You are on page 1of 63

เอกสารประกอบการเรียน

วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 3 ค 30203
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ภาคเรียนที่ 1
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ครูผู้สอน
คุณครู.................................................................

ชื่อ............................................................................................ชั้น......................เลขที่................

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โรงเรียน...................................................................
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา………………………........

จัดทำโดย นางสาวสิรินรดา เกตุรักษ์


บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ทบทวนพื้นฐาน
▪ ตรีโกณมิติ ว่าด้วยเรื่องส่วนประกอบของสามเหลี่ยมมุมฉาก มีฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องดังนี้
ไซน์ (sin) โคซีแคนต์ (cosec)
โคไซน์ (cos) ซีแคนต์ (sec)
แทนเจนต์ (tan) โคแทนเจนต์ (cot)

▪ ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ด้านที่ยาวที่สุด (ด้านตรงข้ามมุมฉาก) เรียกสั้นๆว่า “ฉาก”


ส่วนอีกสองด้านเรียกว่า ข้าม กับ ชิด
จะขึ้นอยู่กับว่ามองมุมแหลมมุมใดเป็นหลัก

ข้าม ชิด ข้าม


ฟังก์ชันพื้นฐาน ได้แก่ sin (ฉาก) , cos (ฉาก) , tan ( )
ชิด

a b a
sin A = cos A = tan A =
c c b
1 c 1 c 1 b
cos ec A = = sec A = = cot A = =
sin A a cos b tan A a

ตัวอย่างที่ 1 จากรูป จงหาค่าไซน์ โคไซน์และแทนเจนต์ของมุม A และ B

1. ฟังก์ชันไซน์และโคไซน์

1
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

1.1 วงกลมหนึ่งหน่วย (The unit circle)


บทนิยาม 1 วงกลมหนึ่งหน่วย หมายถึง วงกลมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกำเนิด (origin)
และ มีรัศมียาวเท่ากับ 1 หน่วย วงกลมนี้เป็นกราฟของความสัมพันธ์ (x, y )  R  R x 2 + y 2 = 1

ความยาวของเส้นรอบวงเท่ากับ 2r
เมื่อ r = 1 ความยาวของเส้นรอบวงของวงกลมหนึง่ เท่ากับ 2

1.2 ความยาวส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วย
เมื่อกำหนดให้จำนวนจริง  (Theta ,ทีตา) วัดจากจุด (1,0) ไปตามส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วยจะถึงจุด (x, y ) ใดๆ
บนวงกลม โดยมีข้อตกลงดังนี้
ถ้า   0 จะวัดส่วนโค้งจากจุด (1,0) ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา (  เป็นจำนวนบวก)
ถ้า   0 จะวัดส่วนโค้งจากจุด (1,0) ไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกา (  เป็นจำนวนลบ)

จุด (x, y ) ใดๆ ดังกล่าว เรียกว่า จุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วย ดังนี้


y = sin 
x = cos
cos2  + sin 2  = 1

เมื่อ  เป็นจำนวนจริง

กรณี   0 หมุนทวนเข็มนาฬิกา กรณี   0 หมุนตามเข็มนาฬิกา

ถ้า   2 แสดงว่า การวัดนั้นวัดเกิน 1 รอบ ถ้า   −2 แสดงว่า การวัดนั้นวัดเกิน 1 รอบ

2
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

Y
(0,1)
(- 1 , 3 )  (1 , 3 )
2 2 2 2
2
2 
(- 2 , 2 2 2
3 ( , )
2 2 3 3  2 2
4
(- )3 , 1 ) 4

( 3 ,1 )
2 2 5 6
2 2
6

(-1,0) (1,0) X
 2

7 11
3 ,- ) 6 6
(- 1
5 7
( 3 ,- 1 )
2 2 2 2
4 4
2 2 4 5 2 2
(- ,- ( ,-
2 2 3 3 3 2 2
) (- 1 , - 3 ) 2 (1 , - )3 )
2 2 (0,-1) 2 2

จากรูป เป็นพิกัด (x, y ) ที่อยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมรัศมีหนึ่งหน่วยตามค่ามุมต่างๆ


ตัวอย่างที่ 2 กำหนดจำนวนจริง  ให้หาจุดปลายส่วนโค้งที่ยาว  หน่วยที่กำหนดให้
1.  = 0 2.  =  3.  = 2

4.  = − 5.  = 3 6.  = 11
2 4

5
7. = 8.  = − 23 9.  = − 
6 6 6

3
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

10.  = 53 11.  = 59 12.  = − 


4 6 3

13.  = 2 +  14.  = 4 − 2 15.  = − + 


3 3 6

1.3 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจำนวนจริงบางจำนวน
  
sin = , sin −  =
2  2
sin  = , sin(−  ) =
3  3 
sin = , sin −  =
2  2 
  
cos = , cos −  =
2  2
cos  = , cos(−  ) =
3  3 
cos = , cos −  =
2  2 

1.4 ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ของจำนวนจริงใดๆ

sin(−  ) = − sin 
cos(−  ) = cos 
sin(2n +  ) = sin 
cos(2n +  ) = cos 

เมื่อ n เป็ นจำนวนเต็ม

4
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

   
ตัวอย่างที่ 3 จงหาค่า sin −  และ cos − 
 6  6

วิธีทำ

25  11 
ตัวอย่างที่ 4 จงหาค่าของ sin และ cos − 
4  3 

วิธีทำ

แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องฟังก์ชันไซน์และโคไซน์

1. จงหาค่าของ sin  และ cos เมื่อ  เป็นจำนวนจริงต่อไปนี้

1) 8

วิธีทำ

2) − 6

วิธีทำ

5
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

7
3) 
2

วิธีทำ

7
4) − 
2

วิธีทำ

5) 57

วิธีทำ

2. จงหาค่าของ sin  และ cos เมื่อ  เป็นจำนวนจริงต่อไปนี้

5
1) −
4

วิธีทำ

7
2) −
4

วิธีทำ

6
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

3) 2 + 
4

วิธีทำ

4) 3 + 
3

วิธีทำ

7
5) −
6

วิธีทำ

7
6) −
3

วิธีทำ

37
7) 
6

วิธีทำ

7
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

3. จงหาค่าประมาณของ
 37 
1) sin 
 6 

วิธีทำ

 109   9
2) sin  เมือ sin 
 36  36 100

วิธีทำ

 13 
3) sin − 
 4 

วิธีทำ

 29 
4) sin − 
 3 

วิธีทำ

 31 
5) cos 
 4 

วิธีทำ

8
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

 1
4. กำหนด 0   และ sin  = จงหาค่าของ
2 5
1) sin( −  ) 2) sin(−  )
วิธีทำ วิธีทำ

3) sin( −  ) 4) cos
วิธีทำ วิธีทำ

5) cos( +  ) 6) cos( − 2 )
วิธีทำ วิธีทำ

2.ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ

บทนิยาม 1 สำหรับจำนวนจริง  ใดๆ


sin 
tan  = , cos   0
cos 
1
sec = , cos   0
cos
1
cos ec = , sin   0
sin 
1 cos
cot = = , sin   0
tan  sin 

9
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ


ตารางแสดงค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจำนวนจริง  บางจำนวน เมื่อ 0  
2

 sin  cos tan  cos ec sec cot 


0 0 1 0 ไม่นิยาม 1 ไม่นิยาม
 1 3 3 2 2 3 3
6 2 2 3 3
 2 2 1 2 2 1
4 2 2
 3 1 3 2 3 2 3
3 2 2 3 3
 1 0 ไม่นิยาม 1 ไม่นิยาม 0
2

