You are on page 1of 50

สารบัญ

หน้า
การวัดค่ากลางของข้อมูล 1
การวัดตาแหน่งของข้อมูล 6
การวัดการกระจายสัมบูรณ์ 14
การวัดการกระจายสัมพัทธ์ 30
แบบฝึกหัดการวัดการกระจายข้อมูล 32
สรุปความสัมพันธ์ระหว่างค่ากลางชนิดต่างๆ 41
แบบฝึกหัดทบทวน 43
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

เรื่อง การวัดค่ากลางของข้อมูล

Page 1
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

Page 2
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

1.ข้อมูลน้้าหนัก (กก.) ของนักเรียน 9 คนเป็นดังนี้ 40 45 46 46 50 51 49 52 42 ให้หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต


มัธยฐาน และฐานนิยม ของข้อมูลชุดนี้

2. ตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียนจ้านวน 100 คน เป็นดังนี้

คะแนน จ้านวนนักเรียน
20 – 29 2
30 – 39 9
40 – 49 13
50 – 59 20
60 – 69 30
70 – 79 15
80 – 89 10
90 – 99 1

ก. ให้หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ ข. ให้หามัธยฐานของคะแนนสอบ

Page 3
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ค. ให้หาฐานนิยมของคะแนนสอบ

ง. หากตัดอันตรภาคชั้น 20 – 29 และ 30 – 39 ทิ้งไป ให้เหลือข้อมูลเพียง 89 จ้านวน แล้ว


ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร

3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียน 10 คน เป็น 65 คะแนน ถ้านักเรียน 7 คนแรก


มีคะแนนสอบดังนี้ 55, 43, 67, 80, 85, 74, 38 คะแนน ส่วนอีก 3 คน มีคนได้คะแนนเท่ากัน 2คน และมากกว่า
อีกคนหนึ่งอยู่ 11 คะแนน จงหามัธยฐาน และฐานนิยมของคะแนนสอบของนักเรียน10 คนนี้

4. ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 5 คน คนโตอายุ 15 ปี คนสุดท้องอายุ 4 ปี ค่าเฉลี่ยอายุบุตรทุกคนเป็น11 ปี


มัธยฐานเป็น 12 ปี หากบุตรคนที่ 4 อายุน้อยกว่าคนที่ 2 อยู่ 4 ปี จงหาค่าเฉลี่ยของอายุบุตรในอีก 3 ปีข้างหน้า

Page 4
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

5. จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างน้้าหนัก (กก.; W) กับส่วนสูง (ซม.; H) ของคน 15 คน พบว่าเป็นไปตาม


สมการ 3W = H − 15 ถ้าค่าเฉลี่ยของส่วนสูง 6 คนแรกเป็น 159 ซม. และของอีก 9 คนที่เหลือเป็น 156 ซม. ให้
หาค่าเฉลี่ยของน้้าหนักคน 15 คนนี้

6. ความสัมพันธ์ระหว่างก้าไร (y) และราคาทุน (x) ของสินค้าชนิดหนึ่งเป็นy = 7 + 0.25 x ถ้าราคาทุนของ


สินค้า 5 ชิ้นเป็น 32, 48, 40, 56, 44 บาท แล้ว จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของก้าไรของสินค้า 5 ชิ้นนี้

8. ข้อมูล N จ้านวน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 15 ภายหลังพบว่าอ่านข้อมูลผิด คือจาก 21 อ่านผิด


เป็น 12 จึงท้าการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตใหม่ได้เป็น 16 จงหาจ้านวนข้อมูล

Page 5
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

การวัดตาแหน่งของข้อมูล
การวัดตาแหน่งของข้อมูล
เป็นการหาคะแนนเมื่อแบ่งข้อมูลออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน
1. การหาเปอร์เซ็นไทล์ คือ การหาค่าที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 100 ส่วนเท่าๆ กัน
2. การหาเดไซล์ คือ การหาค่าที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 10 ส่วนเท่าๆ กัน
3. การหาควอไทล์ คือ การหาค่าที่แบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กัน

การหาค่าควอไทล์ เดไซล์ และเปอร์เซ็นไทล์


กรณีข้อมูลไม่แจกแจงความถี่
1. น้าข้อมูลมาเรียงจากน้อยไปหามาก
2. หาต้าแหน่งของค่าที่เราต้องการ
r ( N  1)
ต้าแหน่งของ Qr คือ
4
r ( N  1)
ต้าแหน่งของ Dr คือ
10
r ( N  1)
ต้าแหน่งของ Pr คือ
100

ตัวอย่าง 1. ข้อมูล 10, 13, 17, 25, 25, 27, 30, 35, 39 จงหา Q1 ,D5, P75

Page 6
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

เมื่อข้อมูลแจกแจงความถี่ของแต่ละค่า
เช่น
x 5 7 10 14 15
F 1 3 5 4 2

จงหา Q1, D7, P30


เขียนในรูปไม่แจกแจงความถี่ได้ดังนี้ 5 7 7 7 10 10 10 10 10 14 14 14 14 14 15 15

กรณีข้อมูลแจกแจงความถี่เป็นกลุ่มคะแนน
1. เริ่มด้วยการหาต้าแหน่ง
rN
ต้าแหน่ง Qr คือ
4
rN
ต้าแหน่ง Dr คือ
10
rN
ต้าแหน่ง Pr คือ
100

2. น้าค่าที่ได้ไปเทียบกับตารางความถี่สะสม
 rN 
3. ใช้สูตร Qr
 4   fL 
= L + I  fm 
 
 
 rN 
Dr =
 10  fL 
L + I  fm 
 
 
 rN 
Pr =

 100  fL 
L + I  fm 
 
 
L - แทนขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่ Qr , Dr , Pr อยู่

Page 7
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

I - แทนความกว้างของอันตรภาคชั้นที่ Qr , Dr , Pr อยู่
 f L - ผลรวมของความถี่ของทุกชั้นที่มีคะแนนต่้ากว่าอันตรภาคชั้นที่ Qr , Dr , Pr อยู่
f m - ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่ Qr , Dr , Pr อยู่

ตัวอย่าง 1 คะแนนการสอบของนักเรียน 30 คน จงหา P40, D8, Q2

คะแนน 10-14 15-19 20-24 25-29 30-34


ความถี่ 3 7 10 8 2

Page 8
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่าง 2 ในการสอบของนักเรียน 120 คน

