You are on page 1of 52

คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

เรื่อง
ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
(เนื้อหาตอนที่ 4)
อสมการเลขชี้กาลัง
โดย
รองศาสตราจารย์ เพ็ญพรรณ ยังคง

สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม


สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 16
ตอน ซึ่งประกอบด้วย

1. บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม


2. เนื้อหาตอนที่ 1 เลขยกกาลัง
- เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
- เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานอนตรรกยะ
- เขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนอตรรกยะ
3. เนื้อหาตอนที่ 2 ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
- ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
- กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
- สมการเลขชี้กาลัง
4. เนื้อหาตอนที่ 3 ลอการิทึม
- ฟังก์ชันลอการิทึม
- กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม
- สมการลิการิทึม
5. เนื้อหาตอนที่ 4 อสมการเลขชี้กาลัง
- ทบทวนสมบัติที่สาคัญของเลขยกกาลัง
- สมการและอสมการของเลขยกกาลัง
- ฟังก์ชันเลขชี้กาลังในชีวิตประจาวัน
6. เนื้อหาตอนที่ 5 อสมการลอการิทึม
- ทบทวนสมบัติที่สาคัญของลอการิทึม
- สมการและอสมการลอการิทึม
- ปัญหาในชีวิตประจาวันที่เกียวข้องกับฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชัน
ลอการิทึม
7. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1)
8. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2)
9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3)
10. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 4)
11. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง)

1
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

12. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟของฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการ
สอนส าหรั บ ครู และนั ก เรี ย นทุ ก โรงเรี ย นที่ ใ ช้ สื่ อ ชุ ด นี้ ร่ ว มกั บ การเรี ย นการสอนวิ ช า
คณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอน
วิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และ
ชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้

2
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรื่อง ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
หมวด เนื้อหา
ตอนที่ 4 (4/5)
หัวข้อย่อย 1. ทบทวนสมบัติที่สาคัญของเลขยกกาลัง
2. สมการและอสมการของเลขชี้กาลัง
3. ฟังก์ชันเลขชีก้ าลังในชีวิตประจาวัน

จุดประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เรียน
1. สามารถแก้สมการของเลขชี้กาลังได้
2. สามารถแก้อสมการของเลขชี้กาลังได้
3. สามารถนาความรู้เรื่องฟังก์ชันเลขชี้กาลังไปแก้ปัญหาต่างๆ ในชีวิตประจาวันได้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ผู้เรียนสามารถ
1. อธิบายหลักการและแก้สมการของเลขชี้กาลังได้
2. อธิบายหลักการและแก้อสมการของเลขชี้กาลังได้
3. นาความรู้เรื่องการแก้สมการและอสมการของเลขชี้กาลังไปใช้แก้ปัญหาได้

3
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เนื้อหาในสื่อการสอน

4
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. ทบทวนสมบัติที่สาคัญของเลขยกกาลัง

5
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. ทบทวนสมบัติที่สาคัญของเลขยกกาลัง

6
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. สมการและอสมการเลขชี้กาลัง

7
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. สมการและอสมการเลขชี้กาลัง

สื่อ ตอนนี้เราอาศัยความรู้เ รื่อ งฟังก์ชันหนึ่งต่อ หนึ่งในการหาเซตคาตอบของสมการและ


อสมการของเลขชี้กาลัง ดังนั้น ในตอนต้นจึงขอทบทวนความรู้เกี่ยวกับเรื่องฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง และ
เน้นว่าฟังก์ชันเลขยกกาลังก็เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง จึงสามารถอ้างสมบัติต่างๆ ของฟังก์ชันหนึ่งต่อ
หนึ่งได้

8
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากตัวอย่างข้างต้น ผู้สอนควรเน้นให้นักเรียนสังเกตว่า เราอ้างสมบัติการเป็นฟังก์ชันหนึ่ง


ต่อหนึ่งของฟังก์ชันเลขยกกาลังตรงไหนและอย่างไร และทาแบบฝึกหัดย่อยเพิ่มเติม

แบบฝึกหัดย่อย

ตอบคาถามสั้นๆ ต่อไปนี้
x
1. 3 729 แล้ว x

2 x x
2. 7 49 แล้ว x

9
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

x x 3
6 4
3. แล้ว x
4 9
x 3
1
4. 25
x 1
แล้ว x
5
x x
5. 5 2 แล้ว x

x 1 x 1
6. 9 7 แล้ว x

คาตอบ

1
1. 6 2. 2 3 2 4.
3
5. 0 6. 1

เมื่อนักเรียนทาแบบฝึกหัดย่อยนี้แล้ว ผู้สอนลองถามนักเรียนว่า ข้อใดบ้างที่อ้างสมบัติการเป็น


ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง และข้อใดไม่ได้อ้างการเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง เพราะเหตุใด
ตัวอย่างต่อไปจะเพิ่มความซับซ้อนในการหาเซตของคาตอบของสมการเลขชี้กาลัง ซึ่งเราต้อง
จัดเตรียมหรือจัดรูปของสมการที่โจทย์กาหนดให้เสียใหม่ เพื่อให้อยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีฐานเป็นจานวน
ที่เท่ากันเสียก่อน แล้วจึงจะอ้างความเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง เพื่อสรุปว่าเลขชี้กาลังจะต้องเท่ากัน

10
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

11
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากตัวอย่างข้างต้น ผู้สอนอาจแนะนานักเรียนว่า บางครั้งในการแก้สมการเลขชี้กาลัง ถ้า


เราแปลงสมการเก่าที่ซับซ้อนให้เป็นสมการใหม่ โดยการเลือกสมมติตัวแปรใหม่ที่เหมาะสม
2x x
ตัวอย่างเช่น 3 3 10 3 3 3 0 สมการเก่า

x x
โดยการสมมติให้ A 3 หรือแทน A ด้วย 3 ในสมการเก่า ก็จะได้

2
3A 10A 3 3 0 สมการใหม่

ซึ่งจะเป็นสมการกาลังสองที่นักเรียนคุ้นเคยและสามารถแก้สมการได้ง่าย
x
เมื่อหาค่า A จากสมการใหม่ได้แล้ว ก็จะหาค่า x ได้จาก A 3

12
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

13
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในการแก้สมการ บางครั้งอาจไม่มีจานวนจริง x ที่สอดคล้องกับสมการที่กาหนดให้ แสดงว่า


ไม่มีคาตอบของสมการนั้นๆ ซึ่งก็จะได้ว่าเซตคาตอบของสมการเป็นเซตว่างหรือ {} เพื่อให้นักเรียน
ได้เห็นสมการซึ่งไม่มีคาตอบ ให้ผู้สอนลองยกตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง จงหาค่า x ที่สอดคล้องสมการ 5


2x
2 5
x
3 0
x 2
วิธีทา 5 2 5
x
3 0
x 2
ให้ A 5 ดังนั้น A 2A 3 = 0
2
A 2A 1 2 = 0
2
(A 1) 2 = 0
นั่นคือ (A 1)2 2 ซึ่งเป็นไปไม่ได้
ดังนั้น จะไม่มีจานวนจริง A ที่สอดคล้องตามสมการ
เพราะว่า A 5x ดังนั้นก็จะไม่มีจานวนจริง x ที่สอดคล้องตามสมการ
นั่นคือ เซตคาตอบของสมการนี้จะเท่ากับ { } หรือ

แบบฝึกหัดที่ 1

1. จงหาเซตคาตอบของสมการต่อไปนี้
5x 2 x 1 x 2x 1 x 6
1.1 2 64 1.2 3 27 9
x x x 4 x 3 x 2
1.3 25 6 5 5 0 1.4 5 5 29 5
x x x 2x 1 x
1.5 10 25 29 10 10 4 0 1.6 3 4 3 9 0

x y z 4 12 12 12
2. ถ้า 2 5 7 70 แล้ว มีค่าเท่าใด
x y z
4 2 2m 2 8m 8 m
3. ถ้า (x 18x 81) (x 3) (x 3) แล้ว 2 มีค่าเท่าใด
x y 2x y x
4. ถ้า 5 625 5 และ 3 243 3 แล้ว มีค่าเท่าใด
y
log 4 x log x 3 2
5. ถ้า 4 x 3 x แล้ว x มีค่าเท่าใด

14
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบ 1. 1.1 {4} 1.2 {3} 1.3 {0, 1}


1.4 { 2} 1.5 { 1, 1} 1.6 {1, 2}
2. 3
1
3.
2
4. 3
5. 2

เราได้ดูสื่อเกี่ยวกับการแก้สมการเลขชี้กาลัง และได้ทาแบบฝึกหัดเพิ่มเติมไปแล้ว ซึ่งจะทา