ตัวอย่างที่ 5 จงหาค่า tan  และ sec 


วิธีทำ

5 5
ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่า cos ec และ cot
2 2
วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 7
วิธีทำ

10
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

แบบฝึกหัดที่ 2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ
1. จงหาว่าจุดปลายส่วนโค้งของวงกลมหนึ่งหน่วยที่ยาว  หน่วย จะอยู่ในจัตุภาคใด เมื่อกำหนดให้
1) sec และ cos ec เป็นจำนวนจริงบวกทั้งคู่ ตอบ จตุภาคที่ ………..
2) tan  เป็นจำนวนจริงบวก และ cos เป็นจำนวนจริงลบ ตอบ จตุภาคที่ …………
3) sin  เป็นจำนวนจริงบวก และ tan  เป็นจำนวนจริงลบ ตอบ จตุภาคที่ …………
4) cos และ tan  เป็นจำนวนจริงลบทั้งคู่ ตอบ จตุภาคที่ …………
5) cot  เป็นจำนวนจริงลบ และ sec เป็นจำนวนจริงลบ ตอบ จตุภาคที่ …………
2. จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันของจำนวนจริงต่อไปนี้
 sin  cos tan  cos ec sec cot 

1) 0

2) 
2
3) 
4
4) 3
4
5) 2
3
6) 
7) 7
4
8) 4
3
9) 7
2
10) 5
6
11) 2

12) 3

4
13) 5

4

11
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ


3. กำหนดให้ 0   และ sin = 0.6 จงหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ ของ 
2
วิธีทำ

4. จงหาค่าของ
   11
1) cos 2 + sin 2 + sin 2 + cos 2
4 4 6 6
วิธีทำ

    5 5
2) sin cos + cos sin + sin − tan
3 6 3 6 3 3
วิธีทำ

12
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

3  5 7
3) sin + tan  cos − cot − sin
2 2 6 6

วิธีทำ

 5 9 5 7
4) cos − sin + tan − cos + tan
2 3 4 6 6
วิธีทำ

5. จงพิจารณาแต่ละข้อต่อไปนี้ว่าเป็นจริงหรือเท็จ

1)    
cos +  = cos + cos
 2) sin  cos  + cos

sin

=1
2 3 2 3 3 6 3 6

วิธีทำ วิธีทำ

13
     5
3) sin + sin = sin 4) cos + 2 cos = cos
6 3 2 6 3 6
วิธีทำ
วิธีทำ

2.1 การอาศัยแกนหลักในการพิจารณา

ปกติการหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิตจะพิจารณาได้ง่ายเมื่อ 0   เพราะ  จะตกในควอดรันต์ที่ 1
2

ถ้า    แล้ว  จะตกอยู่ในควอดรันต์ที่ 2 หรือ 3 หรือ 4 การหาฟังก์ชัน เราอาจใช้ลดทอนขนาดของ 


2
ถ้า  มีขนาดเกิน 2 หรือเกิน 6.28 เรเดียน แสดงว่ามุมนั้น เกิน 1 รอบ ให้ตัดรอบที่ครบรอบทิ้ง เหลือแต่เศษ
ของรอบ แล้วนำมาคิดแบบปกติ
2.1.1 การอาศัยแกนหลักในแนวนอน
การลดทอนค่ามุมโดยอิงกับมุม  หรือ 2 เมื่อลดทอนแล้ว ค่าฟังก์ชันที่ได้จะเป็นค่าฟังก์ชันเดิม แต่
เครื่องหมายขึ้นกับควอดรันต์ที่ตก เช่น

   
1) sin  +  2) cos  + 
 3  3

   
3) sin  −  4) cos  − 
 6  6

   
5) sin −  −  6) cos −  − 
 6  6

14
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

2.1.2 การอาศัยแกนหลักในแนวตั้ง
 3
ลดทอนค่ามุมโดยอิงกับมุม หรือ เมื่อลดทอนแล้ว ค่าฟังก์ชันที่ได้จะเป็นค่าโคฟังก์ชันเดิม และ
2 2
เครื่องหมายขึ้นกับควอดรันต์ที่ตกเช่นกัน
เมื่อ  เป็นจำนวนจริงหรือมุมใดๆ ฟังก์ชันที่เป็นโคฟังก์ชัน ได้แก่
sin  เป็นโคฟังก์ชันของ cos
sec เป็นโคฟังก์ชันของ cos ec
cot  เป็นโคฟังก์ชันของ tan 

 3    3  
1) sin −  2) cos − 
 2 6  2 6

     
3) sin +  4) cos + 
2 4 4 4

     
5) sin − +  6) cos − + 
 2 3  2 3

จะเห็นได้ว่า การอาศัยแกนในแนวตั้ง ต้องใช้ความระมัดระวังในการพิจารณามากกว่า ทั้งเรื่องของเครื่องหมาย และการแตก


มุม ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมในระบบเรเดียนจึงนิยมใช้แกนหลักในแนวนอนมาลดทอนมากกว่า อย่างไรก็ดี ถ้าเป็นมุม
แบบองศา เราจะสามารถใช้แกนหลักในแนวตั้งได้สะดวกขึ้น จึงยังควรทำความเข้าใจไว้ และจะได้ใช้ต่อไป

ข้อควรทราบ
sin(−  ) = − sin  cos(−  ) = cos tan (−  ) = − tan 

cos ec(−  ) = − cos ec sec(−  ) = sec cot(−  ) = − cot 

15
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

3. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม
3.1 การเปลี่ยนหน่วยของมุม
นอกจากมุมในระบบเรเดียนแล้ว เราสามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมที่อยู่ในหน่วยองศาได้ โดยถือ
ว่ามุมที่เกิดจากการหมุนส่วนของเส้นตรงไปครบหนึ่งรอบมีขนาด 360 องศา และแบ่งหน่วยองศาออกเป็นหน่วยย่อย คือ
ลิปดา (') และฟิลิปดา (") ดังนี้

องศา =
1 60ลิปดา หรือ 1o = 60'
1 ลิปดา = 60 ฟิลิปดา หรือ 1' = 60"
จาก  เรเดียน  3.1416 เรเดียน
และ  เรเดียน = 180 องศา
180
ดังนั้น 1 เรเดียน = องศา  57 o18'


หรือ 1 องศา = องศา  0.01745 เรเดียน
180
ดังนั้น การเปลี่ยนหน่วยระหว่างเรเดียนกับองศาทำได้ดังนี้

1. เปลี่ยนหน่วยองศาให้เป็นเรเดียน ทำได้โดยนำมุมในหน่วยองศา คูณด้วย
180

2. เปลี่ยนหน่วยเรเดียนให้เป็นองศา ทำได้โดยนำมุมในหน่วยเรเดียน คูณด้วย 180 โดย   3.416



ตัวอย่างที่ 8 จงเปลี่ยนหน่วยเรเดียนให้เป็นองศา
1) 3 2) − 2
วิธีทำ วิธีทำ
4 4) − 2
3)
3 วิธีทำ
วิธีทำ

5) 3.1416 6) − 2
วิธีทำ วิธีทำ
7) 3 8) 5
วิธีทำ วิธีทำ

16
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ตัวอย่างที่ 9 จงเปลี่ยนหน่วยเรเดียนให้เป็นเรเดียน
1) 0 o 2) 15 o
วิธีทำ วิธีทำ

3) 30 o 4) 45o
วิธีทำ วิธีทำ

5) 60 o 6) 90 o
วิธีทำ วิธีทำ

7) − 120o 8) 45o50'
วิธีทำ วิธีทำ

3.2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมที่เป็นองศา
มุมที่เป็นองศาสามรถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณได้เหมือนกับมุมในหน่วยเรเดียน เราสามารถเทียบเคียงองศา
กับเรเดียนได้เช่น