คะแนน 30-39 40-49 50-59 60-69 70-79 80-89 90-99


ความถี่ 1 4 10 22 45 30 8

จงหา 1. คะแนนต่้าสุดของกลุ่มนักเรียนที่ได้คะแนนสูงสุด ซึ่งคิดเป็น 20 % ของทั้งหมด

2. คะแนนสูงสุดของกลุ่มที่ได้คะแนนต่้าสุด ซึ่งคิดเป็น 15 % ของทั้งหมด

3. นักเรียนที่ได้คะแนน 75 คะแนน คิดเป็นเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าใด

Page 9
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แบบฝึ กหัด
1
1. จงหา Q1, D5, P60 จากข้อมูลต่อไปนี้

x 1 3 5 7 9 11 13 15
f 1 2 3 4 5 6 7 8

2. การสอบคณิตศาสตร์ของนักเรียน 80 คน

คะแนน 90-99 80-89 70-79 60-69 50-59


ความถี่ 2 5 7 6 2

จงหา 1.จ้านวนเปอร์เซ็นต์ของนักเรียนที่สอบได้คะแนน ตั้งแต่ 70 - 89


2. คะแนน 75 ตรงกับเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าใด
3. Q2 ตรงกับคะแนนใด

Page 10
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

3. ข้อมูลต่อไปนี้เป็นคะแนนการสอบวิชาสถิติของนักเรียน 2 ห้อง ๆ ละ 50 คน

ความถี่ นาย ก อยู่ห้อง 1 ได้คะแนนเท่ากับ P75


คะแนน
ห้อง 1 ห้อง 2 นาย ข อยู่ห้อง 2 ได้คะแนนเท่ากับ D8
30-39 2 3 1. จงหาคะแนนเฉลี่ยของทั้ง 2 คน
40-49 5 4 2. ถ้ารวมนักเรียนทั้ง 2 ห้องเป็นห้องเดียว
50-59 11 13 จงหาคะแนนของคนที่สอบได้เท่ากับ Q1
60-69 15 12
70-79 8 10
80-89 6 5
90-99 3 3

4. ตารางต่อไปนี้เป็นอายุของคนสองกลุ่ม ๆ ละ 50 คน โดยแยกตามเพศ

ความถี่
อายุ สมชายกับสมศรีมีอายุ 25 ปีเท่ากัน จงหาว่า
เพศชาย เพศหญิง
36-38 3 1 1. อายุสมชายอยู่ในต้าแหน่งเปอร์เซนไทล์เท่าใด
33-35 6 3
ของกลุ่มชาย
30-32 8 4
2. อายุสมศรีอยู่ในต้าแหน่งเปอร์เซนไทล์เท่าใด
27-29 12 15
ของกลุ่มหญิง
24-26 15 12
3. ถ้ารวม 2 กลุ่มเป็นกลุ่มเดียวกัน อายุของ
21-23 4 10
ทั้ง 2 คนอยู่ในต้าแหน่งเปอร์เซนไทล์ที่เท่าใด
18-20 2 5

Page 11
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

5. ผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ประจ้าภาคปลาย ปรากฏว่า โรงเรียน ก และโรงเรียน ข มีจ้านวนนักเรียน


ที่ได้ระดับคะแนน A มีอยู่ 10 % , B มีอยู่ 20 % C มีอยู่ 45 %, D มีอยู่ 20 % และ F มีอยู่ 5 % เท่ากัน
โดยที่โรงเรียน ข มีจ้านวนนักเรียนได้คะแนนในช่วงต่าง ๆ ดังตาราง

ช่วงคะแนน น้อยกว่า30 30-49 50-69 70-89 ตั้งแต่ 90 ขึ้นไป


จ้านวนนักเรียน 2 25 40 20 10

ถ้าสมชายอยู่โรงเรียน ก และ สมชัยอยู่โรงเรียน ข ได้คะแนน 65 คะแนนเท่ากัน โดยที่คะแนนของ


สมชายอยู่ในต้าแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 73 แล้ว จงหาระดับคะแนนของสมชายและสมชัย (B,C)

6. ข้อมูลน้้าหนัก (กก.) ของนักเรียน 9 คนเป็นดังนี้40 45 46 46 50 51 49 52 42ให้หาค่ามัธยฐาน ควอร์ไทล์ที่ 3


เดไซล์ที่ 7 และเปอร์เซ็นไทล์ที่ 14 ของข้อมูลชุดดังกล่าว

Page 12
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

7. ส่วนสูงของนักเรียนกลุ่มหนึ่งเป็นดังนี้

ก. จงหาควอร์ไทล์ที่ 1เดไซล์ที่ 6 และเปอร์เซ็นไทล์ที่ 65 ของข้อมูลชุดดังกล่าว

ข. สมชายและสมหญิงเป็นนักเรียนในกลุ่มนี้ โดยสมชายมีส่วนสูงอยู่ในต้าแหน่งควอร์ไทล์ที่ 3 และสมหญิงมีส่วนสูง


อยู่ในต้าแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 45 ดังนั้นสมชายสูงกว่าสมหญิงอยู่เท่าใด

Page 13
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

การวัดการกระจายของข้อมูล
ลักษณะที่ส้าคัญอย่างหนึ่งของข้อมูลใดๆก็คือ ค่าจากการสังเกตทั้งหลายในข้อมูลนั้นมักจะไม่เท่า-กัน
หมดทุกค่า ดังนั้นถ้าจะถามว่า จะรู้ได้อย่างไร หรือ มีวิธีการอย่างไรจึงจะท้าให้เราทราบว่า ค่าจากการสังเกตใน
ข้อมูลชุดหนึ่งมีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด ค่าเหล่านี้เกาะกลุ่มกันอยู่หรือว่ามีความแตกต่างกันมาก สิ่ง
เหล่านี้จะมีเครื่องมืออะไรช่วยในการวัด ค่ากลางของข้อมูลที่เราได้ศึกษามาแล้วเพียงอย่างเดียวคงไม่เพียงพอจะ
หาค้าตอบเหล่านี้ได้ เช่น พิจารณาข้อมูล 2 ชุด คือ
ชุดที่ 1 40, 42, 43, 44, 46 จะได้ X  43
ชุดที่ 2 11, 41, 49, 56, 58 จะได้ X  43

