You are on page 1of 28

แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์

เรื่อง ตัวประกอบของจานวนนับ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

m
co
k.
no
an
ชุดที่ 1
ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ
ob
ro
.k
w
w

นางอารมณ์ แก้วเซ่ง
w

โรงเรียนสังวาลย์วิท ๗ อาเภอบางขัน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2
คานา

แบบฝึกทักษะหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ตัวประกอบของจานวนนับ


ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จัดทาขึ้นเพื่อแก้ปัญหา พัฒนาการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์

m
ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค 16101 อีกทั้งสามารถ ใช้ประกอบการ

co
เรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานการคานวณ มีทักษะ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ พัฒนาทักษะ กระบวนการคิด คิดอย่างมีเหตุผล

k.
เชื่อมโยงความรู้ได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นพื้นฐานการคานวณ และมีทักษะ
กระบวนการคิด ในระดับช่วงชั้นที่สูงขึ้นไป
no
แบบฝึกทักษะชุดนี้ใช้ร่วมกับแผนการจัดการเรียนรู้จานวน 4 แผน ผู้จัดทาได้
จัดการเรียนรู้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังวาลย์วิท ๗ ส่งผลให้
an
นักเรียนเกิดทักษะและองค์ความรู้ที่รวดเร็ว คงทน
ผู้จัดทา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของ
ob

จานวนนับชุดนี้ จะเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง
สมบูรณ์ มีประสิทธิภาพ และคงเอื้อประโยชน์แก่นักเรียน ครูผู้สอนคณิตศาสตร์
ro

และผู้ที่สนใจตามสมควร ขอขอบพระคุณท่านผู้บริหาร คณะครู นักเรียน โรงเรียน


สังวาลย์วิท ๗ ที่มีส่วนทาให้แบบฝึกทักษะสาเร็จลุล่วงด้วยดี ขอขอบคุณทุก
.k

ข้อเสนอแนะที่ช่วยให้ผู้จัดทาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ
w

ยิ่งขึ้น
w

นางอารมณ์ แก้วเซ่ง
w
สารบัญ
คานา หน้า
คาชี้แจง

m
เนื้อหา
จุดประสงค์การเรียนรู้

co
1. การหารลงตัวและการหารไม่ลงตัว
แบบฝึกทักษะที่ 1.1

k.
แบบฝึกทักษะที่ 1.2

no
2. การหาตัวประกอบ
แบบฝึกทักษะที่ 1.3
an
แบบฝึกทักษะที่ 1.4
แบบฝึกทักษะที่ 1.5
แบบฝึกทักษะที่ 1.6
ob

3. การใช้ตัวประกอบในการหาผลคูณ
แบบฝึกทักษะที่ 1.7
ro

แบบฝึกทักษะที่ 1.8
.k

4. การใช้ตัวประกอบในการหาผลหาร
แบบฝึกทักษะที่ 1.9
w

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.1
w

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.2
w

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.3
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.4
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.5
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.6
สารบัญ (ต่อ)
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.7
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.8
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.9

m
แบบทดสอบย่อยหลังเรียนชุดที่ 1
เฉลยแบบทดสอบย่อยหลังเรียนชุดที่ 1

co
k.
no
an
ob
ro
.k
w
w
w
1

คาชี้แจง

m
1. แบบฝึกทักษะหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ตัวประกอบของจานวนนับ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีจานวน 5 ชุด ดังนี้

co
ชุดที่ 1 การหาตัวประกอบ

k.
ชุดที่ 2 จานวนเฉพาะ
ชุดที่ 3 การแยกตัวประกอบ

no
ชุดที่ 4
ชุดที่ 5
ตัวหารร่วมมาก
ตัวคูณร่วมน้อย
an
2. แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง การหาตัวประกอบ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเรียน
วิชาคณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ตัวประกอบของจานวนนับ ชั้นประถมศึกษา
ob

ปีที่ 6
3. การทาแบบฝึกทักษะแต่ละชุดให้ปฏิบัติ ดังนี้
ro

3.1 ศึกษาเนื้อหาและตัวอย่างแบบฝึกทักษะให้เข้าใจ
3.2 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะแต่ละตอนในแต่ละชุด
.k

3.3 เฉลยแบบฝึกทักษะ
3.4 ทาแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1
w

3.5 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 1


w

เมื่อดาเนินการครบถ้วนและเสร็จสิ้นทุกขั้นตอนแล้ว จะทาช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะ
w

และองค์ความรู้ เรื่อง ตัวประกอบของจานวนนับ ที่ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น