เรเดียน = 0o 
0 เรเดียน = 30 o
2

เรเดียน = 30 o
6  เรเดียน = 30 o
 3
เรเดียน = 30 o
เรเดียน = 270 o
4
2

เรเดียน = 30 o 2 เรเดียน = 360 o
3

17
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ตัวอย่างที่ 10 จงหาค่า sin 60o


วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 11 จงหาค่าของ (
sec − 405o )
วิธีทำ

ตัวอย่างที่ 12 จงหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติทุกฟังก์ชันของมุมต่อไปนี้

sin cos tan cot sec cos ec


1. − 315o

2. 930 o

3. 135 o

4. − 330 o

18
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

3.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ประโยชน์ที่สำคัญประการหนึ่งของฟังก์ชันตรีโกณมิติ คือ การนำไปใช้ในการหาส่วนต่างๆ ของรูป
สามเหลี่ยม ต่อไปนี้จะพิจารณาฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
sin A =
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก
ความยาวของด้านประชิดมุม 𝐴
cos A =
ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก

ความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴
tan A =
ความยาวของด้านตรงประชิดมุม𝐴
3
ตัวอย่างที่ 13 ให้มุม A เป็นมุมแหลม และ sin A = จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆของมุม A
7
วิธีทำ

19
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

แบบฝึกหัดที่ 3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม

1. จงหาค่าของ 3 tan 2 135o − sec2 300o


2. จงหาค่าของ ( ) (
tan − 480o + sin − 840o )
2 sin 330o (
cos − 390o)
วิธีทำ วิธีทำ

4
2. ให้มุม A เป็นมุมแหลม และ cos A = จงหาค่าของฟังก์ชันตีโกณมิติอื่นๆ ของมุม A
7
วิธีทำ

20
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

3. รูปสามเหลี่ยม ABC มีมุม C เป็นมุมฉาก ลากส่วนของเส้นตรงจากจุด C มาตั้งฉากกับด้าน AB ที่จุด D ถ้าด้าน


AC และ BC ยาว 10 และ 12 หน่วย ตามลำดับ จงหาค่าของ sin A, cos A, tan A, sin B, cos B, tan B และความ
ยาวด้าน CD และ DB
วิธีทำ

1
4. กำหนดให้ sin  = และ sec  0 จงหาค่าของ tan 
3
วิธีทำ

21
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

4.กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
4.1 การเขียนกราฟของฟังก์ชันไซน์
เนื่องจากฟังก์ชันตรีโกณมิตินิยมจากวงกลมหนึ่งหน่วย เมื่อนิยามฟังก์ชันไซน์ในรูปของฟังก์ชัน f โดยที่
f = ( , y ) y = sin  เมื่อ   R, − 1  sin  1
การเขียนกราฟของ y = sin  สามารถเขียนได้เหมือนฟังก์ชันทั่วๆไป โดยกำหนดให้  ซึ่งเป็นโดเมน
อยู่บนแกน X และค่า sin  ซึ่งเป็นค่าเรนจ์อยู่บนแกน Y และหาคู่อันดับของ ( , sin ) จากโดเมน
− 2 ถึง 2 บนวงกลมหนึ่งหน่วย แล้วลากเส้นโค้งไปตามคู่อันดับเหล่านั้น ก็จะได้กราฟของฟังก์ชันไซน์
หรือฟังก์ชัน y = sin  ดังแสดง

กำหนดค่า x และหาค่า y จาก y = sin x ดังตาราง

x − 2 3 −  0   3 2
− −
2 2 2 2
sin x 0 1 0 −1 0 1 0 −1 0

จากกราฟข้างต้น สามารถอธิบายได้ดังนี้
เมื่อกราฟ sin(2n + x ) = sin x เมื่อ n  
ทำให้กราฟมีลักษณะซ้ำกันเป็นช่วงๆ เรียกว่า 1 คาบ x sin x
 เพิ่มขึ้นจาก ไปถึง 1
ความยาวที่เป็นคาบของฟังก์ชัน y = sin x เท่ากับ 2 0 x
2
0
ฟังก์ชันที่เป็นคาบ ซึ่งมีค่าต่ำสุดและสูงสุด เรียก 
 x  ลดลงจาก 1 ไปถึง 0
2
ค่าที่เท่ากับครึ่งหนึ่งของค่าสูงสุดลบด้วยค่าต่ำสุดของ 3 ลดลงจาก 0 ไปถึง −1
 x
ฟังก์ชันนัน้ ว่า แอมพลิจูด ถ้า a และ b เป็นค่าสูงสุด 2
3 เพิ่มขึ้นจาก −1 ไปถึง 0
และต่ำสุดของฟังก์ชันที่เป็นคาบตามลำดับ จะได้แอมพลิ  x  2
2
จูดของฟังก์ชันนี้เท่ากับ 1 (a − b) ข้อสังเกต กราฟของ y = sin x
2
1. เป็นกราฟต่อเนื่อง
2. D f = R, R f = x − 1  x  1
3. กราฟผ่านจุด (0,0) เสมอ
4.คาบยาว 2 แอมพลิจูดเท่ากับ 1

22
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

4.2 การเขียนกราฟของฟังก์ชันโคไซน์
นิยามฟังก์ชันโคไซน์ในรูปฟังก์ชัน g โดยที่
g = ( , x) x = cos  เมื่อ   R, − 1  cos  1
การเขียนกราฟของฟังก์ชันโคไซน์ หรือฟังก์ชัน y = cos x จะสามารถเขียนได้เช่นเดียวกับฟังก์ชันไซน์ โดย
การกำหนดให้ค่า  หรือค่า x อยู่บนแกน X และค่า cos x อยู่บนแกน Y แลวหาคู่อันดับ (x, cos x ) จากโดเมน
− 2 ถึง 2 บนวงกลมหนึ่งหน่วย แล้วลากเส้นโค้งไปตามคู่อันดับเหล่านั้น จะได้กราฟของฟังก์ชันโคไซน์ หรือ
ฟังก์ชัน y = cos x ดังแสดง

กำหนดค่า x และหาค่า y จาก y = cos x ดังตาราง


x − 2 3 −  0   3 2
− −
2 2 2 2
cos x 1 0 −1 0 1 0 −1 0 1
จากกราฟข้างต้น สามารถอธิบายได้ดังนี้
x cos x
ข้อสังเกต กราฟของ y = cos x
 ลดลงจาก 1 ไปถึง 0
0 x
2 1. เป็นกราฟต่อเนื่อง

 x  ลดลงจาก 0 ไปถึง −1 2. D f = R, R f = x − 1  x  1
2
3 เพิ่มขึ้นจาก −1 ไปถึง 0 3. กราฟผ่านจุด (0,1)
 x
2 4.คาบยาว 2 แอมพลิจูดเท่ากับ 1
3 เพิ่มขึ้นจาก ไปถึง 1
 x  2 0
2
เปรียบเทียบกราฟไซน์ และโคไซน์ดังแสดง

23
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

4.3 การเขียนกราฟของฟังก์ชันแทนเจนต์
ก่อนการเขียนกราฟของฟังก์ชันไซน์ ต้องพิจารณาตำแหน่งที่ฟังก์ชันแทนเจนต์หาค่าไม่ได้ก่อน นั้นคือ เมื่อ
โดเมนเป็น n +  , n  
2
3
ลักษณะของกราฟ y = tan x เมื่อ 0 x เขียนได้ดังนี้
2


