกับเสน
สะทอน m ที่จุด P และระยะจากจุด A ถึงเสน m เทากับระยะจากเสน m ถึงจุด A′ ( AP = PA′ )
111

แบบฝกหัดที่ 2
1. ใหเขียนภาพที่เกิดจากการเลื่อนขนานจากรูปตนแบบและทิศทางที่กําหนดให
ก. ข.
A

C
D

B
A

2. ใหเขียนภาพการเลือ่ นขนานโดยกําหนดภาพตนแบบ ทิศทางและระยะทางของการเลื่อน


ขนานเอง
ก. ข.
112

แบบฝกหัด (ตอ)
ขอ 3

ภาพ พิกัดของตําแหนงทีก่ ําหนดให

A(-

C′( , )
B(- C(-
X
0 A/(2,-

B/(1,- C

Y
D
A′( , )
C B′( , )
A C′( , )
D/(- X
0 B
/
C/(0,-
A (-

B/(-
113

แบบฝกหัดที่ 3
คําชี้แจง จงพิจารณารูปที่กําหนดใหแลว
- เขียนรูปสะทอน
- เขียนเสนสะทอน
- บอกจุดพิกัดของจุดยอดของมุมของรูปสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้นจากการสะทอน
- บอกจุดพิกัดบางจุดบนเสนสะทอนที่ได
114

แบบฝกหัดที่ 4
1.

B
ใหเติมรูปสามเหลี่ยม A′B′C′ ที่
C
เกิดจากการหมุนสามเหลี่ยม ABC
0 X เพียงอยางเดียว โดยหมุนทวนเข็ม
นาฬิกา 90๐ และใชจุด (0 , 0)
เปนจุดหมุน

2.

Y
X ใหเติมรูปสี่เหลี่ยม O′X′Y′Z ที่เกิด
จากการหมุนสี่เหลี่ยม OXYZ
Z
X เพียงอยางเดียว โดยหมุนทวนเข็ม
นาฬิกา 270๐ และใชจุด (0 , 0)
เปนจุดหมุน
115

3.

B

ใหเติมสวนของเสนตรง A′B′ ที่
เกิดจากการหมุนสวนของเสนตรง
 AB เพียงอยางเดียว โดยหมุนตาม
0 X เข็มนาฬิกา 90๐ และใชจุด (-2, -2)
 (-2,-2) เปนจุดหมุน

4.

ใหเติมรูปสามเหลี่ยม A′B′C′ ที่


เกิดจากการหมุนสามเหลี่ยม ABC
0 X เพียงอยางเดียว โดยหมุนทวนเข็ม
B นาฬิกา 90๐ และใชจุด (-4 , -2)
 , -2)
(-4 เปนจุดหมุน
C

You might also like