2

เนื้อหา

m
co
ประกอบด้วย

k.
1. การหารลงตัวและการหารไม่ลงตัว
2.
3. no
การหาตัวประกอบ
การใช้ตัวประกอบในการหาผลคูณ
an
4. การใช้ตัวประกอบในการหาผลหาร
ob
ro
.k
w
w
w
3

จุดประสงค์การเรียนรู้

m
co
k.
1. สามารถบอกได้ว่าเป็นการหารลงตัวหรือไม่ลงตัว
no
พร้อมให้ เหตุผลประกอบ
2. สามารถบอกได้ว่าจานวนหนึ่งเป็นตัวประกอบของ
an
อีกจานวนหนึ่งหรือไม่
3. สามารถหาตัวประกอบทุกตัวของจานวนนับที่
ob

กาหนดให้ได้
4. สามารถหาผลคูณและผลหาร โดยใช้ตัวประกอบ
ro

ได้
.k
w
w
w
4

ตัวประกอบและการหาตัวประกอบ

m
การหารลงตัวและการหารไม่ลงตัว

co
k.
ทบทวนกันหน่อย.....
no17
8 138
12
an
8 4 48
48
58 0
ob

56
2 48  4  12
ro

138  8  17 เศษ 2 (ไม่มีเศษ หรือ มีเศษเป็น 0)


กล่าวได้ว่า 48 หารด้วย 4 ลงตัว
.k

กล่าวได้ว่า 138 หารด้วย 8 ไม่ลงตัว


w
w

อ้อ..
การหารลงตัว
w

เป็นอย่างนี้
นี่เอง
5

พิจารณาเพิ่มเติมนะจ๊ะ

842 (เป็นการหารลงตัว)

m
12  5  2 เศษ 2 (เป็นการหารทีไม่ลงตัว)

co
24  6  4 (เป็นการหารลงตัว)

k.
31  7  4 เศษ 3 (เป็นการหารที่ไม่ลงตัว)

no
35  6  5 เศษ 5 (เป็นการหารที่ไม่ลงตัว)
an
40  8  5 (เป็นการหารลงตัว)
ob

144  12  12 (เป็นการหารลงตัว)
ro

การหารลงตัว หมายถึง การที่ไม่มีเศษ หรือมีเศษเป็น 0


.k

การหารไม่ลงตัว หมายถึง การหารที่มีเศษมากกว่า 0


w

แต่น้อยกว่าตัวหาร
w
w
6
แบบฝึกทักษะที่ 1.1

ชื่อ – สกุล.........................................................................ชั้น.................เลขที่..............

คาสั่ง : ให้นักเรียนหาผลหารแล้วระบายสีดังนี้

m
สีเหลือง ถ้าการหารนั้นเป็นการหารลงตัว
สีฟ้า ถ้าการหารนั้นเป็นการหารไม่ลงตัว

co
k.
24  7 33  3 44  8 54  5

58  7
no 74  12 96  8 145  10
an
250  25
111  3
ob

108  12 57  3

111  11 215  2 91  7 52  8
ro

25  10
.k

121  12 25  25 115  6
w

24  1 128  8
210  21
w

200  8
w

28  8 140  20 69  6 99  6

21  5 134  11
98  6 189  9
7

ตัวประกอบ

ตัวประกอบของจานวนนับใดๆ

m
คือ จานวนนับที่สามารถหารจานวนนับนั้นได้ลงตัว

co
พิจารณาการหารของจานวนนับต่อไปนี้

k.
A. 12  6 B. 21  4 C. 42  7

2
6 12 no 5
4 21
6
7 42
an
12 20 42
00 1 00
ob

จะได้ว่า 6 เป็นตัวประกอบ ของ 12 เพราะ 6 หาร 12 ลงตัว


ro

4 ไม่เป็นตัวประกอบ ของ 21 เพราะ 4 หาร 21 ไม่ลงตัว


.k

7 เป็นตัวประกอบ ของ 42 เพราะ 7 หาร 42 ลงตัว


w
w
w
8
พิจารณาเพิ่มเติมนะจ๊ะ

81=8 82=4 8  3 = 2 เศษ 2

m
co
84=2 8  5 = 1 เศษ 3 8  6 = 1 เศษ 2

k.
8  7 = 1 เศษ 1 88=1

no
an
จะได้ว่า 8 หารด้วย 1 ลงตัว ดังนั้น 1 เป็นตัวประกอบของ 8
8 หารด้วย 2 ลงตัว ดังนั้น 2 เป็นตัวประกอบของ 8
ob