พิจารณาจากข้อมูลทั้งสองชุดพบว่า X เท่ากันจะได้ข้อสังเกตว่า
1. ชุดที่ 1 ค่าต่้าสุดคือ 40 ค่าสูงสุดคือ 46 ชุดที่ 2 ค่าต่้าสุดคือ 11 ค่าสูงสุดคือ 58
2. ข้อมูลชุดที่ 1 ค่าของข้อมูลใกล้เคียงกันกล่าวคือคะแนนเกาะกลุ่มกันไม่แตกต่างกันมากไม่มีค่าที่สูงหรือ
ต่้าเกินไป ถ้าเป็นคะแนนสอบของนักเรียนแสดงว่านักเรียนกลุ่มนี้มีความสามารถใกล้เคียงกัน
3. ข้อมูลชุดที่ 2 ค่าของข้อมูลห่างกันมาก กล่าวคือ คะแนนกระจายมาก ค่าสูงสุดและค่าต่้าสุดของข้อมูล
แตกต่างกันมาก ถ้าเป็นคะแนนสอบของนักเรียนแสดงว่านักเรียนทั้งหมดมีความ
สามารถแตกต่างกันคือ เก่งมากและอ่อนมาก
4. X ของข้อมูลทั้งสองชุดเท่ากันไม่เป็นสิ่งยืนยันได้ว่าข้อมูลทั้งสองชุดมีลักษณะหรือข้อสรุปเหมือนกัน
จากข้อสังเกตข้างต้นจะเห็นว่าการวิเคราะห์ข้อมูลเท่าที่ได้ศึกษามาแล้ว ยังไม่ท้าให้การแจกแจง
ข้อมูลชัดเจนพอ ควรได้พิจารณาลักษณะการกระจายของข้อมูลประกอบด้วย

การวัดการกระจายของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 วิธีคือ
1.3.1 การวัดการกระจายสัมบูรณ์ (absolute variable )
เป็นการวัดการกระจายของข้อมูลเพียงชุดเดียวเพื่อให้ทราบว่าข้อมูลนั้นแต่ละค่าแตกต่างกันเพียงใด
ผลที่ได้จากการวัดการกระจายนี้ไม่น้าไปเกี่ยวข้องหรือเปรียบเทียบกับข้อมูลชุดอื่นมีการวัด 4 แบบ
1. พิสัย (range) ได้แก่การวัดการกระจายของข้อมูลที่ใช้ผลต่างระหว่างค่าสูงสุดกับค่าต่้าสุดของข้อมูล
- ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ ( ungrouped data )

พิสยั = X max  X min ค่าต่้าสุดของข้อมูล

ค่าสูงสุดของข้อมูล
ตัวอย่างที่ 1 จากข้อมูลต่อไปนี้จงหาพิสัย
ก. 11,14,14,16,19,21,24,20,26,42 พิสัย = 42 – 11= 31
ข. 20,25,100,80,10,5,30,15, พิสัย = 100 - 5 = 95

Page 14
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

- ข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว ( grouped data )

พิสยั = ขอบบนของอันตรภาคชันสู
้ งสุด - ขอบล่างของอันตรภาคชัน้
ต่าสุด

ตัวอย่างที่ 2 จงหาพิสัยของน้้าหนักของนิสิตชายในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งจ้านวน 100 คน


วิธีท้า ขอบล่างของอันตรภาคชั้นต่้าสุดคือ 59.5
น ้าหนัก(กก.) จานวนนิสติ
ขอบบนของอันตรภาคชั้นสูงสุดคือ 74.5
พิสัย = 74.5 - 59.5 60-62 5
= 15 กิโลกรัม 63-65 18
66-68 42
69-71 27
72-74 8

ข้ อสังเกตเกี่ยวกับพิสัย
1. คานวณง่ายและรวดเร็ วเหมาะสาหรับข้ อมูลที่มีคา่ ใกล้ เคียงกัน
2. ข้ อมูลที่มีบางค่าต่าหรื อสูงเกินไปไม่เหมาะที่จะใช้ พิสยั
3. ข้ อมูลแจกแจงความถี่ชนิดปลายเปิ ดใช้ พิสยั ไม่ได้
4. จากข้ อมูลทังหมดน
้ ามาใช้ คานวณเพียง 2 ค่าเท่านันพิ ้ สยั ที่ได้ จึงเป็ นค่าที่
ค่อนข้ างหยาบ ไม่เหมาะสมที่จะนาไปใช้ ในคณิตศาสตร์ ชนสู ั้ ง

Page 15
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

2. ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (quartile deviation) “Q.D.”


ได้แก่การวัดการกระจายของข้อมูลที่ใช้ค่าครึ่งหนึ่งของผลต่างระหว่างค่า ณ ต้าแหน่งควอไทล์ที่ 3
กับควอไทล์ที่ 1
Q Q
Q . D.  3 1 (สูตรนี้ใช้ได้ทั้งข้อมูลที่ไม่แจกแจงและแจกแจงความถี่)
2

ตัวอย่างที่ 1 ก้าหนดข้อมูลดังนี้ 10,9,12,14,11,8,15,20,18,100 จงหาค่าของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์


วิธีท้า

ตัวอย่างที่ 2 ข้อมูลต่อไปนี้เป็นคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ม.6 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งจงหา


คะแนน จานวนนักเรี ยน ความถี่สะสม
1-19 4
20-39 10
40-69 50
70-84 25
85-100 11

ก. พิสัย
วืธีท้า พิสัย =
=

Page 16
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ข. ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
วิธีท้า

ข้ อสังเกตเกี่ยวกับ Q.D.
1. ค่า Q.D. วัดการกระจายของข้ อมูลได้ ดีกว่าพิสยั
2. ข้ อมูลที่มีบางค่าสูงหรื อต่าเกินไปไม่กระทบกระเทือนในการหา Q.D.
3. ข้ อมูลชนิดปลายเปิ ดหา Q.D.ได้
4. ข้ อมูลที่มีขนาดอันตรภาคชันไม่้ เท่ากันหา Q.D. ได้
5. เนื่องจาก Q.D. ไม่ได้ นาข้ อมูลทุกตัวมาทาการวิเคราะห์จึงไม่นิยมใช้ ในสถิติชนสู
ั้ ง

Page 17
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (mean deviation ) “M.D.”