จากกราฟที่ tan x = n + , n ลากเส้นประเพื่อแบ่งขอบเขตในการพิจารณา จะเห็นว่า
2

  
0 ถึง ถึง   ถึง 3
2 2 2 2
เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้นจาก  x มีค่าลดลงจาก  จนเข้า เมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้นจาก 
0 เมื่อ x= จะหาค่า
และเข้าใกล้  ค่าของ  3
2
ใกล้ ค่าของ tan x จะ และเข้าใกล้ ค่าของ
2 tan x ไม่ได้ 2 2
tan x จะเป็นบวกเพิ่มขึ้น เป็นจำนวนลบ และลดลง tan x จะมีค่าเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
เรื่อยๆ และกราฟจะโค้งเข้า เรื่อยๆ ได้กราฟส่วนโค้ง เข้า และกราฟจะโค้งเข้า
หา เส้นตรง x =  หาเส้นตรง x =  หา เส้นตรง x = 3
2 2 2

เมื่อเขียนกราฟตั้งแต่ − 2 ถึง 2 ได้ดังแสดง

ข้อสังเกต กราฟของ y = tan x



1. เป็นกราฟไม่ต่อเนื่องที่ 2 + , n
2
  
2. D f =  x  R x  (2n + 1) , n   , R f = R
 2 
3.คาบยาว  แต่ไม่มีแอมพลิจูดเท่ากับ

24
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

4.4 กราฟของฟังก์ชันโคซีแคนต์
ฟังก์ชันโคซีแคนต์เป็นส่วนกลับของฟังก์ชันไซน์ กราฟจึงเป็นส่วนกลับของกราฟของฟังก์ชันไซน์เช่นกัน
และฟังก์ชันโคซีแคนต์หาค่าไม่ได้เมื่อ x = n , n  I เขียนเป็นกราฟได้ดังรูป (เส้นทึบ)

ข้อสังเกต กราฟของ y = cos ecx


1. เป็นกราฟไม่ต่อเนื่องที่ n
2. D f = x  R x  2 , n  ,
R f = x x  −1 หรือ x  1
3.คาบยาว 2 แต่ไม่มีแอมพลิจูดเท่ากับ

4.5 กราฟของฟังก์ชันซีแคนต์
ฟังก์ชันซีแคนต์เป็นส่วนกลับของฟังก์ชันโคไซน์ กราฟจึงเป็นส่วนกลับขงกราฟโคไซน์เช่นกัน และฟังก์ชัน

ซีแคนต์หาค่าไม่ได้เมื่อ x = n + , n เขียนกราฟได้ดังรูป (เส้นทึบ)
2

ข้อสังเกต กราฟของ y = sec x



1. เป็นกราฟไม่ต่อเนื่องที่ n + ,n

  
2. D f =  x  R x  (2n + 1) , n   ,
 2 
R f = x x  −1 หรือ x  1
3.คาบยาว 2 แต่ไม่มีแอมพลิจูดเท่ากับ

25
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

4.6 กราฟของฟังก์ชันโคแทนเจนต์
เนื่องจากฟังก์ชันโคแทนเจนต์เป็นส่วนกลับของฟังก์ชันแทนเจนต์ ลักษณะกราฟจึงเป็นส่วนลับของกราฟ
แทนเจนต์ เพียงแต่ต่างที่ฟังก์ชันโคแทนเจนต์หาค่าไม่ได้ที่ n , n   เขียนกราฟได้ดังรูป

ข้อสังเกต กราฟของ y = cot x


1. เป็นกราฟไม่ต่อเนื่องที่ n
2. D f = x  R x  n , n  , R f =R
3.คาบยาว  แต่ไม่มีแอมพลิจูดเท่ากับ

ตารางสรุป
Df Rf หาค่าไม่ได้ที่ คาบ แอมพิจูด
y = sin x R − 1,1 - 2 1
y = cos x R − 1,1 - 2 1
y = tan x  (2n + 1)  R (2n + 1)  ไม่มี
R− 
 2  2

y = cos ecx R − n  (− ,−1  1, ) n 2 ไม่มี


y = sec x  (2n + 1)  (− ,−1  1, ) (2n + 1) 2 ไม่มี
R− 
 2  2

y = cot x R − n  R n  ไม่มี

26
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

4.7 การเขียนกราฟของฟังก์ชันก์ตรีโกณที่มีตัวเลขแทรก
4.7.1 เมื่อตัวเลขคูณหน้าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
พิจารณาฟังก์ชัน y = 2 sin x เปรียบเทียบกับฟังก์ชัน y = sin x จะเห็นว่าลักษณะเหมือนกัน เพียงแต่หา
ค่า sin x ได้แล้ว ต้องคูณค่าที่ได้ด้วย 2 ก่อนจึงมีค่าเท่ากับ y ดังนั้น ค่า y ที่ได้จึงควรเป็น 2 เท่าของค่า y เดิม ดังนี้

จากกราฟจะเห็นว่า กราฟที่ได้จาก y = 2 sin x มีลักษณะเดียวกับกราฟที่ได้จาก y = sin x เพียงแต่เดิมมี


ค่าสูงสุดที่ 1 และต่ำสุดที่ − 1 กลายเป็นมีค่าสูงสุดที่ 2 และค่าต่ำสุดที่ − 2 แทน แต่ความยาวของคาบเท่าเดิม

ดังนั้น สรุปลักษณะกราฟที่ได้จาก y = 2 sin x ดังนี้


- โดเมนของฟังก์ชันเหมือนเดิม คือ เป็นเซตของจำนวนจริง ส่วนเรนจ์ขยายขึ้นเป็น − 2,2
- คาบของกราฟเหมือนเดิม คือ 2
2 − (− 2 )
- เนื่องจากกราฟมีค่าสูงสุดและต่ำสุดเปลี่ยนไป แอมพิจูดของกราฟจึงเปลี่ยนด้วย โดยมีค่าเท่ากับ =2
2

พิจารณาฟังก์ชัน y = −2 sin x เปรียบเทียบกับ y = 2 sin x จะเห็นว่า คำตอบที่ได้จาก 2 sin x จะกลายเป็น


จำนวนตรงข้ามทั้งหมด เมื่อเขียนกราฟ ค่าที่ได้จาก 2 sin x ก็จะถูกสะท้อข้ามแกน x ทุกค่า ได้กราฟดังรูป

27
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

4.7.2 เมื่อตัวเลขคูณในฟังก์ชันตรีโกณ
พิจารณาฟังก์ชัน y = sin 2 x เปรียบเทียบกับฟังก์ชัน y = sin x จะเห็นว่า ต้องนำ 2 คูณกับ x
ก่อนแล้วจึงไปหาฟังก์ชันไซน์ เท่ากับเป็นการเร่งค่าให้เร็วขึ้นเป็น 2 เท่า ดังนี้

จากกราฟ จะเห็นว่า กราฟถูกบีบให้ครบรอบเร็วขึ้น จากเดิมที่ 2 จึงครบ 1 รอบ กลายเป็น  ก็ครบรอบ


แล้ว แต่ค่าสูงสุดและต่ำสุดยังคงเท่าเดิม
ดังนั้น สรุปลักษณะกราฟที่ได้จาก y = sin 2 x ดังนี้
- โดเมนของฟังก์ชันเหมือนเดิม คือ เป็นเซตของจำนวนจริง ส่วนเรนจ์ขยายขึ้นเป็น − 1,1
- คาบของกราฟเหมือนเดิม คือ 
- แอมพิจูดเท่าเดิม คือ 1 − (− 1) = 1
2
พิจารณาฟังก์ชัน y = sin(− 2 x) ต้องเปลี่ยนรูปฟังก์ชันเป็น y = − sin 2 x ดังนั้น เท่ากับเป็นกราฟสะท้อนค่า
ของกราฟ y = sin 2 x ข้ามแกน x ได้กราฟดังรูป

