You are on page 1of 14

ใบงานที่ 3

เรื่อง การทดลองวงจรลอจิกเกต

วัตถุประสงค์
- เพื่อทดสอบหน้าที่การทางานของลอจิกเกทต่างๆ ซึ่ งสร้างขึ้นในรู ปแบบของ
วงจรลอจิก ( Logic Circuit )
- เพื่อทอสอบวงจรลอจิกที่สร้างจากสมการลอจิก
- เพื่อทอสอบวงจรลอจิกที่สร้างจากตารางความจริ ง

ทฤษฎี
1. หลักการเขียนสมการลอจิกในรู ปเต็ม
การเขียนสมการลอจิกก็คือ การเขียนฟังค์ชนั่ สวิทชิ่ ง ( Switching Function ) ในรู ปแบบการกระทาพื้นฐาน
ทางลอจิก ซึ่ งมีรูปแบบเต็มอยู่ 2 รู ปแบบ คือ
2.1 ฟังค์ ชั่นในรู ปเต็มแบบผลบวกของผลคูณ ( Canonical Sum of Product Form ) หมายถึง
การนาตัวแปรซึ่ งอยูใ่ นรู ปปกติและรู ปคอมพลีเม้นท์มาแอนด์กนั ซึ่ งเราเรี ยกเทอมที่แอนด์กนั นี้วา่
มินเทอม ( Minterm ) แล้วจึงนามินเทอมแต่ละเทอมมาออร์ กนั อีกที เช่นฟังค์ชนั่ มี 3 ตัวแปร คือ
A , B และ C จะเขียนได้เป็ น

F(A,B,C) = ABC + ABC + ABC

โดยที่ F(A,B,C) เป็ นฟังค์ชนั่ สวิทชิ่งของตัวแปรลอจิก A , B และ C ซึ่ งค่าของฟังค์ชนั่ F จะเป็ นได้ 2 ค่าคือ
0 หรื อ 1 ขึ้นอยูก่ บั ค่าของตัวแปร A , B และ C ทั้ง 3 ตัว นอกจากนี้ อาจเขียนให้อยูใ่ นรู ปของ มินเทอมได้ดงั นี้

F(A,B,C) = m2 + m6 + m3 ( m = มินเทอม )

และเพื่อความสะดวกอาจเขียนได้ดงั นี้
F(A,B,C) = m(2,6,3)
โดยที่ เครื่ องหมาย ( อ่านว่า ซิ กม่า ) แทนคาว่า ผลบวก

น้า 18
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
2.2 ฟังค์ ชั่นในรู ปเต็มแบบผลคูณของผลบวก ( Cannonical Product of Sum Form )
หมายถึง การนาตัวแปรซึ่ งอยูใ่ นรู ปปกติและรู ปคอมพลีเม้นท์มาออร์ กนั ซึ่ งเราเรี ยกเทอมที่ออร์ กนั นี้วา่ แมกเทอม
( Max term ) แล้วจึงนาแมกเทอมแต่ละเทอมมา แอนด์กนั อีกที เช่น

F(A,B,C) = ( A+B+C ) ( A+B+C ) ( A+B+C )

หรื ออาจเขียนได้ดงั นี้

F(A,B,C) = M0 . M 1 . M5 ( M = แมกเทอม )

และเพื่อความสะดวกอาจเขียนได้ดงั นี้

F(A,B,C) = M(0,1,5)

