You are on page 1of 88

แคลคูลสั

6 Sep 2019
สารบัญ

ลิมิตของฟังก์ชนั ....................................................................................................................................................................... 1
ลิมิตทางซ้าย – ลิมิตทางขวา ................................................................................................................................................... 6
การหาลิมติ จากกราฟ ............................................................................................................................................................ 12
ความต่อเนื่องของฟั งก์ชนั ..................................................................................................................................................... 14
อัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ .................................................................................................................................................. 21
อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ ............................................................................................................................................ 22
อนุพนั ธ์ของฟั งก์ชนั ............................................................................................................................................................... 24
กฎลูกโซ่ ................................................................................................................................................................................. 30
อนุพนั ธ์ของฟั งก์ชนั แฝง......................................................................................................................................................... 33
อนุพนั ธ์อนั ดับสูง ................................................................................................................................................................... 35
ระยะทาง ความเร็ว ความเร่ง ................................................................................................................................................ 38
กฎของโลปิ ตาล ..................................................................................................................................................................... 40
ความชันเส้นโค้ง .................................................................................................................................................................... 42
ฟั งก์ชนั เพิ่ม – ฟั งก์ชนั ลด....................................................................................................................................................... 46
ค่าสูงสุด ต่าสุด ...................................................................................................................................................................... 48
ปฏิยานุพนั ธ์........................................................................................................................................................................... 56
อินทิกรัลจากัดเขต ................................................................................................................................................................. 63
พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง .................................................................................................................................................... 73
พืน้ ที่ระหว่างเส้นโค้ง.............................................................................................................................................................. 79
แคลคูลสั 1

ลิมิตของฟังก์ชนั

lim 𝑓(𝑥) อ่านว่า “ลิมต


ิ ของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 เข้าใกล้ 𝑎” หมายถึง ค่าประมาณของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 ประมาณ 𝑎
xa

เช่น ถ้า 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 5 จะเห็นว่า เมื่อ 𝑥 ประมาณ 4 จะได้ 𝑓(𝑥) ประมาณ (2 × 4) + 5 = 13


ดังนัน้ lim 2𝑥 + 5 = 13
x4

“ลิมิตของฟังก์ชนั ” จะใช้สญ ั ลักษณ์คล้ายๆกับ “ลิมิตของลาดับ” ต่างกันที่ในเรือ่ งนีจ้ ะใช้ 𝑥 → 𝑎 แทนที่จะเป็ น 𝑛→∞


และในเรือ่ งนี ้ 𝑥 จะเป็ นจานวนจริงอะไรก็ได้ ไม่ตอ้ งเป็ นจานวนเต็มบวกเหมือน 𝑛 ในเรือ่ งลาดับอนันต์
จะเห็นว่าวิธีหา lim 𝑓(𝑥) แบบง่ายๆก็คือ ให้แทน 𝑥 = 𝑎 ลงไปนั่นเอง ค่าของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 = 𝑎
xa

เช่น lim 2𝑥 − 7 = (2 × 1) − 7 = −5 แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑓(𝑎)


x 1
lim 𝑥 2 − 2𝑥 + 3 = (−3)2 − 2(−3) + 3 = 9 + 6 + 3 = 18
x  3
1 7
lim 2𝑥 + 3 = 2−1 + 3 = +3 =
x  1 2 2

เวลาทีเ่ ราหา lim 𝑓(𝑥) เราจะลองแทน 𝑥 = 𝑎 ก่อนเป็ นอันดับแรกดังตัวอย่างข้างบน


xa

แต่ก็อาจจะมีบางกรณี ที่เราไม่สามารถคานวณ 𝑓(𝑎) ได้ ซึง่ ได้แก่กรณีที่เกิดการหารด้วยศูนย์ขนึ ้


ในกรณีนี ้ จะมีวิธีตอบค่าลิมติ ดังต่อไปนี ้
 ถ้าตัวตัง้ ไม่เป็ นศูนย์ แต่ตวั หารเป็ นศูนย์ ตอบได้ทน
ั ทีวา่ lim 𝑓(𝑥) หาค่าไม่ได้
xa
2 𝑥
เช่น lim
𝑥
= หาค่าไม่ได้ lim = หาค่าไม่ได้
x0 x  1 1+𝑥
𝑥+2 𝑥−1
lim = หาค่าไม่ได้ lim 2 = หาค่าไม่ได้
x  1 𝑥−1 x  2 𝑥 −𝑥−2

 ถ้าตัวตัง้ เป็ นศูนย์ แต่ตวั หารไม่เป็ นศูนย์ ตอบได้ทนั ทีวา่ lim 𝑓(𝑥) = 0
xa
𝑥−1 0
เช่น lim
𝑥 2 +2𝑥+2 = =0
5
x 1

 ถ้าตัวตัง้ เป็ นศูนย์ แล้วตัวหารก็เป็ นศูนย์ดว้ ย ต้องเปลีย่ นรูป 𝑓(𝑥) ใหม่กอ่ น


เป้าหมายของการเปลีย่ นรูป 𝑓(𝑥) คือ เพื่อให้เกิดการตัดกันของ 𝑥 − 𝑎 จากนัน้ ค่อยลองแทน 𝑎 ลงไปใหม่
การเปลีย่ นรูป 𝑓(𝑥) จะใช้การแยกตัวประกอบ หรือไม่ก็ใช้คอนจูเกตคูณ
คอนจูเกต หรือ สังยุค หมายถึง เทอมที่ตวั หน้ากับตัวหลัง
เหมือนเดิม แต่เปลี่ยนเครือ่ งหมายตรงกลางเป็ นตรงข้าม
เช่น คอนจูเกตของ √𝑥 + 2 คือ √𝑥 − 2
คอนจูเกตของ √5 − √𝑥 คือ √5 + √𝑥
เวลาเอาคอนจูเกตเข้าไปคูณ จะทาให้เข้าสูตร
(น + ล)(น − ล) = น2 − ล2 ได้เสมอ
2 แคลคูลสั