28
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

x
พิจารณาฟังก์ชัน y = sin เปรียบเทียบกังฟังก์ชัน y = sin x จะเห็นว่า ค่า x จะถูกหารสองก่อนจึง
2
นำไปหาค่า sin เท่ากับเป็นการลดค่า x ลง หรือเป็นการถ่วงค่า x ให้ลดลงครึ่งหนึ่ง ดังนี้

จากกราฟจะเห็นว่า กราฟถูกขยายออกให้ครบรอบช้าลง 2 เท่า จากเดิม 2 ครบ 1 รอบ กลายเป็นต้องใช้


ถึง 4 จึงครบรอบ แต่ค่าสูงสุดและค่าต่ำสุดยังคงเท่าเดิม
x
ดังนั้น สรุปลักษณะกราฟที่ได้จาก y = sin ดังนี้
2
- โดเมนของฟังก์ชันเซตของจำนวนจริง และเรนจ์ของฟังก์ชัน คือ − 1,1
- คาบของกราฟเหมือนเดิม คือ 4
- แอมพิจูดเท่าเดิม คือ 1 − (− 1) = 1
2

สรุป เมื่อฟังก์ชันตรีโกณมิติอยู่ในรูปทั่วไป เช่น y = a sin(nx) หรือ y = a cos(nx) เมื่อ a, n  0


จะเห็นว่า ค่าสูงสุดหรือต่ำสุดจะเปลี่ยนแปลงขึ้นกับค่า a ส่วนคาบจะเปลี่ยนแปลงขึ้นกับค่า n โดยที่
2
- คาบเท่ากับ
n
- แอมพลิจูดเท่ากับ a
- เรนจ์คือ − a, a

29
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

แบบฝึกหัดที่ 4 เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1. จงหาค่าแอมพิจูด และคาบของฟังก์ชันต่อไปนี้
ข้อ ฟังก์ชัน แอมพลิจูด คาบ ข้อ ฟังก์ชัน แอมพลิจูด คาบ
1 y = 2 sin x 2 y = −3 sin 3x

3 y = cos(− 4 x ) 4 y = cos(− 3x )

5 x 6 y = 4 cos x
y = −2 sin
2
7 y = cos
x 8 y=
1
sin(− 4 x )
2 4

2. จงหาคาบ แอมพลิจูด และเรนจ์ของฟังก์ชันก์ตอ่ ไปนี้ พร้อมทั้งเขียนกราฟ

ข้อ ฟังก์ชัน แอมพลิจูด คาบ เรนจ์ กราฟ


1.
1
y= sin 
2

2.
y = 3 sin 

3.
1
y = 3 sin 
2

4.
1
y = −2 cos 
2

30
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

3. จงจับคู่ฟังก์ชันกับกราฟที่กำหนดให้ต่อไปนี้

1) y = 2 sin x ก.
2

ข.

2) y = 2 cos x
2

ค.
1
3) y = 2 cos x
2

ง.
4) y = 3 cos 2 x

5) y = −3 sin 2 x จ.

1
6) y = 2 sin x
2 ฉ.

1
7) y = −2 cos x
2
ช.


8) y = −2 cos x
2

ซ.
1
9) y = −2 sin x
2

ฌ.

31
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

5. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของจำนวนจริงหรือมุม
บางครั้ง การหาค่าฟังก์ชันก์ตรีโกณมิติของจำนวนจริงหรือมุมใดๆ เราไม่ทราบค่าฟังก์ชันนั้นโดยตรง
แต่เราสามารถหาจากค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เราทราบค่าได้ เมื่อจำนวนจริงหรือมุมที่เราต้องการหาเป็นผลบวก
หรือผลลบของจำนวนจริงหรือมุมที่เราทราบค่า
กำหนดให้ A และ B เป็นจำนวนจริงหรือมุมใดๆ ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมที่เกิดผลบวกหรือผลต่าง
ของจำนวนจริงหรือของมุม หาค่าได้จาก

sin( A + B ) = sin A cos B + cos A sin B

sin( A − B ) = sin A cos B − cos A sin A

cos( A + B ) = cos A cos B − sin A sin B

cos( A − B ) = cos A cos B + sin A sin B

tan A + tan B
tan ( A + B ) =
1 − tan A tan B

tan A − tan B
tan ( A − B ) =
1 + tan A tan B

cot A cot B − 1
cot( A + B ) =
cot B + cot A

cot A cot B + 1
cot( A − B ) =
cot B − cot A

32
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ตัวอย่างที่ 13 จงหาค่าของ
1. sin 15o 2. cos15o
วิธีทำ วิธีทำ

3. tan 15o    
4. sin cos + cos sin
วิธีทำ 9 18 9 18
วิธีทำ จาก

5. sin15o sin 75o + cos15o cos 75o 6. sin 105o


วิธีทำ วิธีทำ

7. tan 20o + tan 40o 8. cos 37o cos 23o − sin 37o sin 23o
1 − tan 20o tan 40o วิธีทำ
วิธีทำ

33
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

การเปลี่ยนผลคูณของฟังก์ชันตรีโกณมิติให้อยู่ในรูปผลบวก และผลต่าง
2 sin A cos B = sin( A + B ) + sin( A − B )
2 cos A sin B = sin( A + B ) − sin( A − B )
2 cos A cos B = cos( A + B ) + cos( A − B )
− 2 sin A sin B = cos( A + B ) − cos( A − B )

ตัวอย่างที่ 14 จงหาค่าของ
1. 2 sin 75o cos15o 2. 2 sin15o sin15o
วิธีทำ วิธีทำ

3. 2 cos 45o sin15o 4. − 4 sin 85o cos 5o


วิธีทำ วิธีทำ

5. 1 cos 40o cos 35o 6. sin135o sin 45o


วิธีทำ − 1 (− 2 sin135o sin 45o )
2
วิธีทำ 2

1
7. cos 50o cos 70o
2
วิธีทำ

34
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

การเปลี่ยนฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ในรูปผลบวกหรือผลต่างในรูปผลคูณ

 A+ B  A− B
sin A + sin B = 2 sin  cos 
 2   2 
 A+ B  A− B
sin A − sin B = 2 cos  sin 
 2   2 
 A+ B  A− B
cos A + cos B = 2 cos  cos 
 2   2 
 A+ B  A+ B
cos A − cos B = − sin  sin 
 2   2 

ตัวอย่างที่ 15 จงหาค่าของ
1. sin 4 A + sin 2 A 2. sin 80o − sin 20o
วิธีทำ วิธีทำ

3. cos10o − cos 50o 4. cos 55o + cos 25o


วิธีทำ วิธีทำ

5. cos10o + cos110o − sin 40o 6. sin 78o − sin18o + cos132o


วิธีทำ วิธีทำ

35
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมสองเท่า
sin 2 A = 2 sin A cos A
cos 2 A = 2 cos 2 A − 1
= 1 − 2 sin 2 A
= cos 2 A − sin 2 A
1 − tan 2 A
=
1 + tan 2 A
2 tan A
tan 2 A =
1 − tan 2 A
cot 2 A − 1
cot 2 A =
2 cot A

ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมครึ่งเท่า

1 − cos 2 A 1 − cos 2 A
sin 2 A = sin A = 
2 2
1 + cos 2 A 1 + cos 2 A
cos2 A = cos A = 
2 2
A 1 − cos A
sin 2 = A 1 − cos A
2 2 sin = 
2 2
A 1 + cos A
cos2 = A 1 + cos A
2 2 cos = 
1 − cos A 2 2
tan 2 A =
1 + cos A 1 − cos A
tan A = 
1 + cos A