8 หารด้วย 3 ไม่ลงตัว ดังนั้น 3 ไม่เป็นตัวประกอบของ 8


8 หารด้วย 4 ลงตัว ดังนั้น 4 เป็นตัวประกอบของ 8
ro

8 หารด้วย 5 ไม่ลงตัว ดังนั้น 5 ไม่เป็นตัวประกอบของ 8


.k

8 หารด้วย 6 ไม่ลงตัว ดังนั้น 6 ไม่เป็นตัวประกอบของ 8


w

8 หารด้วย 7 ไม่ลงตัว ดังนั้น 7 ไม่เป็นตัวประกอบของ 8


8 หารด้วย 8 ลงตัว ดังนั้น 8 เป็นตัวประกอบของ 8
w
w
9
แบบฝึกทักษะที่ 1.2

ชื่อ – สกุล.........................................................................ชั้น.................เลขที่..............

m
คาสั่ง : ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

co
ตัวอย่าง
7 เป็นตัวประกอบของ 138 หรือไม่ เพราะเหตุใด

k.
ตอบ 7 ไม่เป็นตัวประกอบของ 138 เพราะ 7 หาร 138 ไม่ลงตัว

no
2 เป็นตัวประกอบของ 57 หรือไม่ เพราะเหตุใด
an
1
ตอบ....................................................................................................
ob

2 3 เป็นตัวประกอบของ 141 หรือไม่ เพราะเหตุใด


ตอบ....................................................................................................
ro

6 เป็นตัวประกอบของ 102 หรือไม่ เพราะเหตุใด


.k

3
ตอบ....................................................................................................
w

11 เป็นตัวประกอบของ 131 หรือไม่ เพราะเหตุใด


w

4
ตอบ....................................................................................................
w

5
9 เป็นตัวประกอบของ 189 หรือไม่ เพราะเหตุใด
ตอบ....................................................................................................
10

แบบฝึกทักษะที่ 1.3
ชื่อ – สกุล.........................................................................ชั้น.................เลขที่..............

คาสั่ง : ให้นักเรียนระบายสีตามที่กาหนด

m
27 40 81

co
14 21

k.
12 30
60 99
45
no 88 32 35
an
49

16 78 91 66 64
ob

105 28
136 104
ro

117 135
6
.k

102 114
77 70
w

128 153
w

9
w

สีแดง ถ้าจานวนนั้นมี 6 เป็นตัวประกอบ


สีเหลือง ถ้าจานวนนั้นมี 7 เป็นตัวประกอบ
สีฟ้า ถ้าจานวนนั้นมี 8 เป็นตัวประกอบ
สีเขียว ถ้าจานวนนั้นมี 9 เป็นตัวประกอบ
11

การหาตัวประกอบ

m
การหาตัวประกอบของจานวนนับใดๆ คือ
การหาจานวนนับที่หารจานวนนับนั้นลงตัว

co
k.
61=6
62=3
no 6  4 = 1 เศษ 2
6  5 = 1 เศษ 1
an
63=2
66=1
ob

1, 2, 3, และ 6 หาร 6 ได้ลงตัว 4 และ 5 หาร 6 ไม่ลงตัว


ro

ดังนั้น 1, 2, 3 และ 6 เป็นตัวประกอบของ 6 ดังนั้น 4 และ 5 ไม่ใช่ตัวประกอบของ 6


.k

เราอาจหาตัวประกอบของจานวนนับได้ โดยใช้ความสัมพันธ์ของการคูณได้ดังนี้
w
w

16 =6
23 =6
w

แสดงว่า 1, 2, 3 และ 6 หาร 6 ได้ลงตัว


ดังนั้น 1, 2, 3 และ 6 เป็นตัวประกอบของ 6
12

ตัวอย่าง

1. จงหาตัวประกอบทั้งหมดของ 24

m
24

co
1  24
2  12

k.
38
46

no
ตัวประกอบทั้งหมดของ 24 ได้แก่ 1, 2, 3, 4 , 6, 8, 12, 24
an
ob

2. จงหาตัวประกอบทั้งหมดของ 36
36
ro

1  36
2  18
.k

3  12
49
w

ตัวประกอบทั้งหมดของ 36 ได้แก่ 1, 2, 3, 4 , 9, 12, 18, 36


w
w
13

แบบฝึกทักษะที่ 1.4

ชื่อ – สกุล.........................................................................ชั้น.................เลขที่..............