𝑥 2 −3𝑥+2
ตัวอย่าง จงหาค่าของ lim 2
x  2 2𝑥 +𝑥−10
22 −3×2+2 4−6+2 0
วิธีทา ก่อนอื่นลองแทน 2 ลงไปดูก่อน จะได้ 2×22 +2−10
= 8+2−10
= 0
𝑥 2 −3𝑥+2
แปลว่าต้องเปลีย่ นรูป 2𝑥 2 +𝑥−10
ใหม่ ให้เกิดการตัดกันของ 𝑥−2 ก่อน แล้วค่อยลองแทน 2 ลงไปใหม่
𝑥 2 −3𝑥+2 (𝑥−2)(𝑥−1) 𝑥−1
จะเห็นว่าเราสามารถแยกตัวประกอบ เพื่อให้ 𝑥 − 2 โผล่มาตัดกันได้ 2𝑥 2 +𝑥−10
= (𝑥−2)(2𝑥+5)
=
2𝑥+5
2−1 1
พอ 𝑥 − 2 ตัดกันแล้ว แทน 2 ดูใหม่ จะได้ 2×2+5 =9
𝑥 2 −3𝑥+2 1
ดังนัน้ lim 2 =9 #
x  2 2𝑥 +𝑥−10

3−𝑥
ตัวอย่าง จงหาค่าของ lim 𝑥 3 −27
x3
0
วิธีทา ถ้าลองแทน 3 ลงไป จะได้ ดังนัน้ ต้องเปลีย่ นรูปใหม่ ให้เกิดการตัดกันของ 𝑥 − 3 ก่อน
0
ตัวเศษ จัดรูป 3 − 𝑥 ใหม่ ได้เป็ น – (𝑥 − 3)
ตัวส่วน ใช้สตู รแยกตัวประกอบ 𝑥 3 − 27 เป็ น (𝑥 − 3)(𝑥 2 + 3𝑥 + 9)
ดังนัน้ 𝑥3−𝑥 −(𝑥−3) −1
3 −27 = (𝑥−3)(𝑥 2 +3𝑥+9) = 𝑥 2 +3𝑥+9 น2 − ล2 = (น + ล)(น − ล)
−1 1
น3 − ล3 = (น − ล)(น2 + นล + ล2 )
แทนค่า 3 ดูใหม่ จะได้ 9+9+9
= −
27
น3 + ล3 = (น + ล)(น2 − นล + ล2 )
ดังนัน้ lim 𝑥3−𝑥
3 −27 =
1
− 27 #
x3

𝑥 2 −5𝑥+4
ตัวอย่าง จงหาค่าของ lim
x  1 √𝑥−1
0
วิธีทา ถ้าลองแทน 1 ลงไป จะได้ 0
แปลว่าต้องเปลีย่ นรูปใหม่ ให้เกิดการตัดกันของ 𝑥 −1 ก่อน

ใช้วิธีแยกตัวประกอบก็ ตัวนีไ้ ม่ตอ้ งกระจายเข้าไป เพราะ


ต้องคูณทัง้ เศษและส่วน
จะมี 𝑥 −1 โผล่ออกมา เดี๋ยวก็เอา 1 ไปแทน 𝑥 แล้ว
เพื่อให้คา่ เหมือนเดิม

𝑥 2 −5𝑥+4 (𝑥−1)(𝑥−4) √𝑥+1 (𝑥−1)(𝑥−4)(√𝑥+1) (𝑥−1)(𝑥−4)(√𝑥+1)


= ∙ = 2 = = (𝑥 − 4)(√𝑥 + 1)
√𝑥−1 √𝑥−1 √𝑥+1 (√𝑥) −12 𝑥−1

ตัวนีแ้ ยกตัวประกอบไม่ได้ เข้าสูตร น2 − ล2 𝑥 − 1 โผล่แล้ว


ส่วนใหญ่พวกติดรูท มัก
ต้องใช้คอนจูเกทคูณ

หลังจากตัด 𝑥 − 1 ได้แล้ว จึงลองแทน 𝑥 = 1 ดูใหม่ จะได้ (1 − 4)(√1 + 1) = −3 × 2 = −6


𝑥 2 −5𝑥+4
ดังนัน้ lim = −6 #
x  1 √𝑥−1
แคลคูลสั 3

√𝑥+2−1
ตัวอย่าง จงหาค่าของ lim
x  1 √𝑥+5−2
0
วิธีทา ถ้าลองแทน ลงไป จะได้ แปลว่าต้องเปลีย่ นรูปใหม่ ให้เกิดการตัดกันของ 𝑥 − (−1) หรือ
−1 0
𝑥+1 ก่อน
ข้อนี ้ ติดรูททัง้ ตัวเศษและตัวส่วน ต้องเอาคอนจูเกตของทัง้ ตัวเศษและตัวส่วนมาคูณ
2
√𝑥+2−1 √𝑥+2−1 √𝑥+2+1 √𝑥+5+2 (√𝑥+2 −12 )(√𝑥+5+2) (𝑥+2−1)(√𝑥+5+2) (𝑥+1)(√𝑥+5+2)
= ∙ ∙ = 2 = (𝑥+5−4)( = (𝑥+1)(
√𝑥+5−2 √𝑥+5−2 √𝑥+2+1 √𝑥+5+2 (√𝑥+5 −22 )(√𝑥+2+1) √𝑥+2+1) √𝑥+2+1)
√𝑥+5+2
=
√𝑥+2+1