ได้แก่การวัดการกระจายของข้อมูลที่ใช้ค่าเฉลี่ยของค่าสัมบูรณ์ของผลต่างระหว่างแต่ละค่าของข้อมูลกับ
ค่ากลางของข้อมูลนั้นซึ่งนิยมใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ซึ่งผลต่างระหว่างค่าของข้อมูลกับค่ากลางของข้อมูลเรียกว่า
“ค่าเบี่ยงเบน”(Deviation)

-ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ (ungrouped data)

1 n
M . D.   X i  X ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
n i 1

จ้านวนข้อมูล ข้อมูลแต่ละตัว

ตัวอย่างที่ 1 ก้าหนดข้อมูล 2 ชุดดังนี้ ชุด A คือ 2, 4, 14, 15, 20, 53, 71, 101
ชุด B คือ 2, 20, 20, 22, 35, 40, 40,101 จงหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลแต่ละชุด

2  4  14  15  20  53  71  101
วิธีท้า ชุด A: n =8 จะได้ X   35
8

1 n
จากสูตร M .D.   Xi  X
n i 1
2  35  4  35  14  35  15  35  20  35  53  35  71  35  101  35

8
240
  30
8

ชุด B :

Page 18
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่าง 2 ข้อมูล 25, 28, 32, 34, 41 จงหา ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

ตัวอย่าง 3 ข้อมูล 1.8, 5.2, 7.1, 7.1 จงหา ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

ข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว (grouped data )

1 k
M . D.   f i X i  X
n i 1
จุดกึ่งกลางชั้น

ตัวอย่างที่ 2 จงหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของน้้าหนักต่อ 1 คน ของข้อมูลตามตารางแจกแจงความถี่


น ้าหนัก(กก.) fi
30-39 4
40-49 3
50-59 5
60-69 7
70-79 4
80-89 2
N=

Page 19
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่าง การหา M.D.

คะแนน ความถี่ X d fd xx f xx

10-14 3
15-19 5
20-24 8
25-29 4

สูตรลัด

M .D.  i
 f (d  d
N

ข้ อสังเกตเกี่ยวกับ M.D.
1. การวัดการกระจายของข้ อมูล M.D. มีคณ ุ สมบัติดีกว่า Q.D.และพิสยั
2. ข้ อมูลชนิดปลายเปิ ดหา M.D. ไม่ได้
3. M.D.= 0 ก็ตอ่ เมื่อสมาชิกทุกตัวในข้ อมูลเท่ากัน
4. ถ้ านาจานวนจริ งไปบวกกับทุกค่าในข้ อมูลแล้ ว M.D. ใหม่จะเท่ากับ M.D. เดิม
5 ถ้ านาจานวนจริ ง a ไปคูณกับทุกค่าในข้ อมูลแล้ ว M.D. ใหม่จะเท่ากับ a คูณM.D.
เดิม
6 M.D. มีคา่ สัมบูรณ์มาเกี่ยวข้ องซึง่ เป็ นเรื่ องยุง่ ยาก จึงไม่นิยมใช้

Page 20
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation ) “SD”

เป็นการแก้ไขข้อบกพร่องของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย โดยน้า ( x  x ) แต่ละค่ามายกก้าลัง 2


แทนการใช้ค่าสัมบูรณ์ แล้วน้ามาถอดรากที่ 2
-ถ้าเป็นข้อมูลที่ได้จากประชากร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเขียนแทนด้วย “  ” (อ่านว่าsigma)
-ถ้าเป็นข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเขียนแทนด้วย“S.D.” หรือ “S”
ได้แก่การวัดการกระจายของข้อมูลโดยใช้ค่าซึ่งเป็นรากที่สองของส่วนเฉลี่ยของก้าลังสองของ
ส่วนเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยเลขคณิต เป็นวิธีการที่จัดว่าให้ผลสมบูรณ์ที่สุดสามารถน้าไปใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลสถิติในขั้นสูงต่อไปได้

- ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ ( ungrouped data )

n N
 x i  x   x i   
2 2
i 1
S.D.  i 1 
n 1 N

หรือ หรือ

n N
2
 x i 2  nx  xi2
S.D.  i 1
 1
 2
n 1 N

ตัวอย่างที่ 1 แดงมีอายุ 6 ปี นิดกับหน่อยเป็นคู่แฝดต่างมีอายุ 3 ปี บิดามีอายุ 35 ปี มารดามีอายุ 28 ปี


จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุคนในครอบครัวนี้
วิธีท้า หา X  6  3  3  35  28
5
75

5
 15

Page 21
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่าง 2 จากข้อมูล 1, 3, 5, 7, 9 จงหา เบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตัวอย่าง 3 จากข้อมูล 101, 103, 105, 107, 109 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ข้อมูลที่แจกแจงความถี่
n N
 fi x i  x   fi x i   
2 2
i 1 i 1
S.D.  
n 1 N

หรือ หรือ
n N
 f i x i  nx
2 2  fi x i 2
S.D.  i 1  i 1
 2
n 1 N

2
 fd 2   fd 
วิธีลัด s i  
N  N 

Page 22
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่างที่ 1 จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้เป็นการสอบวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชั้น ม . 1


จ้านวน 40 คน ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน
วิธีท้า
คะแนน fi xi xi
2
f i xi
2 xi  x 2 f i  xi  x 
2

21-30 1
31-40 4
41-50 15
51-60 12
61-70 6
71-80 2
N=

ตัวอย่าง 2 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากตาราง
คะแนน ความถี่ X d fd
10-14 3
15-19 5
20-24 2

Page 23
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

สมบัติบางประการของ “S.D.”
1. S . D.  0 เสมอ
2. S.D.= 0 เมื่อข้อมูลทุกตัวเท่ากันหมด
3. การหา S.D. โดยใช้ค่ากลางตัวอื่นๆ ที่ไม่ใช่ X จะมีค่ามากกว่าที่ใช้ X
4. ถ้าน้าค่าคงตัว a ไปบวกหรือไปลบออกแต่ละค่าของข้อมูล ค่า S.D. ของข้อมูลชุดใหม่และ
ข้อมูลชุดเดิมจะเท่ากัน
5. ถ้าน้าค่าคงตัว a ไปคูณทุกค่าของข้อมูล S.D. ของข้อมูลชุดใหม่จะเท่ากับ a คูณกับ S.D.ของข้อมูลชุดเดิม
6. ให้ X แทนค่าของข้อมูลชุดเดิม , Y แทนค่าของข้อมูลชุดใหม่โดยที่ Y = aX+b เมื่อ a และ b
เป็นค่าคงตัว ถ้า S . D. X และS . D.Y เป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดเดิมและชุดใหม่แล้ว
S . D. Y  a S . D. X