ให้นักเรียนสามารถหาเซตคาตอบของสมการที่กาหนดให้ได้ในระดับหนึ่งแล้ว ต่อไปเราจะพูดถึงการ
แก้อสมการเลขชี้กาลัง ซึ่งต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเรื่องฟังก์ชันลดหรือฟังก์ชันเพิ่มของฟังก์ชันเลขชี้
กาลัง จึงขอทบทวนความรู้ในส่วนนี้เสียก่อน เพราะจะต้องมีการอ้างสมบัติการเป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือ
ฟังก์ชันลด โดยดูจากฐานของเลขชี้กาลังเป็นสาคัญ

15
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้สอนให้นักเรียนตอบคาถามสั้นๆ
x1 x2
1. x1 x2 3 3

x1 x2
2. x1 x2 4 4

x 1 x 3
3. x 1 x 3 5 5

x 2x 1
4 4
4. x 2x 1
3 3

x 2 x 1
5. x 1 x 2 2 2

4 x 1
6. 4 x 1 3 3
3 2x 1
5 5
7. 3 2x 1
4 4
2
x
2 1 2
x 4 4 1 x
8. 1 2
1 x 3 3

คาตอบ 1. < 2.  3. < , <


4.  5. > , < 6. >
7. > 8. > , >

16
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้สอนให้นักเรียนตอบคาถามสั้นๆ
x1 x2
1 1
1. x1 x2
2 2
x 4 x 1
1 1
2. x 4 x 1
3 3
3 x 2 x
3 3
3. 3 x 2 x
5 5
x 1 3
1 1
4. x 1 3
5 5
2
x
2 1 2
x 4 4 2 x
5. 1 2
2 x 7 7

คาตอบ 1. > 2. < 3. > , <


4. < 5. > , <

17
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แบบฝึกหัดเพิ่มเติม

จงเติมเครื่องหมาย , , , ลงใน
2x 3 x 5
2 2
1. 2x 3 x 5
3 3
2 x x 1
4 4
2. 2 x x 1
3 3
x x
1 2
x x 1 3 1 3
3. 1 2
3 3 6 6

18
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

log 3 x log 3 (3x 1)


4. log x
3
log (3x
3
1) 2 2

คาตอบ 1. > 2. < 3. 


4. <

19
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แบบฝึกหัดย่อย 1

จงหาเซตของคาตอบของอสมการต่อไปนี้
x 1
x 1 5x 1 x
2
1 1
1. 9 3 2. 2
16
2x
2
x 2x
2
x 1
3. 3 1 4. 2 3x 4
8
2x 1 2x 3
1 1 3x
2
14x 2
5. 6. 7 343
4 2
2
x 2x 3
1
7. 1
3

คาตอบ
1
1. [ 1, ) 2. ( 1, 5) 3. ( , ) (0, )
2
1 1
4. ( , 6 ] [1, ) 5. ( , ) 6. [ 5, ]
2 3
7. ( , 1) (3, )

20
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

21
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจวิธีการหาเซตคาตอบของอสมการเพิ่มขึ้น ผู้สอนควรเพิ่มตัวอย่าง
อีกสักสองสามตัวอย่างดังนี้

ตัวอย่างที่ 1 จงหาเซตของคาตอบของอสมการ 3 4
x
5 6
x
2 9
x
0

วิธีทำ จากอสมการ 3 4
x
5 6
x
2 9
x
0
2x x x 2x
จะได้ 3 2 5 2 3 2 3 0
2x 2 x x
3A 5AB 2B 0 (ให้ A 2 ,B 3 )
(3A B )(A 2B ) 0
x x x x
เพราะว่า A 2 ,B 3 ดังนั้น 3A B 3 2 3 0
ดังนั้นจะได้ว่า A 2B 0
x x
นั่นคือ A 2B หรือ 2 2 3
x
2
ดังนั้น 2
3
x
2
และจะได้ log log 2
3
2
x log log 2
3
log 2 log 2
x
2 log 2 log 3
log
3