2+2 4
แทน −1 ดูใหม่ จะได้ √−1+5+2
√−1+2+1
= 1+1 = 2 = 2
√𝑥+2−1
ดังนัน้ lim =2 #
x  1 √𝑥+5−2

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าลิมติ ในแต่ละข้อต่อไปนี ้
𝑥 2 −𝑥
1. lim 2𝑥 2 − 𝑥 2. lim
x2 x  1 𝑥−1

𝑥+1 𝑥+1
3. lim 2 4. lim 2
x  0 𝑥 −𝑥 x  1 𝑥 −1

𝑥 2 −3𝑥+2 𝑥 2 +3𝑥−4
5. lim 2 6. lim
x  2 𝑥 −4𝑥+4 x 1 1−𝑥
4 แคลคูลสั

𝑥 2 −√𝑥
7. lim
x  1 √𝑥−1

1 1
2. lim (
1−𝑥
− 2−3𝑥+𝑥2 ) มีคา่ เท่าใด [A-NET 50/2-5]
x 1

𝑥
3. จงหาค่าของ lim 3 3
x  0 √𝑥+8+ √𝑥−8
[PAT 1 (ธ.ค. 54)/40]
แคลคูลสั 5

(cot3 𝑥−1) cosec2 𝑥


4. จงหาค่าของ lim 1+cos 2𝑥−2 sin2 𝑥
[PAT 1 (มี.ค. 55)/40]
x
4

|5𝑥+1|−|5𝑥−1|
5. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก สอดคล้องกับ lim
x 0 √𝑥+𝑎−√𝑎
= 80

ค่าของ 𝑎2 + 𝑎 + 58 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 58)/17]


6 แคลคูลสั

ลิมิตทางซ้าย – ลิมิตทางขวา

จากหัวข้อที่แล้ว lim 𝑓(𝑥) หมายถึง ค่าประมาณของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 ประมาณ 𝑎


xa

คาว่า “𝑥 ประมาณ 𝑎” จะเหมารวมทัง้ กรณี “𝑥 น้อยกว่า 𝑎 นิดๆ” และกรณี “𝑥 มากกว่า 𝑎 นิดๆ”


ที่ผา่ นมา เราไม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งนี ้ เพราะ ไม่วา่ 𝑥 น้อยกว่า 𝑎 นิดๆ หรือ 𝑥 มากกว่า 𝑎 นิดๆ ก็ใช้ 𝑓(𝑥) สูตรเดียวกัน

แต่เราจะมีปัญหา ถ้า 𝑓(𝑥) เกิดมีหลายสูตร และกรณี 𝑥 น้อยกว่า 𝑎 นิดๆ ดันใช้คนละสูตรกับกรณี 𝑥 มากกว่า 𝑎 นิดๆ
ในกรณีนี ้ เราต้องหาค่าประมาณของ 𝑓(𝑥) ออกมา “ทัง้ สองกรณี” แล้วมาเทียบกัน ถ้าเท่ากันถึงจะเอาไปตอบได้

เราจะมีสญ
ั ลักษณ์ใหม่ คือ 𝑥 → 𝑎− กับ 𝑥 → 𝑎+ ดังนี ้
 lim 𝑓(𝑥) อ่านว่า “ลิมิตของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 เข้าใกล้ 𝑎 ทางด้านซ้าย”
x  a

หมายถึง ค่าประมาณของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 น้อยกว่า 𝑎 นิดๆ


 lim 𝑓(𝑥) อ่านว่า “ลิมิตของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 เข้าใกล้ 𝑎 ทางด้านขวา”
x  a

หมายถึง ค่าประมาณของ 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 มากกว่า 𝑎 นิดๆ

ในกรณีที่ 𝑥 → 𝑎− กับ 𝑥 → 𝑎+ อยูใ่ นโดเมนของ 𝑓 ถ้าตัวใดตัวหนึง่ ในสองตัวนีห้ าค่าไม่ได้ หรือ ทัง้ สองตัวหาได้ไม่
เท่ากัน เราจะกล่าวว่า lim 𝑓(𝑥) หาค่าไม่ได้ แต่ถา้ สองตัวนีห้ าค่าได้ และได้คา่ เท่ากัน จึงจะนาไปเป็ นคาตอบได้
xa

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = {𝑥 + 2เมื่อ 𝑥 ≥ 1 จงหา lim 𝑓(𝑥)


𝑥2 เมื่อ 𝑥 < 1 x 1

วิธีทา จะเห็นว่า 𝑓(𝑥) ใช้คนละสูตรกัน ในกรณี 𝑥 → 1− กับกรณี 𝑥 → 1+ ดังนัน้ ต้องแยกหาลิมิตซ้ายขวา


lim 𝑓(𝑥) = lim 𝑥 2 = 12 = 1
x  1 x  1
lim 𝑓(𝑥) = lim 𝑥 + 2 = 1 + 2 = 3
x  1 x  1

จะเห็นว่าลิมิตทัง้ สองข้างไม่เท่ากัน ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) หาค่าไม่ได้ #


x 1

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = {𝑥 + 2เมื่อ 𝑥 ≥ −1 จงหา lim 𝑓(𝑥)