เครื่ องหมาย ( พาย ) แทนคาว่า ผลคูณ


จะเห็นว่าในการเขียนฟังค์ชนั่ ในรู ปเต็มแบบผลคูณของเทอมผลบวกหรื อแมกเทอมนั้นค่าตัวแปรปกติจะมีค่า
เป็ น 0 ส่ วนค่าคอมพลีเม้นท์ของตัวแปรปกติก็จะเป็ น 1 ซึ่ งจะตรงกันข้ามกับการเขียน
ฟังค์ชนั่ ในรู ปเต็มแบบผลบวกของผลคูณ หรื อมินเทอม
2. การแทนมินเทอมและแมกเทอม ด้ วยเลขไบนารี่
ตัวแปรในมินเทอมและแมกเทอม มีโอกาสที่จะเป็ นไปได้ 2 ค่าคือ 0 หรื อ 1 ดังนั้นในกรณี ที่เป็ นมินเทอม
เราจะกาหนดว่า
ตัวแปรในรู ปปกติ เช่น A,B,C ……. จะแทนด้วย 1
ตัวแปรในรู ปคอมพลีเม้นท์ เช่น A , B ,C……. จะแทนด้วย 0
ในกรณี ที่เป็ นแมกเทอม เราจะกาหนดว่า
ตัวแปรในรู ปปกติ เช่น A,B,C ……. จะแทนด้วย 0
ตัวแปรในรู ปคอมพลีเม้นท์ เช่น A , B ,C……. จะแทนด้วย 1
ตัวอย่างที่ (1) จงเขียนฟังค์ชนั่ สมการมินเทอม จาก F(A,B,C) = m ( 2 , 3 , 6 , 7 )
F(A,B,C) = m(2,3,6,7)
= m2 + m 3 + m6 + m7
= 010 + 011 + 110 + 111
= A .B .C + A .B .C + A .B .C + A .B .C

Page | 19
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ตัวอย่างที่ (2) จงเขียนฟังค์ชนั่ สมการแมกเทอม จาก F(A,B,C) = m ( 2 , 3 , 6 , 7 )


F(A,B,C) = m(2,3,6,7)
= M2 . M 3 . M6 . M7
= 010 . 011 . 110 . 111
= ( A+B+C )( A+B+C )( A+B+C )( A+B+C )
3. หลักการเขียนสมการลอจิกจากตารางความจริงในรู ปของมินเทอม
1. ให้ พิจารณาตัวแปรทางอินพุต เฉพาะแถวที่มีเอ้ าต์พตุ เป็ น 1 ทุกแถวในตารางความจริ ง

2. ให้นาตัวแปรทางอินพุต ในแถวที่มีเอ้าต์พุต เป็ น 1 มาแอนด์กนั ซึ่ งเรี ยกว่ามินเทอม


3. ถ้าตัวแปรใดในแถวนั้นเป็ น 1 ให้เขียนตัวแปรนั้นในรู ปปกติ และถ้าค่าของตัวแปรใดเป็ น 0
ให้เขียนตัวแปรนั้นในรู ปของคอมพลีเม้นท์ ( น๊อต ตัวแปรนั้น )
4. ให้นาแต่ละเทอมที่แอนด์กนั นั้น มาออร์ กนั ภายหลัง
ตัวอย่าง จงเขียนสมการลอจิกในรู ปของมินเทอม จากตารางความจริ งต่อไปนี้

INPUT OUTPUT
A B C Y
0 0 0 0
0 0 1 1 A.B.C
0 1 0 1 A.B.C
0 1 1 1 A.B.C
1 0 0 0
1 0 1 0
1 1 0 1 A.B.C
1 1 1 0

เพราะฉะนั้นสมการลอจิกในรู ปของมินเทอม จากตารางความจริงนี้ คือ


F(A,B,C) = A.B.C+A.B.C+A.B.C+A.B.C

Page | 20
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

3.1. หลักการเขียนสมการลอจิกจากตารางความจริงในรู ปของแมกเทอม


1. ให้ พิจารณาตัวแปรทางอินพุต เฉพาะแถวที่มีเอ้ าต์พตุ เป็ น 0 ทุกแถวในตารางความจริ ง

2. ให้นาตัวแปรทางอินพุต ในแถวที่มีเอ้าต์พุต เป็ น 0 มาออร์ กนั ซึ่ งเรี ยกว่า แมกเทอม


3. ถ้าตัวแปรอินพุตใดในแถวนั้นเป็ น 1 ให้เขียนตัวแปรในรู ปคอมพลีเม้นท์ และถ้าค่าของตัว
แปรใดเป็ น 0 ให้เขียนตัวแปรนั้นในรู ปปกติ
4. ให้นาแต่ละเทอมที่ออร์ กนั นั้น มาแอนด์กนั ภายหลัง