22
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

log 2
ดังนั้น เซตคาตอบของอสมการนี้คือ x |x
log 2 log 3

ตัวอย่างที่ 2 จงหาเซตของคาตอบของอสมการ 10 5
2x
29 10
x
10 2
2x
0

วิธีทำ จากอสมการ 10 5
2x
29 10
x
10 2
2x
0
x 2 x x x 2
จะได้ 10 5 29 5 2 10 2 0
2 2 x x
10A 29AB 10B 0 (ให้ A 5 ,B 2 )
(5A 2B )(2A 5B ) 0
ถ้า 5A 2B 0 จะได้
5A 2B
x x
5 5 2 2
x 1 x 1
5 2
นั่นคือ x 1 0 หรือ x 1
ดังนั้น 5A 2B 0 เมื่อ x 1
และ 5A 2B 0 เมื่อ x 1
ถ้า 2A 5B 0 จะได้
2A 5B
x x
2 5 5 2
x 1 x 1
5 2
นั่นคือ x 1 0 หรือ x 1
ดังนั้น 2A 5B 0 เมื่อ x 1
และ 2A 5B 0 เมื่อ x 1
จากข้อมูลข้างต้นจะได้ว่า

(5A2B) < 0 (5A2B) > 0



(2A5B) < 0 (2A5B) > 0

 

ดังนั้นจะสรุปได้ว่า (5A 2B)(2A 5B) 0 เมื่อ x ( , 1] [1, )

23
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แบบฝึกหัดย่อย 2

จงหาเซตของคาตอบของสมการต่อไปนี้
2x 1 x
1. 3 4 3 9 0
x 2 x 1 x
2. 3 3 3 39
x 3 x 2 x 1
3. 5 5 31 5
x x x
4. 10 25 29 10 10 4 0
x
5. log 3 (7 3 18) 2x
x 4 x 1
6. 2 4 48

24
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบ
1. [1, 2 ] 2. (1, )
3. ( , 1] 4. [ 1, 1]
5. [ 2, ) 6. ( , 1]

หมายเหตุ ค่าของ log 2 และ log 3 ที่กาหนดให้ ก็เป็นค่าโดยประมาณ

25
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตัวอย่างที่ 1 จงหาค่า x จากสมการ 10


2x 1
3
x 2

วิธีทา จากสมการที่กาหนดให้ จะได้


2x 1 x 2
log 10 = log 3
(2x 1) log 10 = (x 2) log 3
(2x 1) = (x 2) log 3
2x x log 3 = 2 log 3 1
x(2 log 3) = (2 log 3 1)
(2 log 3 1) 2 log 3 1
x = =
2 log 3 log 3 2

(หมายเหตุ ถ้ากาหนดค่าของ log 3 ก็จะสามารถหาค่าของ x ได้)

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่า x จากสมการ n (1 x) n (1 x) 1

วิธีทา จาก n (1 x) n (1 x) 1
1 x
จะได้ n = 1
1 x
1 x
ดังนั้น = e
1 x
1 x = e ex
x ex = e 1
e 1
x =
e 1

3x 5 2 x
ตัวอย่างที่ 3 จงหาเซตคาตอบของอสมการ e 3
3x 5 2 x
วิธีทา จาก e 3
(เราเลือกใช้ลอการิทึมฐาน e ) จะได้
3x 5 2 x
ne  n 3

(3x 5) n e  (2 x) n 3

3x x n 3  2 n 3 5 ( ne 1)

26
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2 n 3 5
ดังนั้น x 
3 n 3

2 n 3 5
เซตคาตอบของอสมการนี้คือ ,
3 n 3

แบบฝึกหัดเพิ่มเติม

1. จงหาค่าของจานวนจริง x จากสมการ
2x 1
1.1 3 8
x 1 2x 3
1.2 5 2
x x 2 x 4 x 3
1.3 3 5 3 5

2. จงหาเซตคาตอบของอสมการ
2.1 4 25x 3 10x 4x 0
x 2x
2.2 2 3 8 3

คาตอบ
3 log 2 log 3 3 log 2 log 5
1. 1.1 x 1.2 x
2 log 3 2 log 2 log 5
3 log 2 1
1.3 x
log 5 log 3
2 log 2
2. 2.1 x 2.2 x log 3 4
log 2 log 5

27
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. ฟังก์ชันเลขชี้กาลังในชีวิตประจาวัน

28
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. ฟังก์ชันเลขชี้กาลังในชีวิตประจาวัน

ต่อไปจะเป็นการนาความรู้เรื่องฟังก์ชันเลขชี้กาลังไปประยุกต์ใช้ ซึ่งในสื่อจะเป็นตัวอย่าง
ของฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน นักเรียนจะได้เห็นว่าเรานาความรู้เรื่อง
ฟังก์ชันเลขชี้กาลังไปคานวณหรืออธิบาย อัตรา หรือจานวนประชากร หรือการเปลี่ยนแปลงในอนาคต
ได้อย่างไร