𝑥2 เมื่อ 𝑥 < −1 x  1

วิธีทา จะเห็นว่า 𝑓(𝑥) ใช้คนละสูตรกัน ในกรณี 𝑥 → −1− กับกรณี 𝑥 → −1+ ดังนัน้ ต้องแยกหาลิมิตซ้ายขวา
lim 𝑓(𝑥) = (−1)2 = 1
x  1
lim 𝑓(𝑥) = (−1) + 2 = 1
x  1

ลิมิตทัง้ สองข้างเท่ากัน ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 1 #


x  1

หมายเหตุ: เราจะแยกหาลิมติ ซ้ายขวา เฉพาะเมื่อ 𝑓(𝑥) มีหลายสูตร และใช้คนละสูตรกันเมื่อ 𝑥 น้อยกว่า 𝑎 นิดๆกับเมื่อ


𝑥 มากกว่า 𝑎 นิดๆ แต่ถา้ 𝑓(𝑥) ไม่มีการแบ่งกรณีเป็ นหลายๆสูตร ก็แทน 𝑎 ลงไปใน 𝑥 เหมือนหัวข้อที่แล้วได้เลย
แคลคูลสั 7

𝑥2 + 1 เมื่อ 𝑥 ≥ −1
ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = { 𝑥+2 จงหา lim 𝑓(𝑥)
𝑥+1
เมื่อ 𝑥 < −1 x  1

วิธีทา จะเห็นว่า 𝑓(𝑥) ใช้คนละสูตรกัน ในกรณี 𝑥 → −1− กับกรณี 𝑥 → −1+ ดังนัน้ ต้องแยกหาลิมิตซ้ายขวา
−1+2 1
lim 𝑓(𝑥) = −1+1 = 0 = หาค่าไม่ได้
x  1

ถ้าลิมิตทางซ้ายหาค่าไม่ได้ ก็ไม่ตอ้ งหาลิมติ ทางขวาต่อแล้ว


ตอบได้ทนั ทีวา่ lim 𝑓(𝑥) หาค่าไม่ได้ #
x  1

ตัวอย่าง กาหนดให้
2
𝑓(𝑥) = {𝑥 + 2𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ 0 จงหา lim 𝑓(𝑥)
𝑥2 เมื่อ 𝑥 < 0 x  1

วิธีทา ข้อนีจ้ ะเห็นว่า 𝑓(𝑥) มีสองสูตรก็จริง แต่ 𝑥 → −1− กับ 𝑥 → −1+ ใช้สตู รเดียวกัน คือ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2
ดังนัน้ ข้อนีไ้ ม่ตอ้ งแยกหาลิมิตซ้ายขวา แต่แทน 𝑥 = −1 ใน 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 ได้เลย
นั่นคือ lim 𝑓(𝑥) = (−1)2 = 1 #
x  1

𝑥 2 +2𝑥
เมื่อ 𝑥 ≥ 0
ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = { 𝑥2 จงหา lim 𝑓(𝑥)
x0
เมื่อ 𝑥 < 0
𝑥 2

วิธีทา จะเห็นว่า 𝑓(𝑥) ใช้คนละสูตรกัน ในกรณี 𝑥 → 0− กับกรณี 𝑥 → 0+ ดังนัน้ ต้องแยกหาลิมิตซ้ายขวา


lim 𝑓(𝑥) = 02 = 0
x  0
𝑥(𝑥+2) 𝑥+2 2
lim 𝑓(𝑥) = lim = lim = = หาค่าไม่ได้
𝑥2 𝑥 0
x  0 x  0 x  0

ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = หาค่าไม่ได้ #


x0

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = |𝑥|


𝑥
จงหา lim 𝑓(𝑥)
x0

วิธีทา ข้อนี ้ 𝑓(𝑥) มีสตู รเดียวก็จริง แต่ถา้ พิจารณาดีๆจะพบว่า จริงๆแล้วเครือ่ งหมายค่าสัมบูรณ์ ประกอบด้วยสองสูตร
คือ |𝑥| = { 𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ 0
−𝑥 เมื่อ 𝑥 < 0
𝑥
เมื่อ 𝑥 ≥ 0
ดังนัน้ เขียน 𝑓(𝑥) ได้ใหม่เป็ น 𝑓(𝑥) = {−𝑥 𝑥

𝑥
เมื่อ 𝑥 < 0
จะเห็นว่า 𝑓(𝑥) ใช้คนละสูตรกัน ในกรณี 𝑥 → 0− กับกรณี 𝑥 → 0+ ดังนัน้ ต้องแยกหาลิมิตซ้ายขวา
−𝑥
lim 𝑓(𝑥) = lim 𝑥
= lim −1 = −1
x  0 x  0 x  0
𝑥
lim 𝑓(𝑥) = lim 𝑥 = lim 1 = 1
x  0 x  0 x  0

จะเห็นว่าลิมิตทัง้ สองข้างไม่เท่ากัน ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) หาค่าไม่ได้ #


x0
8 แคลคูลสั

|𝑥−1|
ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) =
𝑥
จงหา lim 𝑓(𝑥)
x 1