คุณสมบัติส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

1. มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0 เสมอ
2. ถ้าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0 แสดงว่าข้อมูลชุดนั้นเท่ากันทุกตัว
3. การเพิ่มหรือลดค่าของข้อมูลแต่ละตัว ไม่ท้าให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปลี่ยนแปลง
4. ถ้าคูณข้อมูลแต่ละตัวด้วยค่าคงที่แล้ว ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจะเพิ่มตาม

Page 24
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ความแปรปรวน (variance ) “V”


ความแปรปรวนของข้อมูลได้แก่ ค่าก้าลังสองของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

V  2 หรือ S.D.  2 หรือS 2

- ข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ (ungrouped data )


N n n
 x i  x 
2 2
 xi2  x i 2  nx
1 N
V   X i   2 หรือV  i1   2 V  i1 หรือV  i1
N i1 N n 1 n 1

- ข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว (grouped data)


N N n n
 fi x i     fi x i  x 
2 2 2
 fi x i 2  fi x i 2  nx
V  i1 หรือ V  i1  2 V  i1 หรือ V  i1
N N n 1 n 1

การหาความแปรปรวนรวม
1. กรณี x ไม่เท่ากัน
จากข้อมูล 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2
N1 = 30 N2 = 25
x1  60 x2  45
s1 = 5 s2 = 3
 x2   x 2
s 
2
 
N  N 

สิ่งที่เราต้องหา คือ x ที่ได้จากข้อมูลทั้ง 2 กลุ่มรวมกัน


 x2 ที่ได้จากข้อมูล 2 กลุ่มรวมกัน
N ที่ได้จากข้อมูล 2 กลุ่มรวมกัน
n1 x1  n2 x 2
x รวม =
n1  n2
ต้องการ  x2 ต้องน้าของกลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 มารวมกัน

Page 25
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

โดยใช้สูตร s2 
x 2

 (x ) 2
N

กลุ่ม 1  x2 = 30(52+ 602) = 108,150


กลุ่ม 2  x2 = 25(32+ 452) = 50,850

2. กรณีที่ x เท่ากัน
n s  n2 s 2
2 2

s  1 1
2

n1  n2

ตัวอย่างที่ 1 จงหาความแปรปรวนของน้้าหนักของนักเรียน 10 คน ซึ่งมีน้าหนักเป็นกิโลกรัม


ดังนี้ 44,40,45,42,39,44,42,45,49,50
วิธีท้า
44  40  45  42  39  44  42  45  49  50
X
10
 44

ตัวอย่างที่ 2 ในการสอบสัมภาษณ์ของพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง จ้านวน 3 คน ปรากฎว่า


ค่าเฉลี่ยเลขคณิต, มัธยฐานและพิสัยของคะแนนสัมภาษณ์มีค่าเท่ากับ 63,60และ31 ตามล้าดับ
ความแปรปรวนของคะแนนในการสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด
วิธีท้า

Page 26
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลชุดหนึ่งเป็นข้อมูลจากประชากรมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 42 และมัธยฐานเท่ากับ 40 กมล


ต้องการค้านวณหาความแปรปรวนของข้อมูลแต่ไปน้ามัธยฐานค้านวณแทนค่าเฉลี่ยเลข-คณิตผลปรากฎว่าความ
แปรปรวนที่ค้านวณได้เท่ากับ 36 จงหาความแปรปรวนที่ถูกต้องของข้อมูล.
วิธีท้า V=ความแปรปรวนที่ค้านวณได้โดยใช้มัธยฐานซึ่งเท่ากับ 36
V1 คือความแปรปรวนที่ถูกต้องดังนั้น
N

 X  Med 
2
i
V  i 1

N
N

 X  40 
2
i
36  i 1

N
N

 X  42 
2
i
V1  i 1

N
N 2

  X i  40   2
 i 1

  X 
N
 40   4 X i  40   4
2
i
 i 1

N
N N N N

  X i  40 4 X i 160 4
2

 i 1
 i 1
 i 1
 i 1

N N N N
 36  442   160  4
 32

Page 27
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ความแปรปรวนรวม (combined variance ) “ Vc ”

n 1  1V1  n 2  1V2  n1  1X c  X1 2  n 2  1X c  X 2 2


vc 
n 1  1  n 2  1

ถ้า
n1  n2
V  V2   X 1  X c    X 2  X c 
2 2

Vc  1
2

ถ้า
X1  X 2
n 1  1V1  n 2  1V2
Vc 
n 1  1  n 2  1
ถ้า
n 1  n 2 และX 1  X 2
V1  V2
Vc 
2
ตัวอย่างที่ 4 นาย ก. นาย ข.และนาย ค.มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุเท่ากับ 18 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
อายุเท่ากับ 0 ถ้านาย ง. น้าอายุของเขามาค้านวณด้วย ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของทั้งสี่คนจะเท่ากับ 20 ปี
จงหาพิสัยของอายุของคนทั้งสี่คนนี้
วิธีท้า

ตัวอย่างที่ 5 จากการสอบวิชาสถิติของนักเรียนห้องหนึ่ง พบว่า X  45และS. D.  2.5


ถ้าครูต้องการให้น้า 2 ไปคูณคะแนนทุกคนแล้วบวกด้วย 5 จงหา
ก. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดใหม่
ข. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดใหม่

Page 28
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ค. ถ้า เดชา ค้านวณผิดโดยการน้า 5 ไปคูณกับคะแนนทุกคนแล้วบวกด้วย 2 จงหาว่า XและS.D.


ที่เดชา ค้านวณไว้จะต่างไปจากความเป็นจริงเท่าไร
วิธีท้า ให้ X แทนคะแนนเดิมของนักเรียนแต่ละคน
Y แทนคะแนนใหม่ของนักเรียนแต่ละคน = 2X + 5
X แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนเดิม = 45
Y แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนใหม่
S . D. X แทนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนเดิม = 2.5
S . D.Y แทนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนใหม่

ก.

ข.

ค.