29
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

30
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นักเรียนอาจสงสัยว่า รู้ได้อย่างไรว่าความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของต้นไม้และเวลาที่ผ่าน
พ้นไปจะเป็นไปตามสมการที่กาหนดให้ ผู้สอนคงต้องบอกให้นักเรียนทราบว่า ความสัมพันธ์ที่
กาหนดให้ในโจทย์บางครั้งเป็นสมมติฐานที่นักวิทยาศาสตร์คาดเดา และบางครั้งก็ได้มีการทาวิจัยและ
ได้ข้อสรุปความสัมพันธ์ตามสมการที่กาหนดให้ แต่ในบางครั้ง ตัวเลขหรือจานวนในสถานการณ์จริง
ก็เป็นจานวนที่มีทศนิยมหลายตาแหน่ง อาจไม่สะดวกในการใช้คานวณ ในตัวอย่างจึงอาจใช้ตัวเลข
สมมติเพื่อความเหมาะสมหรือสะดวกในการคานวณ ซึ่งในชีวิตประจาวันจริง เราก็สามารถคานวณ
โดยใช้หลักการคานวณเดียวกัน และในการคานวณเราใช้ลอการิทึมช่วยในการคานวณให้ง่ายขึ้น
โดยบางกรณี (บางครั้ง) ค่าที่ได้เป็นเพียงค่าโดยประมาณเท่านั้น เนื่องจากข้อจากัดของค่าจากตาราง
ลอการิทึม ซึ่งเป็นค่าประมาณทศนิยมเพียง 4 ตาแหน่ง เมื่อนาไปบวก/ลบ/คูณ/หาร ก็จะได้ผลลัพท์
เป็นค่าโดยประมาณ

31
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจหรือเห็นได้ชัดเจนว่า ในสื่อเลือกใช้ลอการิทึมฐาน e ในการคานวณ


ระยะเวลาว่า นานเท่าไรจึงจะมีปริมาตร 4,000 ลูกบาศก์ฟุต แล้วอ้างว่าสะดวกกว่าและง่ายกว่า
ทาไมจึงเป็นเช่นนั้น ผู้สอนอาจแสดงให้นักเรียนเห็นว่า ถ้าใช้ลอการิทึมฐานอื่นแล้วอาจยุ่งยากกว่า
โดยลองเลือกใช้ลอการิทึมฐาน 10 ก็ได้ ดังนี้
t
จากความสัมพันธ์ 4000 100e

t
จะได้ e 40

32
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ถ้าเราเลือกใช้ลอการิทึมฐาน 10 ก็จะได้
t
log e = log 40
t log e = log 40
log 40
t =
log e
จากตารางลอการิทึมฐาน 10 จะได้ log e 0.4343 และ log 40 1.6021
1.6021
ดังนั้น t 3.6889
0.4343
หรือถ้าเราใช้ลอการิทึมฐาน 3 ก็จะได้
t
log3 e log3 40
log3 40
ดังนั้น t (ซึ่งจะมีปัญหาในการคานวณค่าของ t เพราะเรา
log3 e
ไม่มีตารางค่าของลอการิทึมฐาน 3)

33
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในชีวิตประจาวันเรายังมีเรื่องที่เกี่ยวกับการเงินและการธนาคารซึ่งอาศัยความรู้เรื่องฟังก์ชัน
เลขยกกาลังและฟังก์ชันลอการิทึมช่วยในการคานวณ ตัวอย่างเช่น เราทราบว่าสูตรที่ใช้คานวณเงิน
รวมโดยคิดดอกเบี้ยทบต้น คือ
n
S P (1 i)

เมื่อ Sn หมายถึงเงินรวมที่ได้จากการคิดดอกเบี้ยทบต้นของเงินต้น P บาท และคิดอัตราดอกเบี้ย i


และคิดดอกเบี้ยทบต้นเป็นจานวน n คาบ ถ้าเรารู้อัตราดอกเบี้ยของการฝากเงินและรู้ว่าคิดดอกเบี้ย
ทบต้นกี่ครั้ง ก็จะสามารถคานวณเงินรวมของการฝากเงินได้ทันทัน แต่การแทนค่าในสูตร ต้องแทน
ค่าให้ถูกต้อง จึงต้องมีวิธีหาค่า i และ n ที่ชัดเจน โดยผู้สอนอาจยกตัวอย่างให้ดูสัก 2-3 ตัวอย่าง

34
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตัวอย่าง 1 ฝากเงินกับธนาคารแห่งหนึ่ง 50,000 บาท ธนาคารให้ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2.5