วิธีทา จากสูตรของค่าสัมบูรณ์ จะได้ |𝑥 − 1| = {


𝑥−1 เมื่อ 𝑥 − 1 ≥ 0
−(𝑥 − 1) เมื่อ 𝑥 − 1 < 0
𝑥−1
เมื่อ 𝑥 ≥ 1
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = 𝑥
{−(𝑥−1)
𝑥
เมื่อ 𝑥 < 1
จะเห็นว่า 𝑓(𝑥) ใช้คนละสูตรกัน ในกรณี 𝑥 → 1− กับกรณี 𝑥 → 1+ ดังนัน้ ต้องแยกหาลิมิตซ้ายขวา
−(1−1)
lim 𝑓(𝑥) = 1
=0
x  1
1−1
lim 𝑓(𝑥) = 1
=0
x  1

ลิมิตทัง้ สองข้างเท่ากัน ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 0 #


x 1

√𝑥 2 −1
ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 +𝑥
จงหา lim 𝑓(𝑥)
x  1

วิธีทา ข้อนี ้ 𝑓(𝑥) มีสตู รเดียวก็จริง แต่ถา้ พิจารณาดีๆจะพบว่า √𝑥 2 = |𝑥|


𝑥−1
เมื อ
่ เมื่อ 𝑥 ≥ 0
|𝑥| = { 𝑥 𝑥 ≥ 0 |𝑥|−1
เนื่องจาก ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = 𝑥2+𝑥 = {−𝑥−1𝑥 2 +𝑥
−𝑥 เมื่อ 𝑥 < 0 𝑥 2 +𝑥
เมื่อ 𝑥 < 0
ข้อนีถ้ าม 𝑥 → −1 แต่จะเห็นว่า กรณี 𝑥 → −1 กับ 𝑥 → −1 ก็เข้ากรณี 𝑥 < 0 ใช้สตู รล่าง เหมือนกัน
− +

ดังนัน้ ข้อนีใ้ ช้ 𝑓(𝑥) = −𝑥−1


𝑥 2 +𝑥
มาคิดลิมติ 𝑥 → −1 ได้เลย ไม่ตอ้ งแยกหาลิมิตซ้ายขวา
จะเห็นว่า แทนแล้วได้ 00 ต้องจัดรูปให้ 𝑥 − (−1) มาตัดกันก่อน จะได้ −𝑥−1 𝑥 2 +𝑥
−(𝑥+1) 1
= 𝑥(𝑥+1) = − 𝑥
1
แทน 𝑥 = −1 จะได้ lim 𝑓(𝑥) = − −1 = 1 #
x  1

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่า lim 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑓(𝑥) = {2𝑥 + 1 เมื่อ 𝑥 ≥ 1
x 1 4𝑥 − 1 เมื่อ 𝑥 < 1

2. จงหาค่า lim 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑓(𝑥) = { 2 − 𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ 0


x0 3𝑥 + 1 เมื่อ 𝑥 < 0
แคลคูลสั 9

3. จงหาค่า lim 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑓(𝑥) = {𝑥 + 2 เมื่อ 𝑥 ≥ 3


x  1 𝑥−1 เมื่อ 𝑥 < 3

𝑥 2 −3𝑥+2
เมื่อ 𝑥 ≥ 2
4. จงหาค่า lim 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑓(𝑥) = { 2−𝑥
x2
2𝑥 − 3 เมื่อ 𝑥 < 2

𝑥 2 −16
เมื่อ 𝑥 ≥ 4
5. จงหาค่า lim 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑓(𝑥) = { √𝑥−2
x4
7𝑥 + 4 เมื่อ 𝑥 < 4

|𝑥−1|
6. จงหาค่า lim 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑓(𝑥) =
𝑥 2 −1
x 1

|𝑥−2|
7. จงหาค่า lim 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑓(𝑥) =
𝑥 2 −3𝑥+2
x  2
10 แคลคูลสั

8. จงหาค่า lim 𝑓(1 + 𝑥) เมื่อ 𝑓(𝑥) = { 𝑥


2
เมื่อ 𝑥 ≥ 1
x0 
2𝑥 + 1 เมื่อ 𝑥 < 1

1 2𝑥 3
9. ค่าของ lim (1 − 𝑥 2 +1
) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 58)/13]
x 1  √1−𝑥

√𝑥 3 +𝑥 2 +𝑥
10. ค่าของ lim 𝑥2
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/18]
x 0 

|1+𝑥−2𝑥 2 |
11. ค่าของ lim  √𝑥+3−2
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/21]
x 1
แคลคูลสั 11

|𝑥 2 −𝑥−2|
12. ค่าของ lim 3 2
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 59)/42]
x 2  2− √𝑥 +4

𝑥2 เมื่อ 𝑥 < 0
13. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = {2𝑥 − 1 เมื่อ 0 ≤ 𝑥 < 1
3𝑥 เมื่อ 𝑥 > 1
ค่าของ lim 𝑓(𝑥 + lim 𝑓(1 − 𝑥) เท่ากับเท่าใด [A-NET 49/1-17]
2)
x  0 x  0
12 แคลคูลสั

การหาลิมติ จากกราฟ

หัวข้อที่ผา่ นมา เป็ นการหาลิมิตจากสมการฟั งก์ชนั


ในหัวข้อนี ้ เราจะฝึ กการอ่านกราฟ โดยใช้หลักง่ายๆก็คือ ให้อา่ นค่า 𝑓(𝑥) จากค่า 𝑦
ปกติ เรามักต้องอ่านกราฟเพื่อหาค่า 4 ค่า ดังต่อไปนี ้
𝑓(𝑎) , lim 𝑓(𝑥) , lim 𝑓(𝑥) , lim 𝑓(𝑥)
x  a x  a xa