36
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

ตัวอย่างที่ 15 จงหาคำตอบ
4
1. กำหนด tan A = และ 0  A  90o จงหาค่าของ
5

1) sin 2 A 2) cos 2 A
วิธีทำ วิธีทำ

3) tan 2 A 4) cot 2 A
วิธีทำ วิธีทำ

5) cos ec2 A 6) sec 2 A


วิธีทำ วิธีทำ

37
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

1 
2. กำหนดให้ sin A = ; 0  A  จงหาค่าของ
2 2

A A
1) sin 2) cos
2 2
วิธีทำ วิธีทำ

 A  A
3) 4 sin 2  −  4) 2 cos2  + 
2 2 2 2
วิธีทำ วิธีทำ

A A
5) sin 2 + cos 2
2 2
วิธีทำ

38
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

6.ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ มีลักษณะเหมือนกับตัวผกผันของฟังก์ชันทั่วไป กล่าวคือ ตัวผกผันของฟังก์ชันจะเป็น
ฟังก์ชันก็ต่อเมื่อ ฟังก์ชันนัน้ เป็นฟังก์ชั่นแบบ 1 − 1 และเป็นฟังก์ชันแบบไปทั่วถึงด้วย สำหรับฟังก์ชันตรีโกณมิติลักษณะเป็น
ฟังก์ชันคาบ ดังนั้น ฟังก์ชันผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติจะเป็นฟังก์ชันจะต้องมีการกำหนดขอบเขตของโดเมนให้เหมาะสม
เพื่อตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็นฟังก์ชัน
ตัวผกผันของฟังก์ชันไซน์

บทนิยาม
 
ฟังก์ชัน arcsin e คือ เซตของคู่อันดับ (x, y ) โดยที่ x = sin y และ −  y
2 2

ตัวผกผันของฟังก์ชันโคไซน์

บทนิยาม
ฟังก์ชัน arccos ine คือ เซตของคู่อันดับ (x, y ) โดยที่ x = cos y และ 0 y 

ตัวผกผันของฟังก์ชันโคไซน์
บทนิยาม
 
ฟังก์ชัน arctan gent คือ เซตของคู่อันดับ (x, y ) โดยที่ x = tan y และ −  y
2 2

39
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เหลือก็พิจารณาในลักษณะเดียวกัน สรุปเปรียบเทียบโดเมนและเรนจ์
ฟังก์ชันตรีโกณมิติที่มีฟังก์ชันผกผันและอินเวอร์สฟังก์ชันตรีโกณมิติ ดังนี้
ฟังก์ชัน โดเมน เรนจ์ ฟังก์ชัน โดเมน เรนจ์
y = sin x    − 1,1 y = arcsin x − 1,1   
− 2 , 2  − 2 , 2 
y = cos x 0,   − 1,1 y = arccos x − 1,1 0,  
y = tan x    R y = arctan x R   
− ,  − , 
 2 2  2 2
y = cos ecx      (− ,−1  1, ) y = arccos ecx (− ,−1  1, )     
− 2 ,0   0, 2 
− 2 ,0   0, 2 
y = sec x      (− ,−1  1, ) y = arc sec x (− ,−1  1, )     
0, 2    2 ,   0, 2    2 ,  

y = cot x (0,  ) R y = arc cot x R (0,  )

ข้อสังเกต
ฟังก์ชันอินเวอร์สที่หามาได้ มาจากแต่ละฟังก์ชันตรีโกณมิติที่อยู่ภายในช่วงที่เป็นฟังก์ชัน 1 − 1
ดังนั้น โดเมนของฟังก์ชันตรีโกณมิติจะกลายเป็นเรนจ์ของฟังก์ชันอินเวอร์ส และเรนจ์ของฟังก์ชันตรีโกมิติ
กลายเป็นโดเมนของฟังก์ชันอินเวอร์ส

y = arcsin x อาจเขียนแทนด้วย y = sin −1 x


y = arccos x อาจเขียนแทนด้วย y = cos−1 x
y = arctan x อาจเขียนแทนด้วย y = tan −1 x

40
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

สิ่งที่ควรทราบเกี่ยวกับฟังก์ชันอินเวอร์ส
1. การเปลี่ยนจากฟังก์ชันอินเวอร์สเป็นฟังก์ชันธรรมดา
y = arcsin x เปลี่ยนเป็น x = sin y
y = arccos x เปลี่ยนเป็น x = cos y
y = arctan x เปลี่ยนเป็น x = tan y
y = arccos ecx เปลี่ยนเป็น x = cos ex y
y = arc sec x เปลี่ยนเป็น x = sec y
y = arc cot x เปลี่ยนเป็น x = cot y

2. การหาค่า x จากฟังก์ชันอินเวอร์ส เมื่อ x เป็นสมาชิกในโดเมน


sin(arcsin x ) = x เมื่อ −1  x  1 arcsin(sin x ) = x เมื่อ −

x

2 2
cos(arccos x ) = x เมื่อ −1  x  1 arccos(cos x ) = x เมื่อ 0 x 
tan (arctan x ) = x เมื่อ xR arctan(tan x ) = x เมื่อ −

x

2 2
cos ec(arccos ecx) = x เมื่อ x  −1 หรือ x 1 arccos ec(cos ecx) = x เมื่อ −

x0 หรือ 0 x

2 2
sec(arc sec x ) = x เมื่อ x  −1 หรือ x 1 arc sec(sec x ) = x 
เมื่อ 0  x  หรือ 
x

2 2 2
cot(arc cot x ) = x เมื่อ xR arc cot(cot x ) = x เมื่อ 0  x  
x เป็นค่า x เป็นมุม

3. ข้อสนใจอื่นๆ
arccos ec x = 1
arcsin
x
arc sec x =
1
arccos
x
arccot x =
1
arctan
x
arctan x + arctan y =
x+ y
arctan
1 − xy
arctan x − arctan y =
x− y
arcsin
1 + xy

41
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

แบบฝึกหัด 6 ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1. จงหาค่าของ
1) arcsin 0 2) arccos1

3) arcsin (− 1) 4) arccos(− 1)

5) arctan 0 6) arctan(− 1)

1
7) arcsin 8) arctan
3
2 3

 3  2
9) arccos − 
 10) arcsin − 

 2   2 

42
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

2.จงหาค่าของ
 3    1 
1)

cos arcsin − 

2) sin arcsin − 
 2   2 
  

 1  1
3) tan  arcsin  4) tan  arctan 
 3  2

 2 6) cos(arctan 2)
5) cos arcsin 

 3 

 2 5 8) sin(arctan(− 3))
7) sec arcsin 

 5 

43
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

     3 
9) tan  arcsin cos   10) arcsin sin 
  6   4 

     5 
11) arcsin cos −   12) arctan tan 
  3   3 

7.เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ
7.1 เอกลักษณ์
สมการที่มีฟังก์ชันตรีโกณมิติปรากฏอยู่ เรียนกว่า สมการตรีโกณมิติ เช่น

sin x =
1
cos ec x
sin x = cos x
1
สมการ sin x = จะเป็นจริง
cos ec x
สำหรับทุกค่าของ x
ส่วนสมการ sin x = cos x จะเป็นจริงสำหรับบางค่าของ x
1
เราเรียกสมบัติของสมการ sin x = ว่าเอกลักษณ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ เช่น
cos ec x

sin 2 x + cos 2 x = 1
1 + tan 2 x = sec 2 x

1 + cot 2 x = cos e 2 x
44
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

การพิสูจน์เอกลักษณ์เป็นการแสดงให้เห็นว่า ทั้งสองข้างของสมการเท่ากันจริง โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน


ตรีโกณมิติ การพิสูจน์เอกลักษณ์จึงช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ต่างๆ ระหว่างฟังก์ชันตรีโกณมิติ ซึ่งสามารถอ้างอิงไปถึงการ
พิสูจน์เอกลักษณ์อื่นๆได้
7.2 สมการตรีโกณมิติ
การแก้สมการตรีโกณมิติทำในทำนองเดียวกันกับการแก้สมการพีชคณิต โดยอาศัยความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันตรีโกณมิติ
เพื่อหาคำตอบของสมการ โดยมีข้อควรระวังดังนี้
1. เนื่องจากฟังก์ชันตรีโกณมิติไม่เป็นฟังก์ชัน 1 − 1 ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของจำนวนจริงหรือของมุมใดๆ อาจซ้ำ
กันได้ ดังนั้น ในการหาคำตอบของสมการ ถ้าโจทย์ไม่บอกว่า ให้คำตอบอยู่ในช่วงใดช่วงหนึ่งแล้วคำตอบควรอยู่ในรูปทั่วไป
2. ถ้ามีการยกกำลังสอง อาจทำให้ค่าที่หาได้เพิ่มไป 1 ค่า ดังนั้น ค่าที่หาได้ต้องนำไปตรวจสอบจากโจทย์ทุกครั้งว่า
ค่าใดใช้ได้หรือไม่ได้
แบบฝึกหัดที่ 7.1 เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ
1.จงพิสูจน์ว่า
1) cos ec cos = cot  2) cos x
+
sin x
=1
sec x cos ecx

3) cos (tan  + cot  ) = cos ec 4) sec x


+
sin x
= 2 tan x
cos ec x cos x

5) ( )
sin2  1 + cot 2  = 1 6) sin 2 A cot 2 A + tan 2 A cos 2 A = 1

45
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

7) 2 sin 2 A − 1 = 1 − 2 cos 2 A 8) 3 sin 2  + 4 cos2  = 3 + cos2 

9) (sec − 1)(sec + 1) = tan 2 

2. จงพิสูจน์ว่า
1) ( ) (
cos 45o −  − sin 45o +  = 0 ) 2) ( )
tan 45o − A =
1 − tan A
1 + tan A

sin 2   
2
3) = tan  4)  sin − cos  = 1 − sin 
1 + cos 2
 2 2

sin 8 + sin 2
5) = tan 5
cos 8 + cos 2

46
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

แบบฝึกหัดที่ 7.2 สมการตรีโกณมิติ


1.จงแก้สมการต่อไปนี้ เมื่อ 0    2

1) 2 cos2  + cos = 0 2) 2 sin 2  − sin  − 1 = 0

3) tan  sin  + tan  = 0 4) sin 2  − cos 2  + 5 = 0

5) sin + cos = 2 6) 4 sin 3  − sin  = 0

47
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

8.กฎของโคไซน์และกฎของไซน์
เนื่องจากฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็นฟังก์ชันของจำนวนจริงหรือมุม สมบัติของฟังก์ชันตรีโกณมิติอาจนำมาใช้ในการหา
ความยาวของด้านและขนาดของมุมของรูปหลายเหลี่ยมได้ โดยเฉพาะรูปสามเหลี่ยมซึ่งจะกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างด้าน
และมุมของรูปสามเหลี่ยมและฟังก์ชันตรีโกณมิติดังนี้
กฎของโคไซน์
ในรูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านตงข้ามมุม A, B และ C ยาว a, b และ c หน่วย ตามลำดับ จะได้
a 2 = b 2 + c 2 − 2bc cos A
b 2 = c 2 + a 2 − 2ca cos B
c 2 = a 2 + b 2 − 2ab cos C

หลักการใช้เมื่อทราบ
1. ความยาวของด้าน 2 ด้าน และมุม 1 มุมที่อยู่ระหว่างด้านทั้งสอง เช่น

2. เมื่อทราบความยาวของด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม

กฎของไซน์
ในรูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ยาว a, b และ c หน่วย ตามลำดับ จะได้
sin A sin B sin C
= =
a b c
หลักการใช้เมื่อทราบ
1. ความยาวของด้าน 2 ด้าน และมุม 1 มุมที่อยู่ตรงข้ามของด้านที่กำหนดให้ด้านใดด้านหนึ่ง เช่น

2. ความยาวของด้าน 1 ด้านและมุม 2 มุม เช่น

48
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

พื้นที่ของรูปสามเหลียมใดๆ
ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมใดๆถ้า a, b และ c แทนความยาวด้านตรงข้ามมุม A, B
และ C ตามลำดับ
1 1 1
พื้นที่ ABC = ab sin C = ac sin B = bc sin A
2 2 2

กฎของ Hero’s Formula


พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมที่ทราบแต่ความยาวของด้านทั้งสามโดยที่ไม่ทราบมุม สามารถหา
พื้นที่โดยตรงได้
พื้นที่ ABC = s(s − a )(s − b )(s − c )
เมื่อ a, b, c เป็นความยาวของด้านทั้งสาม
a+b+c
และ s=
2

แบบฝึกหัด 8 กฎของโคไซน์และกฎของไซน์

1.ให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ยาว a, b และ c หน่วย ตามลำดับ


จงใช้กฎของโคไซน์เพื่อหาค่าต่อไปนี้
1) ค่าของ a เมื่อกำหนดให้ A = 60o , b = 40, c = 60 2) ค่าของ b เมื่อกำหนดให้ B = 120o , a = 4, c = 6

3) ค่าของ c เมื่อกำหนดให้ C = 133o , a = 193, b = 80 4. ขนาดของมุม B เมื่อกำหนด a = 12, b = 7, c = 8

2. ให้รูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ยาว a, b และ c หน่วย ตามลำดับ


จงใช้กฎของไซน์เพื่อหาค่าต่อไปนี้

49
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

1) กำหนด A = 30o , B = 45o , a = 4 จงหา b 2) กำหนด A = 60o , C = 30o , c = 3 จงหา a

3) กำหนด C = 120o , A = 30o , c = 2 2 จงหา a 4) กำหนด A = 60o , C = 30o , c = 20 จงหา a

5) ค่าของ c เมื่อกำหนดให้ A = 45o , C = 60o , b = 20 6) ค่าของ a และ c เมื่อกำหนดให้ A = 105o , C = 60o , b = 4

50
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

3.จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ยาว a, b และ c หน่วย


ตามลำดับ เมื่อกำหนดให้

1) a = 15, b = 20 และ C = 65o 2) b = 80, c = 5.5 และ A = 103.5o

3) จงหาพื้นที่
1
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC = bc sin A
2

4. จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ยาว a, b และ c หน่วย


ตามลำดับ เมื่อกำหนดให้

1) กำหนด a = 5, b = 7 และ c =8 2) กำหนด a = 40, b = 20 และ c = 30

3) กำหนด a = 4, b = 10 และ c=7

51
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

9.การหาระยะทางและความสูง
ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการหาระยะทางและความสูง ซึ่งบางครั้งใช้เครื่องมือวัดโดยตรงไม่ได้ เช่น การวัดความสูง
ของภูเขา การหาความกว้างของแม่น้ำ สามารถทำได้โดยอาศัยความรู้เรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติ ซึ่งมีขนาดของมุมเข้ามา
เกี่ยวข้องรวมทั้ง มุมก้ม (angle of depression) และมุมเงย (angle of elevation)

มุมก้ม คือ มุมที่อยู่ระหว่างเส้นระดับตา กับเส้นที่ลากจากตาไปยังวัตถุ (วัตถุอยู่ต่ำกว่าระดับตา)

มุมเงย คือ มุมที่อยู่ระหว่างเส้นระดับตา กับเส้นที่ลากจากตาไปยังวัตถุ (วัตถุอยู่สูงกว่าระดับตา)