ต่อปี คิดดอกเบี้ยทบต้นให้ทุก 4 เดือน ฝากนาน 2 ปี จงหาว่าเมื่อครบ 2 ปี จะได้เงินรวมเท่าไร
วิธีทำ จากโจทย์จะได้ P 50000

2.5
r 100
i (เมื่อ r คืออัตราดอกเบี้ยต่อปี)
m 3

n 2 3 6 ( 2 ปี คิดดอกเบี้ยทบต้น 6 ครั้ง)
n
ดังนั้น เงินรวม Sn = P(1 i)
6
0.025
= 50000 1
3

 52552.67 บาท

ตัวอย่าง 2 น้องพลอยต้องการใช้เงิน 1,000,000 บาท ในอีก 10 ปีข้างหน้านับจากวันนี้ ถ้า


ธนาคารมีโปรแกรมฝากพิเศษระยะเวลา 10 ปี คิดดอกเบี้ยให้ร้อยละ 4.5 ต่อปี และคิดดอกเบี้ยทบต้น
ทุกครึ่งปี น้องพลอยควรจะฝากเงินในวันนี้เป็นจานวนเท่าใด จึงจะมีเงินในบัญชี 1,000,000 บาทใน
อีก 10 ปีข้างหน้า (ไม่มีการคิดภาษีของดอกเบี้ยของเงินฝากพิเศษนี้)
วิธีทำ น้องพลอยต้องการหาเงินเต้น P บาท ซึ่งจะทาให้
S (เงินรวม) = 1,000,000 บาท
4.5
i = (คิดทบต้นปีละ 2 ครั้ง)
100 2
n = 10 2 (คิดทบต้นเป็นจานวน 10 2 ครั้ง)

n
แทนค่าในสูตร S P (1 i)

20
2.25
1, 000, 000 = P 1
100
6 20
10 = P 1 0.0225
6 20
log 10 = log P 1 0.0225

6 = log P 20 log (1.0225)

35
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

log P  6 20(0.0097) 5.8067


5
 log (10 6.407)

 640700
ดังนั้น น้องพลอยต้องฝากเงินวันนี้เป็นจานวน 640,700 บาท เพื่อว่าอีก 10 ปีข้างหน้า
จะมีเงิน 1,000,000 บาทในบัญชี

ตัวอย่าง 3 ธนาคารแห่งหนึ่งให้ดอกเบี้ยเงินฝากประจาพิเศษเป็นแบบทบต้น m ครั้งต่อปี โดยให้


ดอกเบี้ย เมื่อสิ้นปี ผู้ฝากจะได้ดอกเบี้ยที่แท้จริงเป็นไปตามสมการ
m
r
rm 1 1
m

เมื่อ rm แทน ดอกเบี้ยที่ได้รับจริงเมื่อสิ้นปี (ของเงินต้น 1 บาท)


r แทน อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารกาหนดให้ต่อปี (ของเงินต้น 1 บาท)
m แทน จานวนครั้งที่ธนาคารคิดดอกเบี้ยทบต้นใน 1 ปี
ก. จงหาอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่เกิดจากการคิดดอกเบี้ยด้วยอัตรา 3.75% ต่อปี โดยคิดทบต้น
ทุก 4 เดือน
ข. จงหาอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่เกิดจากการคิดดอกเบี้ยด้วยอัตรา 3.5% ต่อปี โดยคิดทบต้น
ทุกเดือน
ค. จงหาอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงที่เกิดจากการคิดดอกเบี้ยด้วยอัตรา 3.25% ต่อปี โดยคิดทบต้น
ทุกวัน
3.75
วิธีทำ ก. จากโจทย์ r , m 4
100
4
3.75
ดังนั้น r4 = 1 1
100 4

 0.03803 (ร้อยละ 3.80)


3.65
ข. จากโจทย์ r , m 12
100
12
3.65
ดังนั้น r12 = 1 1
100 12

 0.03557 (ร้อยละ 3.557)

36
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3.4
ค. จากโจทย์ r , m 365
100
365
3.4
ดังนั้น r365 = 1 1
100 365

 0.03562 (ร้อยละ 3.562)

ตัวอย่าง 4 ในการทาปฏิกิริยาทางเคมีสาร A เปลี่ยนไปเป็นสาร B ในอัตราที่เป็นสัดส่วนกับ