Page 29
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

การวัดการกระจายสัมพัทธ์ (relative variation )


การวัดการกระจายสัมบูรณ์ที่กล่าวมาแล้วค่าที่ได้บอกแต่เพียงให้ทราบว่าข้อมูลที่น้ามาวัด การกระจายมีการ
กระจายของข้อมูลมากน้อยเพียงใดเพียงข้อมูลเดียว ไม่ได้น้าไปเปรียบเทียบ การกระจายของข้อมูลอื่น ในการ
เปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไปเพื่อดูว่าข้อมูลชุดใดมีการกระจายมากหรือน้อยกว่ากัน การเปรียบเทียบการ
กระจายของข้อมูลให้ได้ผลหรือถูกต้องใกล้เคียงที่สุด เราจะใช้การวัดการกระจายที่เรียกว่า การวัดการกระจาย
สัมพัทธ์ ซึ่งได้แก่ อัตราส่วนระหว่างการวัดการกระจายสัมบูรณ์กับค่ากลางของข้อมูลชุดนั้นๆ ข้อมูลใดมีค่า
อัตราส่วนมากกว่า ข้อมูลนั้นจะมีการกระจายมากกว่า ซึ่งจะหาเป็นร้อยละก็ได้โดยเอา 100 ไปคูณอัตราส่วนนั้นๆ
อัตราส่วนเหล่านี้เรียกว่า สัมประสิทธิ์การกระจาย ( coefficient of dispersion ) ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 4 ชนิดคือ
1. สัมประสิทธิ์ของพิสัย ( coefficient of range )
X max  X min
X max  X min

2. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ( coefficent of quartile deviasion )


Q 3  Q1
Q 3  Q1

3. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (coefficient of quartile deviasion )


M . D.
X

4. สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน ( coefficient of variation ) “ C.V.”

S . D.
X

*** การเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป เพื่อดูว่าชุดใดมีประสิทธิภาพดีกว่ากัน ให้พิจารณา


ค่ากลางเลขคณิตดังนี้
1. ถ้าข้อมูล 2 ชุดมีค่ากลางเท่ากัน ข้อมูลที่มีการกระจายน้อยจะมีประสิทธิภาพดีกว่า
2. ถ้าข้อมูล 2 ชุดมีค่ากลางไม่เท่ากัน ข้อมูลที่มีการกระจายสัมพัทธ์น้อย
จะมีประสิทธิภาพดีกว่า
3. ถ้าข้อมูล 2 ชุดมี s เท่ากัน ให้พิจารณา x
x กลุ่มใดมากกว่า กลุ่มนั้นจะมีประสิทธิภาพดีกว่า

Page 30
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ตัวอย่างที่ 1 ราคาข้าวเปลือกและราคาข้าวสารต่อถังของร้านค้าข้าวสาร 6 ร้านในท้องที่สัมพันธวงศ์


เป็นดังนี้
ราคาข้ าวเปลือก(บาท) 22 23 23 24 25 21
ราคาข้ าวสาร(บาท) 95 98 100 96 97 90

จงเปรียบเทียบการกระจายของราคาข้าวเปลือกและราคาข้าวสารของร้านค้า 6 ร้าน โดยใช้


ก. สัมประสิทธิ์ของพิสัย ข. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
ค. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ง. สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน
25  21 4
วิธีท้า ก. ส.ป.ส.ของพิสัยของราคาข้าวเปลือก    0.09
25  21 46
100  90 10
ส.ป.ส.ของพิสัยของราคาข้าวสาร    0.05
100  90 190
แสดงว่าราคาข้าวเปลือกมีการกระจายมากกว่าราคาข้าวสาร (0.09 > 0.05 )

วิธีท้า ข. วิธีท้า ค.

วิธีท้า ง.

ข้อสังเกตเกี่ยวกับการวัดการกระจายสัมพัทธ์
- เพราะสัมประสิทธิ์ของการกระจายอยู่ในรูปอัตราส่วนจึงไม่มีหน่วย
- สัมประสิทธิ์ของการกระจายเขียนได้ทั้งในรูปอัตราส่วนและรูปร้อยละ
- สัมประสิทธิ์ของการกระจายที่นิยมใช้เปรียบเทียบการกระจายของข้อ-มูลคือ
S . D. S . D.
สัมประสิทธิ์ขอความแปรผัน หรือ 100
X X
ดังนั้นถ้าโจทย์ไม่กาหนดให้เปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลด้วยวิธีใด
ต้องใช้สัมประสิทธิ์ของความแปรผันเสมอ

Page 31
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แบบฝึกหัดการวัดการกระจายข้อมูล
==================================================================
1. ข้อมูล a, b, c, d หาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้ k จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล
1-3a, 1-3b, 1-3c, 1-3d

2. คะแนนเฉลี่ยของนักเรียน 2 คนคือ 70 พิสัยคือ 40 แล้ว ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย คือ.....................

3. ด้า แดง ขาว ชั่งน้้าหนักแล้วค้านวณค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้ 50 กก. และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0


ถ้าน้าน้้าหนักสุทธิดามาค้านวณด้วย ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคนทั้ง 4 เป็น 45 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คนทั้ง 4 คือ .....................

4. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุนักเรียน 10 คนเป็น 0 ถ้าน้าอายุของแต่ละคนมา ยกก้าลังสองแล้ว


บวกกันจะได้ 1,000 จงหาว่าเด็กกลุ่มนี้อายุคนละเท่าใด.........................

Page 32
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

5. นักเรียนหญิงกลุ่มหนึ่งจ้านวน 30 คน อายุเฉลี่ย 15 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 1.2 ปี และนักเรียน


ชาย อีกกลุ่มจ้านวน 25 คน อายุเฉลี่ย 15 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.9 ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม
ของนักเรียนทั้ง 2 กลุ่มคือ ....................

6. ค่าอาหารกลางวันเด็ก 2 กลุ่ม โดยเฉลี่ย 5 และ 6 บาท จ้านวนนักเรียนเป็น 10 และ 20 ตามล้าดับ


ถ้าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 1 และ 1.2 บาท แล้วค่ากลางเลขคณิตคือ....... และความแปรปรวน คือ.....

7. เด็ก 10 คน อายุเท่ากันหมดคือ คนละ a ปี ผู้ใหญ่ 5 คนอายุเท่ากันหมดคือ b ปี แล้วค่ากลางเลขคณิต


คือ....... และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคนทั้ง 2 กลุ่ม คือ...........

Page 33
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

8. ข้อมูลชุดหนึ่งมีเลข 1 จ้านวน P% นอกนั้นเป็นเลข 0 ถ้าข้อมูลทั้งหมดมี N ตัว แล้วค่าของส่วน


เบี่ยงเบนมาตรฐานคือ ....................