ตัวอย่าง จงเขียนสมการลอจิกในรู ปของแมกเทอม จากตารางความจริ งต่อไปนี้

INPUT OUTPUT
A B C Y
0 0 0 0 A+B+C
0 0 1 1
0 1 0 1
0 1 1 1
1 0 0 0 A+B+C
1 0 1 0 A+B+C
1 1 0 1
1 1 1 0 A+B+C

เพราะฉะนั้นสมการลอจิกในรู ปของมินเทอม จากตารางความจริงนี้ คือ


F(A,B,C) = ( A+B+C ).( A+B+C ).( A+B+C ).( A+B+C )

3.2 หลักการเขียนสมการลอจิกจากวงจรลอจิก
การเขียนสมการลอจิกหรื อฟังค์ชนั่ สวิทชิ่ง จากวงจรลอจิกที่กาหนดให้น้ นั วิธีการเขียนต้องเริ่ มต้นจาก
ทางด้านอินพุตมาทางเอ้าต์พุตเรื่ อย ๆ ไปตามลาดับ จงสังเกตจากตัวอย่าง

Page | 21
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ตัวอย่าง จงหาสมการลอจิกทางเอ้าต์พุตของเกตทุกตัวจากวงจรลอจิกที่กาหนดให้

A Y1
Y3
B Y5
Y2
Y4

เมื่อแทนสมการที่เอ้าต์พุตของวงจรเกตแต่ละตัวได้ดงั นี้

Y1 = A
Y2 = B
Y3 = Y1.Y2 = A.B ( แทนค่า Y1 = A และ Y2 = B )
Y4 = A.B
Y5 = Y3 + Y4 = A.B + AB ( แทนค่า Y3 = A.B และ Y4 = AB )

เพราะฉะนั้นสมการของวงจรลอจิกนี้คือ Y5 = A.B + A.B

4. หลักการเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
การเขียนวงจรลอจิก ( Logic diagram ) จากสมการลอจิก ( Logic expression ) หรื อ
ฟังค์ชนั่ สวิทชิ่ง มีหลักการดังนี้
1. เทอมที่คูณกันแทนด้วยแอนด์เกต
2. เทอมที่บวกกันแทนด้วยออร์เกต
3. ถ้าในสมการมีวงเล็บจะต้องทาในวงเล็บในสุ ดก่อน แล้วจึงจะมาทาในวงเล็บนอก
4. สาหรับตัวกระทาเราจะทาน๊อตก่อน ตามด้วยแอนด์ และท้ายสุ ดจะทาออร์ (ในกรณี
เครื่ องหมายน๊อตอยูบ่ นเทอมที่มีการกระทากันอีก ในกรณี น้ ีจะต้องทาเทอมที่อยูใ่ ต้เครื่ องหมาย
น๊อตก่อน แล้วจึงจะทาน๊อต )

Page | 22
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
4.1. หลักการเขียนวงจรลอจิกจากตารางความจริง

การเขียนวงจรลอจิกจากตารางความจริ ง สามารถเขียนได้ 2 รู ปแบบ คือแบบมินเทอม และแบบ


แมกเทอม เหมือนกับการเขียนสมการลอจิกจากตารางความจริ ง นัน่ เอง เพราะวงจรลอจิกก็เขียนมา
จากสมการลอจิกนัน่ เอง

ตัวอย่างที่ (1) จงเขียนวงจรลอจิกในรู ปของมินเทอม จากตารางความจริ งต่อไปนี้

INPUT OUTPUT
A B C Y
0 0 0 0
0 0 1 1 A.B.C
0 1 0 1 A.B.C
0 1 1 1 A.B.C
1 0 0 0
1 0 1 0
1 1 0 1 A.B.C
1 1 1 0

เพราะฉะนั้นสมการลอจิกในรู ปของมินเทอม จากตารางความจริงนี้ คือ


F(A,B,C) = A.B.C+A.B.C+A.B.C+A.B.C
ส่ วนการเขียนวงจรลอจิก ก็สามารถเขียนวงจรตามหลักการเขียนวงจรจากสมการลอจิก ดังที่กล่าวมาแล้วก็จะ
ได้วงจรที่อยูใ่ นรู ปของมินเทอม