ค่า 𝑦 ตรงที่ ค่า 𝑦 ตรงแถวๆที่ 𝑥 ค่า 𝑦 ตรงแถวๆที่ 𝑥 จะมีคา่ เมื่อลิมิตซ้าย


𝑥=𝑎 น้อยกว่า 𝑎 นิดๆ มากกว่า 𝑎 นิดๆ ขวามีคา่ เท่ากัน

เช่น Y ตรงที่ 𝑥 = 1 จะเห็นว่า 𝑦 = 4 ดังนัน้ 𝑓(1) = 4


เมื่อ 𝑥 < 1 นิดๆ จะเห็นว่า 𝑦 ก็ประมาณ 4 ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 4
4 x  1

เมื่อ 𝑥 > 1 นิดๆ จะเห็นว่า 𝑦 ก็ประมาณ 4 ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 4


x  1

1
X เนื่องจากลิมติ ซ้ายขวาเท่ากัน ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 4
x 1

Y
ตรงที่ 𝑥 = 1 จะเห็นว่า 𝑦 = 2 ดังนัน้ 𝑓(1) = 2
เมื่อ 𝑥 < 1 นิดๆ จะเห็นว่ากราฟพุง่ ขึน้ อย่างไม่มีขอบเขต จึงหาค่า 𝑦 ไม่ได้
ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = หาค่าไม่ได้
2 x  1

เมื่อ 𝑥 > 1 นิดๆ จะเห็นว่า 𝑦 ประมาณ 2 ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 2


X x  1
1
เนื่องจากลิมติ ทางซ้ายหาค่าไม่ได้ ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = หาค่าไม่ได้
x 1

Y ตรงที่ 𝑥 = 2 จะเห็นว่ามีจดุ ดาๆอยูต่ รง 𝑦 = 4 ดังนัน้ 𝑓(2) = 4


4 เมื่อ 𝑥 < 2 นิดๆ จะเห็นว่ามีเส้นกราฟอยูท่ ี่ 𝑦 = 1 ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 1
x  2
3
เมื่อ 𝑥 > 2 นิดๆ จะเห็นว่ามีเส้นกราฟอยูท่ ี่ 𝑦 = 3 ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 3
1 x  2
X
2 เนื่องจากลิมติ ซ้ายขวาไม่เท่ากัน ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = หาค่าไม่ได้
x2
แคลคูลสั 13

แบบฝึ กหัด
1. จงเติมคาในช่องว่าง
1. 𝑓(2) =
Y
lim 𝑓(𝑥) =
x  2
1
lim 𝑓(𝑥) =
x  2
X
2 lim 𝑓(𝑥) =
x2

2. Y 𝑓(1) =
lim 𝑓(𝑥) =
4 x  1
lim 𝑓(𝑥) =
x  1
X lim 𝑓(𝑥) =
1 x 1

3. 𝑓(2) =
Y
lim 𝑓(𝑥) =
3 x  2

1 lim 𝑓(𝑥) =
x  2
X
2 lim 𝑓(𝑥) =
x2

4. Y 𝑓(0) =
lim 𝑓(𝑥) =
x  0
1
X lim 𝑓(𝑥) =
x  0
lim 𝑓(𝑥) =
x0
14 แคลคูลสั

ความต่อเนื่องของฟั งก์ชนั

เราจะกล่าวว่า “ฟั งก์ชนั 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 𝑎” เมื่อ 𝑓(𝑎) = lim 𝑓(𝑥)


xa

ถ้าแยกคิดลิมติ ซ้ายขวา lim 𝑓(𝑥) จะมีคา่ เท่ากับ lim 𝑓(𝑥) และ lim 𝑓(𝑥)
xa x  a x  a

ดังนัน้ ฟั งก์ชนั 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 𝑎 เมื่อ lim 𝑓(𝑥) = 𝑓(𝑎) = lim 𝑓(𝑥)
x  a x  a

ค่าของ 𝑓(𝑥) เมื่อ ค่าของ 𝑓(𝑥) ค่าของ 𝑓(𝑥) เมื่อ


𝑥 น้อยกว่า 𝑎 นิดๆ ตรงจุด 𝑥 = 𝑎 𝑥 มากกว่า 𝑎 นิดๆ

ตัวอย่าง กาหนด 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 5 จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 1 หรือไม่


วิธีทา ต้องเช็คว่า 𝑓(1) กับ lim 𝑓(𝑥) เท่ากันหรือไม่
x 1

เนื่องจาก 𝑓(1) = 2 × 1 + 5 = 7 และ lim 𝑓(𝑥) = 2 × 1 + 5 = 7 เท่ากัน


x 1

ดังนัน้ 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 1 #

2
ตัวอย่าง กาหนด 𝑓(𝑥) = 𝑥 𝑥+𝑥 จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 0 หรือไม่
วิธีทา ต้องเช็คว่า 𝑓(0) กับ lim 𝑓(𝑥) เท่ากันหรือไม่
x0
02 +0
จะเห็นว่า 𝑓(0) = 0
= หาค่าไม่ได้ จบเลย ไม่ตอ้ งหา lim 𝑓(𝑥) แล้ว
x0

สรุปได้ทนั ทีวา่ 𝑓(𝑥) ไม่ตอ่ เนื่องที่ 𝑥 = 0 #

𝑥 2 −𝑥−2
เมื่อ 𝑥 > 2
ตัวอย่าง กาหนด 𝑓(𝑥) = { 𝑥−2 จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 2 หรือไม่
2𝑥 − 1 เมื่อ 𝑥 ≤ 2
วิธีทา ต้องเช็คว่า 𝑓(2) กับ lim 𝑓(𝑥) เท่ากันหรือไม่
x2