ปริมาณของสาร A ที่เหลืออยู่ โดยที่สมการความสัมพันธ์
kt
Q(t ) Ce

โดยที่ Q เป็นปริมาณของสาร A ที่เหลืออยู่ เมื่อเวลาผ่านไป t ชั่วโมง ถ้าตอนเริ่มต้นมีสาร A


อยู่ 100 กรัม หลังจากนั้น 3 ชั่วโมง มีสาร A เหลืออยู่ 85 กรัม ถ้าทิ้งให้ทาปฏิกิริยานาน 9 ชั่วโมง
จะเหลือสาร A กี่กรัม
kt
วิธีทำ จาก Q(t ) Ce ……………*

เมื่อ t 0,Q 100 แทนค่าในสมการ * จะได้


k (0)
100 = Ce

 C = 100
kt
ดังนั้น Q(t ) 100e ……………**

เมื่อ t 3,Q 85 แทนค่าในสมการ **


3k
85 = 100e
3k 85
e =
100
k 3 85
e =
100
t
85 3
 Q(t ) = 100
100

37
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9
85 3
เมื่อ t 9, Q = 100
100
3
85
= 100
100
= 61.4125 กรัม

แบบฝึกหัดย่อย

1. ถ้าอัตราการเจริญเติบโตของประชากรหนูในเมืองๆ หนึ่ง ณ เวลาหนึ่ง เป็นไปตามสมการ


t
m(t ) m0 (1 0.065)
เมื่อ แทน จานวนของหนูเมื่อเวลาผ่านไป t (เดือน)
m(t )
m 0 แทน จานวนของหนู ณ จุดเริ่มต้น
t แทน เวลา มีหน่วยเป็นเดือน
1.1 จงหาว่าเมืองนี้มีหนูกี่ตัวเมื่อเวลาผ่านไป 4 เดือน ถ้าจานวนหนู ณ จุดเริ่มต้นเท่ากับ
150 ตัว
1.2 เมื่อไรจานวนหนูของเมืองนี้จะเป็น 3000 ตัว
2. สมพรต้องการฝากเงินแบบพิเศษ 5 ปี เป็นจานวน 400,000 บาท โดยมีธนาคาร 2 ธนาคารให้
ข้อเสนอดังนี้
ธนาคาร A คิดดอกเบี้ยแบบทบต้นให้ทุกๆ 3 เดือน โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.5
ต่อปี
ธนาคาร B คิดดอกเบี้ยแบบทบต้นให้ทุกๆ 4 เดือน โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.65
ต่อปี
ธนาคาร C เสนอผลตอบแทนร้อยละ 4 ต่อปี แต่คิดดอกเบี้ยทบต้นให้ทุกเดือน
จงหาว่าสมพรควรจะเลือกธนาคารใด จึงจะได้ผลตอบแทนสูงสุด
3. ฝากเงินแบบพิเศษกับธนาคาร 300,000 บาท โดยธนาคารให้เลือกฝาก 3 แบบ ดังนี้
ก. อัตราดอกเบี้ย 4.45 คิดทบต้นทุก 3 เดือน
ข. อัตราดอกเบี้ย 4.25 คิดทบต้นทุกเดือน
ค. อัตราดอกเบี้ย 4.05 คิดทบต้นทุกวัน
แบบใดให้ผลตอบแทนเมื่อสิ้นปีสูงสุด

38
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คาตอบ
1. 1.1 193 ตัว 1.2 2 เดือน 26 วัน
2. A (500, 300.21) , B (503, 800.86) , C (488, 398.64) เลือกธนาคาร B

3. ก (313, 574.43) , ข (313, 001.31) , ค (312, 398.69) เลือกแบบ ก.

39
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สรุปสาระสาคัญประจาตอน

40
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สรุปสาระสาคัญประจาตอน

41
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

42
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภาคผนวกที่ 1
แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม

43
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แบบฝึกหัดระคน
3x 1 x
1. จงหาเซตคาตอบของอสมการ (2 )(5 ) 800

1. ( , 2] 2. [ 5, )

3. ( , 2 ] [ 5, ) 4. [ 2, 5 ]

x x x
2. จงหาเซตคาตอบของอสมการ 3 4 5 6 2.9 0

1. ( , log 2 3 ] 2. [ log 2 3, )