m
คาสั่ง : ให้นักเรียนเขียนวงกลมล้อมรอบจานวนนับที่หารจานวนนับที่กาหนดให้
ได้ลงตัว พร้อมทั้งตอบคาถาม

co
1. จานวนนับใดบ้างที่หาร 14 ลงตัว

k.
1 , 2 , 4 , 5 , 7 , 8 , 12 , 14

no
2. ตัวประกอบของ 14 ได้แก่จานวนนับใดบ้าง
an
ตอบ...................................................................................
ob

3. จานวนนับใดบ้างที่หาร 25 ลงตัว
1 , 3 , 5 , 10 , 12 , 15 , 20 , 25
ro

4. ตัวประกอบของ 25 ได้แก่จานวนนับใดบ้าง
.k

ตอบ...................................................................................
w

5. จานวนนับใดบ้างที่หาร 48 ลงตัว
w

1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 7 , 8 , 12 , 15 , 16 , 22 , 24 , 48
w

6. ตัวประกอบของ 48 ได้แก่จานวนนับใดบ้าง
ตอบ...................................................................................
15
แบบฝึกทักษะที่ 1.6
ชื่อ – สกุล.........................................................................ชั้น.................เลขที่..............

คาสั่ง : ให้นักเรียนหาตัวประกอบทั้งหมดของจานวนนับที่อยู่ตรงกลางของ

m
ดอกไม้ โดยเขียนคาตอบลงในกลีบดอกไม้แต่ละกลีบ

co
20

k.
12

no
an
ob

63
22
ro
.k
w
w

15 54
w
14
แบบฝึกทักษะที่ 1.5
ชื่อ – สกุล.........................................................................ชั้น.................เลขที่..............

คาสั่ง : ให้นักเรียนหาตัวประกอบทุกตัวของจานวนนับต่อไปนี้

m
co
1. 24

ตัวประกอบทุกตัวของ 24 คือ...................................................................................

k.
2. 33
no
an
ตัวประกอบทุกตัวของ 33 คือ...................................................................................
ob

50
3.

ตัวประกอบทุกตัวของ 50 คือ...................................................................................
ro
.k

96
4.
w

ตัวประกอบทุกตัวของ 96 คือ...................................................................................
w

5. 100
w

ตัวประกอบทุกตัวของ 100 คือ.................................................................................


16
การใช้ตัวประกอบในการหาผลคูณและผลหาร

การเขียนจานวนในรูปการคูณของตัวประกอบสองตัว เราต้องทราบ
ตัวประกอบทุกตัวของจานวนนับนั้นก่อน เช่น

m
18 มีตัวประกอบ 6 ตัว คือ 1 , 2 , 3 , 6 , 9 และ 18

co
จากนั้นพิจารณาว่าตัวประกอบคู่ใดบ้างที่ผลคูณเท่ากับ 18 ดังนี้
18 = 1  8

k.
18 = 2  9

no 18 = 3  6
an
ตัวอย่าง
ob

เขียน 12 และ 28 ในรูปการคูณของตัวประกอบสองตัว ที่ไม่มีตัวใดเป็น 1


ro

12 = 2 6 28 = 2  14
.k

12 = 3 4 28 = 4  7
w
w
w
17
แบบฝึกทักษะที่ 1.7
ชื่อ – สกุล.........................................................................ชั้น.................เลขที่..............

คาสั่ง : ให้นักเรียนเขียนจานวนนับต่อไปนี้ ในรูปการคูณของตัวประกอบสองตัวที่

m
ไม่มีตัวเป็น 1

co
16 = …………………………. 35 = ………………………….

k.
16 = …………………………. 35 = ………………………….
1 16 = …………………………. 2 35 = ………………………….

no
an
ob

42 = …………………………. 90 = ………………………….
42 = …………………………. 90 = …………………………
ro

3 42 = …………………………. 4 90 = ………………………….
.k

90 = ………………………….
90 = ………………………….
w
w

110 =……………………….
w

110 = …………………….
110 = ………………………
5
18

การใช้ตัวประกอบในการหาผลคูณ

การหาผลคูณระหว่างจานวนสองจานวน สามารถนาความรู้

m
เรื่องตัวประกอบมาใช้ได้ โดยเขียนจานวนใดจานวนหนึ่งหรือทั้งสอง
จานวนในรูปการคูณของตัวประกอบ แล้วใช้สมบัติการสลับที่และ

co
สมบัติการเปลี่ยนหมู่ของการคูณ....
.....ศึกษาตัวอย่างดูนะจ๊ะ.......

k.
no
จงหาผลคูณของ 42  25
an
วิธีทา 42  25 = (7  6 )  25 42 
ob

25
= 7  (6  25)
210
= 7  150
ro

840
= 1,050
1,050
.k

ตอบ ๑,๐๕๐
w

......หรือจะลองทาวิธีอื่นก็ได้ค่ะ
w

วิธีทา 42  25 = 42 (5  5) 42  25 = 6 7  5  5
w

= ( 42  5)  5 = 30  35
= 210  5 = 1,050
= 1,050
ตอบ ๑,๐๕๐ ตอบ ๑,๐๕๐
19

แบบฝึกทักษะที่ 1.8
ชื่อ – สกุล.........................................................................ชั้น.................เลขที่..............