9. ห้องเรียนห้องหนึ่งมีนักเรียนหญิง 11 คน นักเรียนชาย 25 คน ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุนักเรียน


ทั้ง 2 กลุ่มเท่ากันคือ 17 ปี แต่ความแปรปรวนอายุนักเรียนชายเป็น 4 ความแปรปรวนอายุนักเรียน
หญิงเป็น 1 แล้วความแปรปรวนอายุนักเรียนทั้งห้อง คือ ..................

10. ข้อมูล 3 ชุดเป็นดังนี้


x s n
ชุด 1 คือ 5 2 10
ชุด 2 คือ 6 3 25
ชุด 3 คือ 4 2 30
จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม

Page 34
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

11. อายุนักเรียน 2 กลุ่มเป็นดังนี้ จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม

N x
2
x
s
กลุ่มที่1 10 1808 13.4 1.1
กลุ่มที่2 5 249 7 0.9

12. จากข้อมูล 50 รายการ ค้านวณค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้ 10 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้ 4 ภายหลัง


พบว่าอ่านข้อมูลผิดไป 2 รายการ คือคะแนน 2 และ 3 อ่านผิดเป็น 20 และ 30 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ที่ถูกต้อง

Page 35
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

13. ในการค้านวณส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผู้ค้านวณใช้มัธยฐานแทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตค้านวณได้ 6


ถ้ามัธยฐานเป็น 40 และค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 42 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ถูกต้อง

14. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล x1, x2, x3, x4, x5 มีค่าเท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล x1, x2,


x3, x4 ถ้า P และ q เป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลทั้ง 2 ชุด แล้ว P/q มีค่าเท่าใด

15. ถ้าความแปรปรวนของข้อมูล 1, 2, 3, 4,... มีค่าเป็น 30 จงหาว่าจ้านวนที่เขียนเรียงกันทั้งหมด มีกี่จ้านวน

Page 36
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

16. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 3 จ้านวน มีความแปรปรวนเป็น 6/5 ข้อมูลชุดที่ 2 มี 4 จ้านวน ความแปรปรวนเป็น


1/2 ถ้าข้อมูลทั้ง 2 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากันแล้ว ความแปรปรวนเป็นเท่าใด

17. ครอบครัวหนึ่งพ่อมีอายุ 45 ปี แม่อายุ 40 ปี ลูก 3 คนมีอายุ 18, 14 และ12 ปี เมื่อหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต


และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุคนในครอบครัวนี้จะได้ 25.8 ปีและ 13.86 ปีตามล้าดับ อีก 3 ปีข้างหน้า
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นเท่าใด

18. การสอบคณิตศาสตร์ครั้งหนึ่ง ปรากฎว่า นาย ก ได้ต้าแหน่ง P25 และนาย ข ได้ต้าแหน่ง P75


ถ้าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 24 และ ส.ป.ส.ของส่วนเบี่ยงเบน ควอไทล์เท่ากับ 0.20 แล้ว
จงหาคะแนนของคนทั้งสอง

Page 37
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

19. วัดเส้นผ่าศูนย์กลางของแผ่นโลหะรูปวงกลม 8 แผ่น ค้านวณผลรวมของความยาว เท่ากับ 10 ซม.


ผลรวมก้าลังสองของความยาว = 12.62 ซม2 ผลรวมของก้าลังสามของความยาวเท่ากับ 16.072 ซม2
และผลรวมก้าลังสี่ของความยาวเท่ากับ 20.0438 ซม2 ตามล้าดับ ความแปรปรวนของเส้นผ่าศูนย์กลาง
เป็นเท่าใด ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของรัศมีเป็นกี่เซนติเมตร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพื้นที่วงกลมเท่ากับ
กี่ตารางเซนติเมตร

20. จากการส้ารวจยางรถยนต์ ปรากฎว่าอายุการใช้งานเป็นดังนี้


ชนิดที่ 1. x = 23 เดือน s = 8.8 N = 5
ชนิดที่ 2. x = 37.6 เดือน s = 10.8 N = 6
จงพิจารณาว่ายางชนิดใดมีคุณภาพดีกว่ากัน

Page 38
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

21. การส้ารวจรายได้ต่อวันของเด็ก 2 กลุ่ม เป็นดังนี้กลุ่มที่ 1 จ้านวน 10 คน และกลุ่มที่ 2 จ้านวน 15 คน


ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของทั้ง 2 กลุ่ม เท่ากับ 20 บาท ถ้า ส.ป.ส. ความแปรผันของรายได้เป็น 0.2 และ 0.1
แล้วความแปรปรวนของรายได้เด็ก 2 กลุ่มเป็นเท่าใด

22. ดวงใจและสมศรีช่วยกันท้าตุ๊กตาขาย ดวงใจท้าตอนเย็นเมื่อกลับจากโรงเรียน จากวันจันทร์ถึงวันศุกร์


สมศรีท้าวันเสาร์กับวันอาทิตย์ ดวงใจท้าได้เฉลี่ยวันละ 2 ตัว ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.4 ตัว สมศรีท้าได้
เฉลี่ยวันละ 6 ตัว ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1 ตัว ดังนั้นจ้านวนตุ๊กตาที่ดวงใจและสมศรีช่วยกันท้าจะมีจ้านวน
เฉลี่ยต่อวัน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นเท่าใด

Page 39
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

23. ผลการสอบของนักเรียน 4 ห้องเป็นดังนี้


x s
ห้อง ก 60 5
ห้อง ข 60 7
ห้อง ค 70 6
ห้อง ง 70 5
ถ้าท่านมีโอกาสได้เลือกห้องสอน ท่านจะเลือกสอนห้องใด

Page 40
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

สรุปความสัมพันธ์ระหว่างค่ากลางชนิดต่างๆจากเส้นโค้งการแจกแจงความถี่ของข้อมูล
เส้นโค้งของความถี่ของข้อมูลที่มีการแจกแจงของความถี่มี 3 ลักษณะคือ

1 เส้นโค้งปกติหรือรูประฆัง (normal or bell-sharped curve )

ค่าต่า ค่าสูง

X
Med
Mo

จากรูป ค่าของ X , Med , M o จะอยู่ที่จุดเดียวกัน คือจุดที่มีความถี่มากที่สุดคือ X  Med  M o


เมื่อยึด X เป็นแกนกลาง ทั้งสองข้างจะอยู่ในรูปสมมาตร

2 เส้นโค้งเบ้ทางขวา ( positively skewed curve )