3. ( , log 3 3 ] 4. [ log 3 3, )
2 2

1 1

3. จงหาเซตคาตอบของอสมการ 3
x
12 3
2x
27 0 เป็นสับเซตของเซตใด
1. ( , 2 ] [ 3, ) 2. ( , 1) (1, )
1 1 1
3. ( , ) [ , ) 4. ( , ] (2, )
3 2 4
2
x (x 2) x
1 1
4. เซตคาตอบของอสมการ 3
คือเซตในข้อใด
5 5
1. ( 2, 0) (1, ) 2. ( 3, 0) (2, )

3. ( , 3) ( 3, 1) 4. ( 3, 0) (1, )

3 2x 1 x
5. เซตคาตอบของอสมการ 3 1 4 3 คือเซตในข้อใด
1. [1, 2 ] 2. ( , 1] [ 2, )

3. ( , 2 ] [1, ) 4. [ 2, 1]

2x (x 1) x 2
1 1
6. เซตคาตอบของอสมการ เป็นสับเซตของข้อใด
e e
1
1. ( 1, 3) 2. ( , ) [1, )
3
3. ( , 2) (1, ) 4. ( 2, 4)

44
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

log5 x log5 7
7. เซตคาตอบของอสมการ 7 x 14 เป็นสับเซตของข้อใด
1. ( , 6) 2. ( 3, 5)

3. (5, ) 4. ( 1, 4)

8. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
cos cos
ก. e 6
e 3

1 1
e e
ข. sin sin
3 6
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ผิด และ ข. ถูก
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
9. กาหนดให้ 0 a b 1 และ 0 x y แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
x y x y
1. a b 2. a b
x y y x y x y
3. a a 4. a b

log (5x 4) log (2x 5)


10. จงหาเซตคาตอบของอสมการ (0.7) 0.7
0.7 0.7
คือเซตในข้อใด
log x log (2x 3)
1. x |4 3
4 3

2. x | log3 e(x 1)
log3 e
(x 2)
0
x 1 x 1
1 1
3. x |
3 9
n (3x 2) n (2x 1)
4. x | log3 e log3 e 0

45
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภาคผนวกที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัด

46
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เฉลยแบบฝึกหัด
เรื่อง อสมการเลขชีก้ าลัง

แบบฝึกหัดระคน
1. 1 2. 4 3. 3 4. 4 5. 1 6. 2

7. 3 8. 2 9. 3 10. 3

47
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายชือ่ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์
จานวน 92 ตอน

48
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน

เรื่อง ตอน
เซต บทนา เรื่อง เซต
ความหมายของเซต
เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต
เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์
การให้เหตุผล
ประพจน์และการสมมูล
สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย
สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
จานวนจริง บทนา เรื่อง จานวนจริง
สมบัติของจานวนจริง
การแยกตัวประกอบ
ทฤษฏีบทตัวประกอบ
สมการพหุนาม
อสมการ
เทคนิคการแก้อสมการ
ค่าสัมบูรณ์
การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
กราฟค่าสัมบูรณ์
สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน
สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น
การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ
ตั(การหารลงตั วและตัววหารร่
วหารร่วมมากและตั คูณร่ววมมาก)
มน้อย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์

49
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรื่อง ตอน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดเมนและเรนจ์
อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
ฟังก์ชันเบื้องต้น
พีชคณิตของฟังก์ชัน
อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชนั อินเวอร์ส
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
เลขยกกาลัง
ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
ลอการิทึม
อสมการเลขชี้กาลัง
อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3
กฎของไซน์และโคไซน์
กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์
กาหนดการเชิงเส้น บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น
การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
การหาค่าสุดขีด
ลาดับและอนุกรม บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม
ลาดับ
การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต
ลิมิตของลาดับ
ผลบวกย่อย
อนุกรม
ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม

50
คู่มือสือ่ การสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรื่อง ตอน
การนับและความน่าจะเป็น บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น
. การนับเบื้องต้น
การเรียงสับเปลี่ยน
การจัดหมู่
ทฤษฎีบททวินาม
การทดลองสุ่ม
ความน่าจะเป็น 1
ความน่าจะเป็น 2
สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เรื่อง สถิตแิ ละการวิเคราะห์ข้อมูล
บทนา เนื้อหา
แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1
แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2
แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3
การกระจายของข้อมูล
การกระจายสัมบูรณ์ 1
การกระจายสัมบูรณ์ 2
การกระจายสัมบูรณ์ 3
การกระจายสัมพัทธ์
คะแนนมาตรฐาน
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2
โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1
โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร์ การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
การถอดรากที่สาม
เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
กระเบื้องที่ยืดหดได้

51

You might also like