คาสั่ง : ให้นักเรียนเติมตัวเลขในช่องว่าง แล้วหาผลคูณโดยใช้ตัวประกอบ

m
(1) 25  16 = 25  ( 2  ……)

co
= (…… 2)  …….

k.
= ………………….
= ……………..
no
ตอบ ..................................

an
(2) 35  54 = (7  ……)  ……
ob

= ……  (…..  54)
= 7  ………….
ro

= ……………..
ตอบ ..................................
.k


w

(3) 75  24 = ……..  (……  4)


w

= ( ……  ..…..)  ……..
w

= ………………  ………….
= ……………..
ตอบ ..................................

20

(4) 48  45 = ……..  ( 5  ……..)


= ( ……  ..…..)  .……..
= ………………  ………….

m
= ……………..
ตอบ ..................................

co

(5) 120  56 = ……..  (……  ……..)

k.
= ( ……  ..…..)  .……..
no
= ………………  ………….
= ……………..
an
ตอบ ..................................

ob

(6) 90  65 = …….. …………………………


ro

= ………………………….. .……..
= ……………… ………………….
.k

= ……………………………..……..
w

ตอบ ..................................
w


w
21

การใช้ตัวประกอบในการหาผลหาร

m
การหาผลหารอาจนาความรู้เรื่องตัวประกอบมาใช้ได้ โดยเขียน
ตัวหารในรูปของการคูณของตัวประกอบ แล้วนาผลหารไปหารตัวตั้ง

co
k.
.....ศึกษาตัวอย่างดูนะจ๊ะ.......
จงหาผลหาร
no
ตัวอย่างที่ 1 189  21
an
วิธีทา 21 = 3  7 ตรวจคาตอบ
ผลหาร  ตัวหาร = ตัวตั้ง
9  21 = 189
ob

3) 189
7) 63
ro

9
ตอบ ๙
.k

ตัวอย่างที่ 2 588  42
w

ตรวจคาตอบ
วิธีทา 42 = 6  7 ผลหาร  ตัวหาร = ตัวตั้ง
w

14  42 = 588
w

6) 588
7) 98
14
ตอบ ๑๔
22
แบบฝึกทักษะที่ 1.9
ชื่อ – สกุล.........................................................................ชั้น.................เลขที่..............

คาสั่ง : ให้นักเรียนเหาผลหารโดยใช้ตัวประกอบ และตรวจคาตอบ

m
1. 728  56

co
วิธีทา 56 = 7  8 ตรวจคาตอบ
…………………….. ผลหาร  ตัวหาร = ตัวตั้ง

k.
……………………… …….…  ………. =…………

no
……………………..
………………………
an
ดังนั้น 728  56 = ……………………

ตอบ …………………………………….
ob
ro

2. 864  24

วิธีทา 24 = 6  4
.k

…………………….. ตรวจคาตอบ
ผลหาร  ตัวหาร = ตัวตั้ง
w

………………………
…….…  ………. =…………
w

……………………..
………………………
w

ดังนั้น 864  24 = ……………………

ตอบ……………………………
3. 972  36 23
วิธีทา 36 = 6  6
……………………..
……………………… ตรวจคาตอบ
…………………….. ผลหาร  ตัวหาร = ตัวตั้ง

m
……………………… …….…  ………. =…………
ดังนั้น  36 = ……………………

co
972

ตอบ……………………………

k.
4. 1,296  108
วิธีทา
no
108 = 12  9
……………………..
ตรวจคาตอบ
ผลหาร  ตัวหาร = ตัวตั้ง
an
………………………
…….…  ………. =…………
……………………..
ob

………………………
ดังนั้น 1,296  108 = …………………
ro

ตอบ……………………………
.k

5. 704  16
w

วิธีทา 16 = ……………………. ตรวจคาตอบ


w

…………………….. ผลหาร  ตัวหาร = ตัวตั้ง


w

……………………… …….…  ………. =…………


……………………..
ดังนั้น 704  16 = …………………

ตอบ………………………
w
w
w
.k
ro
ob
an
no
k.
co
m

You might also like