6.การเขียนตารางความจริง ( Truth Table )


ตารางความจริ ง คือ ตารางที่ใช้แสดงผลของค่าจริ งของนิพจน์หรื อฟังค์ชนั่ (เอ้าต์พุต) เมื่อตัวแปรต่าง ๆใน
ฟังค์ชนั่ (อินพุต) มีค่าเปลี่ยนแปลงไปต่าง ๆกัน ค่าต่าง ๆของตัวแปรอินพุตในตาราง
ความจริ งนี้ ต้องแสดงค่าทุกค่าที่มีโอกาสเกิดขึ้นโดยไม่ซ้ ากัน ซึ่ งจานวนโอกาสที่จะเกิดขึ้นโดยไม่ซ้ ากัน จะมีค่า
เท่ากับ 2N เมื่อ N คือจานวนตัวแปรในฟังค์ชนั่ เช่น มีตวั แปรเดียว ก็จะมีโอกาสเกิดเท่ากับ 21 เท่ากับ 2 สภาวะ
คือ 0 และ 1 และถ้าในฟังค์ชนั่ มีตวั แปร 2 ตัว ก็จะมีโอกาสเกิดเท่ากับ 22 เท่ากับ 4 สภาวะ คือ 00 , 01 , 10 และ
11 และถ้ามีจานวนตัวแปร 3 ตัว ก็จะมีโอกาสเกิดเท่ากับ 8 สภาวะและถ้ามีตวั แปร 4 ตัว ก็จะมีโอกาสเกิด 16
สภาวะ

Page | 23
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
การเขียนตัวแปรในตารางความจริ ง ปกตินิยมเขียนเรี ยงตามลาดับตัวอักษร และในบางกรณี อาจเขียนจากตัว
หลังมาหาตัวแรก สาหรับฟังค์ชนั่ ที่มีตวั กระทามาก ๆอาจจะต้องเขียนเป็ นขั้น ๆ โดยจะ
เขียนที่เอ้าต์พุตของตัวกระทาแต่ละตัว เพื่อสะดวกในการตรวจสอบและแสดงลาดับขั้นของตัวกระทา
ดังตัวอย่างที่ (1)

ตัวอย่างที่ (1) จงเขียนตารางความจริ งของ Y = A.B + A.C

INPUT OUTPUT
A B C A.B A A.C A.B + A.C
สภาวะที่ 1 0 0 0 0 1 0 0
สภาวะที่ 2 0 0 1 0 1 1 1
สภาวะที่ 3 0 1 0 0 1 0 0
สภาวะที่ 4 0 1 1 0 1 1 1
สภาวะที่ 5 1 0 0 0 0 0 0
สภาวะที่ 6 1 0 1 0 0 0 0
สภาวะที่ 7 1 1 0 1 0 0 1
สภาวะที่ 8 1 1 1 1 0 0 1

จะเห็นว่าสมการลอจิกมีตวั แปรทั้งหมด 3 ตัว คือ A , B และ C ดังนั้นจึงมีโอกาสที่จะเกิดสภาวะต่าง ๆที่ไม่


ซ้ ากันเท่ากับ 23 คือ 8 สภาวะ การเขียนค่าต่าง ๆของตัวแปร A , B และ C ลงในตารางให้เรี ยงตามลาดับไบนารี่ ( 0
– 7 ) ค่าของ A แอนด์ B หรื อเอ้าต์พุตของ A แอนด์ B ก็จะเขียนลงในช่องถัดไป และเอ้าต์พุตของตัวกระทาต่อไป
เรื่ อย ๆ จนได้เอ้าต์พุตสุ ดท้ายคือ เอ้าต์พุต Y
การเขียนตารางความจริ งนี้จะเห็นว่าเขียนได้จากสมการลอจิก ส่ วนการเขียนตารางความจริ ง
จากวงจรลอจิก ก็กระทาในลักษณะเดียวกัน คือเราจะเขียนสมการลอจิกที่เอ้าต์พุตของตัวกระทาทุกตัวแล้วก็นาค่า
เอ้าต์พุตของตัวกระทาทุกตัวมาลงในตารางความจริ ง เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ

อุปกรณ์ การทดลอง
1. Supply 5 V
2. IC # 7400 , 7402 , 7404 , 7408 , 7432
3. LED , Resistor
4. แผ่นประกอบวงจร และสายประกอบวงจร

Page | 24
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

ลาดับการทดลอง
1. จากวงจรลอจิก รู ปที่ 3.1 ให้เขียนสภาวะลอจิกที่ Out put Y1 ถึง Y7 ลงในตารางที่ 3.1

A B C

Y1
Y5

Y7
Y2

Y3
Y6

Y4

รู ปที่ 3.1

INPUT OUTPUT
A B C Y1 Y2 Y3 Y4 Y5 Y6 Y7
0 0 0
0 0 1
0 1 0
0 1 1
1 0 0
1 0 1
1 1 0
1 1 1

ตารางที่ 3.1 ให้วเิ คราะห์แล้วเขียนลงในตาราง

Page | 25
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
2. ให้ประกอบวงจรตามรู ปที่ 3.1 แล้วทดลองและบันทึกผลตามตารางการทดลองที่ 3.2

INPUT OUTPUT
A B C Y7
0 0 0
0 0 1
0 1 0
0 1 1
1 0 0
1 0 1
1 1 0
1 1 1

ตารางการทดลองที่ 3.2
3. ให้เขียนวงจรลอจิกพร้อมตารางวิเคราะห์วงจร จากสมการที่กาหนดให้
Y = A.B + (A + B ) C

Page | 26
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
4. ให้ประกอบวงจรตามสมการที่กาหนดให้ แล้วทดลองบันทึกผลการทดลองที่ 3.3

A B C Y
0 0 0
0 0 1
0 1 0
0 1 1
1 0 0
1 0 1
1 1 0
1 1 1

ตารางการทดลองที่ 3.3
5. จากตารางความจริ งที่กาหนด จงเขียนวงจรลอจิก

A B C Y
0 0 0 0
0 0 1 0
0 1 0 1
0 1 1 1
1 0 0 1
1 0 1 0
1 1 0 0
1 1 1 1

Y = ………………………………………………………………………

Page | 27
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
เขียนวงจรลอจิกได้ ดังนี้

6. ประกอบวงจรลอจิกตามที่เขียนไว้ ทดลองและบันทึกลงในตารางการทดลองที่ 3.4

A B C Y
0 0 0
0 0 1
0 1 0
0 1 1
1 0 0
1 0 1
1 1 0
1 1 1

ตารางการทดลองที่ 3.4

Page | 28
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
แบบฝึ กหัด
1. จงเขียน วงจรลอจิกเกต และตารางความจริ ง จากสมการ
f (A,B.C,D) = m ( 2 , 3 , 6 , 7 , 10 , 12)

Input Output
A B C D f

Page | 29
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

2. จงเขียน วงจรลอจิกเกต และตารางความจริ ง จากสมการ


f (A,B.C,D) = m ( 2 , 3 , 6 , 7 , 10 , 12)

Input Output
A B C D f

Page | 30
การออกแบบวงจรดิจิทัล
าขาวิชาวิศวกรรม าร นเทศและการ ื่อ าร
คณะเทคโนโลยีอุต า กรรม ม าวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

4. จงเขียนไดอะแกรมเวลา ( Timing diagram ) จากตารางความจริ งที่กาหนดให้

ช่วงเวลา A B C Y
0 0 0 0 0
1 0 0 1 1
2 0 1 0 0
3 0 1 1 1
4 1 0 0 0
5 1 0 1 0
6 1 1 0 1
7 1 1 1 1

1
A0 t
1
B0 t
1
C0 t
1
Y0 t

Page | 31

You might also like