โค้งเบ้ทางขวา

ค่าต่้า ค่าสูง

M o Med X

ตามลักษณะความโค้งแสดงว่าข้อมูลค่าต่้ามีจ้านวนมาก (ความถี่สูง) ข้อมูลค่าสูงมีจ้านวนน้อย


(ความถี่ต่้า) ดังนั้นข้อมูลประเภทนี้ X มีค่ามากที่สุดและ M o มีค่าน้อยที่สุด ( M o  Med  X )
ถ้าเปรียบเทียบกับการเรียนของนักเรียนในห้องเรียนหนึ่ง กล่าวได้ว่านักเรียนในห้องนี้มีคนเรียนเก่ง
น้อยกว่าคนเรียนอ่อน

Page 41
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

1.4.3 โค้งเบ้ทางซ้าย (negatively skewed curve )

โค้งเบ้ทางซ้าย

ค่าต่้า ค่าสูง

X Med M o
ลักษณะความโค้งแสดงว่าข้อมูลค่าสูงมีมาก (ความถี่สูง) และข้อมูลค่าต่้ามีน้อย (ความถี่ต่้า )
ดังนั้นข้อมูลนี้ X จะมีค่าน้อยที่สุดและ M o จะมีค่าสูงที่สุด  X  Med  M o 
ซึ่งเปรียบเทียบกับการเรียนของนักเรียนห้องหนึ่งกล่าวได้ว่านักเรียนในห้องนี้คนเรียนเก่งมีมาก
คนเรียนอ่อนมีน้อย

สรุป
1. เส้นโค้งปกติ x = Med = M0
2. เส้นโค้งเบ้ขวา M0 < Med < x
3. เส้นโค้งเบ้ซ้าย x < Med < M0

Page 42
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

แบบฝึกหัดทบทวน
1. ครูให้น้าหนักการสอบวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์เป็น 2, 5 และ 4 ตามล้าดับ
สมใจสอบทั้งสามวิชาได้คะแนน 72, 83 และ 94 คะแนนตามล้าดับ จงหาคะแนนเฉลี่ยของสมใจ
ก. 85
ข. 84
ค. 83
ง. 82

2. ถ้าอายุเฉลี่ยของคน 100 คน เท่ากับ 9.45 ปี อายุเฉลี่ยของ 25 คนแรกเท่ากับ 8.25 ปี และ อายุเฉลี่ยของ


65 คนต่อมาเท่ากับ 10.7 ปี จงหาอายุเฉลี่ยของคนที่เหลือ
ก. 6.75
ข. 5.75
ค. 5.25
ง. 4.35

3. จากการสอบวิชาสถิติของนักเรียนห้องหนึ่งซึ่งมี 40 คน พบว่า มีนักเรียนขาดสอบ 1 คน ผลการสอบของ


นักเรียน 39 คนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 65 คะแนน ต่อมาภายหลังนักเรียนที่ขาดสอบมาสอบเพิ่มเติม ท้าให้มี
คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 65.2 คะแนน จงหาคนที่ขาดสอบ สอบได้กี่คะแนน
ก. 75
ข. 73
ค. 71
ง. 70

จากข้อในตารางต่อไปนี้ใช้ตอบค้าถามข้อ 4-6
คะแนน จ้านวน
1–5 3
6 – 10 4
11 –15 8
16 - 20 3
21 - 25 2

Page 43
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

4. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ก. 12.25
ข. 12.50
ค. 12.75
ง. 13.0

5. จงหาค่ามัธยฐาน
ก. 12.125
ข. ข. 12.250
ค. ค. 12.375
ง. ง. 12.425

6. จงหาค่าฐานนิยม
ก. 12.15
ข. ข. 12.20
ค. ค. 12.22
ง. ง. 12.38

จากข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบค้าถามข้อ 7 – 9
100 90 45 85 60 30 10 15 22

7. จงหา Q1
ก. 2.5
ข. 18.5
ค. 19.5
ง. 20.5

8. จงหา D7
ก. 60
ข. 75
ค. 85
ง. 90

Page 44
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

9. จงหา P56
ก. 54
ข. 55
ค. 56
ง. 57

จากข้อมูลในตารางต่อไปนี้ ใช้ตอบปัญหาข้อ 10 – 11 คะแนน จ้านวน


10. จงหา Q 3 10 2
ก. 16 12 4
13 7
ข. 15.75
15 5
ค. 15.5
16 2
ง. 15

11. จงหา D3
ก. 6.3
ข. 12
ค. 12.3
ง. 13

จากข้อมูลในตารางต่อไปนี้ ใช้ตอบปัญหาข้อ 12 – 14 คะแนน จ้านวน


1–5 3
12. จงหา Q3 6 – 10 4
ก. 14 11 –15 8
ข. 14.5 16 - 20 3
ค. 15 21 - 25 2
ง. 15.5

13. จงหา D3
ก. 9.0
ข. 9.25
ค. 9.5
ง. 9.75

Page 45
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

14. จงหา P80


ก. 16.17
ข. 16.67
ค. 17.17
ง. 17.67

15. จากข้อมูลต่อไปนี้ 1 5 3 4 2 จงหาส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย


ก. 1.2
ข. 1.3
ค. 1.4
ง. 1.5

16. จากข้อมูลในข้อ 9 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ก. 1.2
ข. 1.3
ค. 1.4
ง. 1.5

17.จากข้อมูลในตารางต่อไปนี้ จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนน จ้านวน


ก. 4.4 1–5 2
ข. 4.5 6 – 10 4
ค. 4.6 11 –15 3
ง. 4.7 16 - 20 1

18. ถ้าสัมประสิทธิของพิสัยของข้อมูลชุดหนึ่งเท่ากับ 0.8 และ มีพิสัยเท่ากับ 16 จงหาข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุด


ก. 5
ข. 4
ค. 3
ง. 2

Page 46
วิชาคณิตศาสตร์ (ค30206/ ค33292) เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น โรงเรียนสตรีนนทบุรี
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

1
19. ถ้าสัมประสิทธิของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ของข้อมูลชุดหนึ่งเท่ากับ และ ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์มีค่า
2
เท่ากับ10 จงหาควอร์ไทล์ที่ 3
ก. 15
ข. 20
ค. 25
ง. 30

20. จากข้อมูลต่อไปนี้ห้องใดมีความสามารถแตกต่างกันมากที่สุด
ก. ห้อง 1 ห้ อง 1 2 3
ข. ห้อง 2 x 20 40 30
S 2 5 4
ค. ห้อง 3
ง. เท่ากัน

Page 47

You might also like