จะได้ 𝑓(2) = 2 × 2 − 1 = 3 แต่จะหา lim 𝑓(𝑥) ต้องคิดลิมิตซ้ายขวา เพราะ 𝑓(𝑥) ใช้คนละสูตร


x2
lim 𝑓(𝑥) = 2 × 2 − 1 = 3
x  2
22 −2−2 0
lim 𝑓(𝑥) = 2−2
= 0
ดังนัน้ ต้องเปลีย่ นรูปให้ 𝑥 − 2 มาตัดกันก่อน
x  2
𝑥 2 −𝑥−2 (𝑥−2)(𝑥+1)
เนื่องจาก 𝑥−2
= 𝑥−2
=𝑥+1 ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 2 + 1 = 3
x  2

ลิมิตซ้ายขวาเท่ากัน ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥) = 3


x2

จะเห็นว่า 𝑓(2) = lim 𝑓(𝑥) = 3 ดังนัน้ 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 2 #


x2
แคลคูลสั 15

ในกรณีที่โจทย์มาเป็ นรูปกราฟ จะทาแบบเดิมก็ได้ คือเช็คว่า 𝑓(𝑎) = lim 𝑓(𝑥) ไหม


xa

เพียงแต่คราวนีต้ อ้ งหา 𝑓(𝑎) , lim 𝑓(𝑥) , lim 𝑓(𝑥) จากกราฟ


x  a x  a

หรือจะดูวา่ เส้นกราฟขาด หรือไม่ก็ได้ ถ้าเขียนกราฟแล้วต้องยกดินสอตรง 𝑥 = 𝑎 แปลว่าตรง 𝑥 = 𝑎 ไม่ตอ่ เนือ่ ง

ตัวอย่าง กาหนดกราฟของ 𝑓(𝑥) ตามรูป จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 2 หรือไม่

4
2

วิธีทา ต้องเช็คว่า 𝑓(2) กับ lim 𝑓(𝑥) เท่ากันหรือไม่ แต่คราวนีต้ อ้ งหาจากรูปกราฟ


x2

จากกราฟ จะได้ 𝑓(2) = 4 แต่ lim 𝑓(𝑥) = lim 𝑓(𝑥) = 2 ไม่เท่ากัน


x  2 x  2

ดังนัน้ 𝑓(𝑥) ไม่ตอ่ เนื่องที่ 𝑥 = 2 #

ตัวอย่าง กาหนดกราฟของ 𝑓(𝑥) ตามรูป จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 1 หรือไม่

วิธีทา จากกราฟ จะได้ 𝑓(1) = 2


แต่จะเห็นว่า lim 𝑓(𝑥) หาค่าไม่ได้ ดังนัน้ 𝑓(𝑥) ไม่ตอ่ เนื่องที่ 𝑥 = 1 #
x  1

ตัวอย่าง กาหนดกราฟของ 𝑓(𝑥) ตามรูป จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ตรงไหนบ้าง

3 6

วิธีทา ที่ 𝑥 = 0 ต่อเนื่อง เพราะ 𝑓(0) = 3 = lim 𝑓(𝑥) = lim 𝑓(𝑥)


x  0 x  0

ที่ 𝑥 = 3 ไม่ตอ่ เนื่อง เพราะ 𝑓(3) หาค่าไม่ได้


ที่ 𝑥 = 6 ไม่ตอ่ เนื่อง เพราะ 𝑓(6) หาค่าไม่ได้
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องเมื่อ 𝑥 ∈ (−∞, 3) ∪ (3, 6) ∪ (6, ∞) #
16 แคลคูลสั

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥2 + 1 จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องทีค่ า่ 𝑥 ต่อไปนีห้ รือไม่
1. 𝑥 = 0 2. 𝑥 = −1

𝑥 2 +𝑥−2
2. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥−1
จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องทีค่ า่ 𝑥 ต่อไปนีห้ รือไม่
1. 𝑥 = −1 2. 𝑥 = 1

2 เมื่อ 𝑥 ≥ −1
3. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = { 1−𝑥 2 จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องทีค่ า่ 𝑥 ต่อไปนีห้ รือไม่
𝑥+1
เมื่อ 𝑥 < −1
1. 𝑥 = −1 2. 𝑥 = 0

|𝑥|
4. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥
จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่คา่ 𝑥 ต่อไปนีห้ รือไม่
1. 𝑥 = −1 2. 𝑥 = 0

𝑘 เมื่อ 𝑥 = 1
5. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = { 𝑥 2 −𝑥 จงหาค่า 𝑘 ที่ทาให้ 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥=1
𝑥−1
เมื่อ 𝑥 ≠ 1
แคลคูลสั 17

𝑥+𝑎 เมื่อ 𝑥 > 1


6. จงหาค่า 𝑎 และ 𝑏 ที่ทาให้ 𝑓(𝑥) = { 2𝑎 − 1 เมื่อ 𝑥 = 1 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่อง
𝑎𝑥 − 𝑏 เมื่อ 𝑥 < 1

7. ฟั งก์ชนั ในข้อใดบ้างทีต่ อ่ เนื่องที่ 𝑥 = 1


1. 2.

1 1

3. 4.