ข้อตกลง
1.สิ่งที่อยู่บนพื้นดิน เช่น ต้นไม้ อาคาร หรือคน ถือว่าตั้งฉากกับพื้นดินเสมอ นอกจากโจทย์จะกำหนดเป็นอย่างอื่น
2.ถ้าโจทย์ไม่บอกความสูงของผู้สังเกต จะไม่คิดความสูงของผู้สังเกต

52
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

แบบฝึกหัดที่ 9 การหาระยะทางและความสูง
1. จงหาระยะ AB และ BC เมื่อ ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก และ AB = DB
วิธีทำ

2. จงหาระยะ BC และ CD

วิธีทำ

3. เรือสองลำอยู่ห่างกัน 50 เมตร และอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับประภาคาร ถ้าคนแต่ละคนในเรือมองเห็นยอด


ประภาคาร เป็นมุมเงย 45o และ 53o จงหาความสูงของประภาคาร
วิธีทำ

53
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

4.แดงมองไปที่ตึกหลังหนึ่ง ตึกหลังนั้นชั้นสุดท้ายมีความสูง 10 เมตร โดยที่แดงมองไปที่ยอดตึกและฐานของตึกชั้นสุดท้าย


เป็นมุมเงย 45o และ 30 o ตามลำดับ จงหาความสูงของตึกที่มอง และระยะห่างระหว่างแดงกับตึกที่มอง
วิธีทำ

5.ชายคนหนึ่งยืนอยู่ดาดฟ้าของตึกหลังหนึ่งสูง 30 เมตร เขามองไปที่ยอดตึกหลังหนึ่งเป็นมุมเงย 45o หลังจากที่เขาเดินลง


มาที่ชั้นแรกของตึก และเขามองไปที่ยอดตึกอีกครั้งเป็นมุมเงย 60 o จงหาความสูงของตึกหลังนั้น
วิธีทำ

54
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

55
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

56
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

57
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

58
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

59
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

แบบทดสอบเรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่ สุด เพียงข้อเดียว
1. กำหนดให้ tan θ = 2.4 และ π ≤ θ ≤ 3π2 แล้ว 5. sin π3 cos π6 + cos π3 sin π6 + sin 5π3 − tan 5π3 มีค่าตรง
sinθ − cosθ มีค่าเท่ากับข้อใด กับข้อใด
7 7
1. 13
2. − 13 1. 2+√3
2. 1−3√3
2 3
17 17
3. 13
4. − 13 3. 1+3√2
4. 1−
√3
2 2
2. กำหนดปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่ง มีด้านยาวยาว sin
7π 5π
−cos +tan
31π

6. ค่าของ 3

6
11π
4
มีตรงกับข้อใด
24 เซนติเมตร มีด้านกว้างยาว 18 เซนติเมตร และมี cos +sin
3 6

1. √3 − 1 2. 1 + √3
ความสูง 16 เซนติเมตร ดังรูป หากลากเส้นทแยงมุม จาก
2−2√3 2√3−1
A ไป B และ C ไป B จะเกิดรูปสามเหลี่ยม ABC ที่มีมุม C 3. 3
4. 3

เป็นมุมฉาก 7. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
แล้ว sin A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. −sin2 1° + sin2 2° − sin2 3° + ⋯ −
1
sin2 89° = 2
A
2. cos 2 1°cos 2 2°cos 2 3° … cos 2 179° = 0
16 ซม.
C 3. tan2 1°tan2 2°tan2 3° … tan2 89° = √3
B 18 ซม.
24 ซม. 4. sin1°+sin2°+sin3°+⋯+sin44°
sin46°+sin47°+sin48°+⋯+sin89°
= tan1° +
8
1. 15
2. 12
15
tan2° + tan3° + ⋯ + tan44°

3. 8
4. 15 8. กำหนดให้ cosθ = √23 และ tanθ < 0 สำหรับ 0 ≤
17 17
θ ≤ 2π แล้ว tanθ + secθ เท่ากับข้อใด
3. ค่าของ tan (−690°) มีค่าเท่าใด
3
1. √3 2. −√3
1. 3 2. −
√3

√3
3.
−1
4.
1 3. 3
4. −√3
√3 √3 π 5π 2π 17π
4. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 9. cos 6 cot 6
sin 3
tan 6
เท่ากับข้อใด

1. π π
cos ( + ) = cos + cos
π π 1. 0 2. 1
2 3 2 3
1 √3
2. π
cos 2 = sin
π 3.2
4. 2
4 6
cos(−600°)−cot (1,035°)
3. π
sin + sin = sin
π π 10. cosec(390°)
มีค่าตรงกับข้อใด
6 3 2
1 1
4. π
cos + sin = sin
4
π
4
π
2
1. 4
2. 2
3
3. 4
4. 1

60
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

11. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง 15. ค่าของ cos [arccos (− √23) − arcsin (− 12)]


1. sinθsecθ = tanθ เท่ากับข้อใด
2. cosθcscθ = tanθ
1
1. 0 2. 1
3. cos θ sec θ
cot θ sin θ
= tanθ 3. –1 4. −3
4

4. sin (−θ)
cos(−θ)
= −tanθ 16. กำหนดให้ 0 ≤ x < 2π แล้วเซตคำตอบของสมการ
12. ข้อใดต่อไปนี้เป็นกราฟของฟังก์ชัน tanx − √2sinx = 0 ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
f(x) = 2 − cos (4x) 1. {0,
π 7π
, π, }
4 4
1.
2. π
{ , π,
2
3π 5π
, }
4 4

3. π π 3π 5π
{ , ,
4 2 2
,
4
}

4. { ,
π 3π 5π 7π
, , }
2. 4 4 4 4

17. กำหนดให้ 0 < x < 2π แล้วเซตคำตอบของสมการ


2sin2 x − 3cosx − 3 = 0
เป็นสับเซตของข้อใด
3. 1. π π π π
{ 0, , , , , 2π}
2 3 4 6

2. {
π 2π 3π 4π 5π
, , , , }
3 3 3 3 3

3. { ,
π 3π 5π 7π
, , }
4 4 4 4

4. { ,
π 2π 3π 5π 7π 7π 11π
, , , , , }
4. 6 6 6 6 6 6 6

18. ให้ 4cos 4 x = (sin2x)2 และ



2
< x ≤ 2π แล้ว

tan2 x + cos 2 x มีค่ำตรงกับข้อใดต่อไปนี ้

1. 1
2
2. 3
2

3. 1
4. 3

13. 4cos3θsin2θ − 4cos4θsinθ − 4cos2θsinθ มีค่า 3 4

19. ให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมดังรูป แล้วค่าของ cos 2A


เท่ากับเท่าไร
เท่ากับข้อใด
1. 0 2. 1
A
3. 1
2
4. √3
2 5 7
14. sin75°−sin15°
cos75°+cos15°
มีค่าตรงกับข้อใด C B
8
1. tan15° 2. tan30°
10
1. -10 2. − 70
3. tan45° 4. tan75°
10
3. 10 4. 70

62
15
บทที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

20. เรือสองลำทอดสมออยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกับ
ประภาคารผู้โดยสารในเรือแต่ละลำมองเห็นยอด
ประภาคารเป็นมุมเงย 45 องศาและ 30 องศา และ
ผู้โดยสารทราบว่าประภาคารนี้สูง 600 เมตร จงหาว่าเรือ
ลำที่สองอยู่ห่างจากประภาคารนี้เท่าไร
1. 300√3 เมตร

2. 600√3 เมตร

3. 300(√3 − 1) เมตร

4. 600(√3 − 1) เมตร

63
16

You might also like