1 1

𝑥−3
เมื่อ 𝑥 ≠ 3
8. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = {√2𝑥+10−√𝑥+13 โดยที่ 𝑎 เป็ นจานวนจริง
𝑎 เมื่อ 𝑥 = 3

ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องทีจ่ ดุ 𝑥 = 3 แล้ว 𝑎 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/44]
18 แคลคูลสั

2𝑥−8
, 𝑥<4
9. กาหนดให้ โดยที่ 𝑘 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องที่จดุ 𝑥 = 4
2
𝑓(𝑥) = {2𝑥−√4𝑥𝑘𝑥−3𝑥+12
, 𝑥≥4
3
แล้ว 𝑓(𝑘 + 1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/38]

−𝑥 + 𝑎 , 𝑥 ≤ −2
2
10. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั นิยามโดย 𝑓(𝑥) = { − 5 𝑥 + 𝑏 , −2 < 𝑥 < 3
𝑥 2 − 6𝑥 + 11 , 𝑥>3
เมื่อ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้าฟั งก์ชนั 𝑓 มีความต่อเนื่องที่ 𝑥 = −2 และ lim 𝑓(𝑥)
x 3
หาค่าได้
แล้วค่าของ |𝑎 + 5𝑏| เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/17]

11. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริง และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ นิยามโดย
(𝑥 − 1)2 + 1 เมื่อ 𝑥 < 0
𝑓(𝑥) = {𝑥 3 + 𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 0 ≤ 𝑥 ≤ 1
𝑥−𝑏 เมื่อ 𝑥 > 1
ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วง [−2, 2] แล้ว 𝑓 (12) เท่ากับเท่าใด [A-NET 50/1-20]
แคลคูลสั 19

|𝑥 3 −1|
, −1 < 𝑥 < 1
12. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง และให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑥−1
𝑓(𝑥) = {𝑎𝑥 + 𝑏 ,1 ≤ 𝑥 < 5
5 ,𝑥 ≥ 5
ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนช่วง (−1, ∞) แล้วค่าของ 𝑎𝑏 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 53)/19]

𝑥 3 −3𝑥−2
𝑥−2
,𝑥 < 2
13. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ กาหนดโดย 𝑓(𝑥) = { 𝑎−𝑏 ,𝑥 = 2
2
𝑥 + 𝑎𝑥 + 1 , 𝑥 > 2
ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริงแล้ว ค่าของ 𝑎2 + 𝑏2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 53)/37]

𝑥 2 + 𝑎𝑥 + 𝑏 , 𝑥<2
14. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง และให้ 𝑓(𝑥) = { √𝑥 − 1 , 2≤𝑥≤5
𝑎𝑥 + 𝑏 , 𝑥>5
ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง แล้ว 𝑎 − 𝑏 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 57)/17]
20 แคลคูลสั

𝑒 2𝑥 + 2𝑎 , 𝑥<0
15. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั นิยามโดย 𝑓(𝑥) = { 𝑎 + 𝑏 , 𝑥=0 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง
√1+𝑏𝑥+5𝑥 2 −1
𝑥
, 𝑥>0
ถ้าฟั งก์ชนั 𝑓 มีความต่อเนื่องที่ 𝑥 = 0 แล้วค่าของ 15𝑎 + 30𝑏 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 58)/41]

16. กาหนดให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่อง ที่ 𝑥 = 1 และ
ให้ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ที่กาหนดโดย
√𝑥+3−2
√𝑥−1
เมื่อ 𝑥 > 1
𝑔(𝑥) = {
𝑓(𝑥)
|𝑥|+7
เมื่อ 𝑥 ≤ 1
ถ้าฟั งก์ชนั 𝑔 มีความต่อเนื่องที่ 𝑥=1 แล้ว ค่าของ (𝑔 ∘ 𝑓)(1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/18]
แคลคูลสั 21

อัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่

ในเรือ่ งนี ้ เราจะเจอคาว่า “อัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ ของ 𝑓(𝑥) เทียบกับ 𝑥 ในช่วง 𝑥 = 𝑎 ถึง 𝑥 = 𝑏”
ซึง่ จะเป็ นค่าที่บอกว่า 𝑓(𝑥) เปลีย่ นไปขนาดไหน เทียบกับการเปลีย่ นไปของ 𝑥
นั่นคือ เราจะหาอัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ นีไ้ ด้จากสูตร 𝑓(𝑏)−𝑓(𝑎)
𝑏−𝑎
(หรือจากสูตร 𝑓(𝑎)−𝑓(𝑏)
𝑎−𝑏
ก็ได้)

𝑥 𝑓(𝑥)
ห่างกัน 𝑏 − 𝑎 𝑎 𝑓(𝑎) ห่างกัน 𝑓(𝑏) − 𝑓(𝑎)
𝑏 𝑓(𝑏)
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) เปลี่ยนไป 𝑓(𝑏)−𝑓(𝑎)
𝑏−𝑎
เมื่อเทียบกับ 𝑥

ตัวอย่าง จงหาอัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 2 เมื่อ 𝑥 เปลีย่ นจาก 2 เป็ น 5


𝑓(5)−𝑓(2) (52 −2∙5+2)−(22 −2∙2+2) 17−2
วิธีทา อัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ = 5−2
= 5−2
= 3
= 5 #

ตัวอย่าง จงหาอัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ ของพืน้ ที่วงกลม เมื่อรัศมีเปลีย่ นจาก 1 เป็ น 4


วิธีทา ข้อนีต้ อ้ งรูเ้ องว่าสูตรพืน้ ที่วงกลมที่มีรศั มี 𝑟 คือ 𝜋𝑟 2
𝜋42 −𝜋12 16𝜋−𝜋
ดังนัน้ อัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ = 4−1
= 3
= 5𝜋 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาอัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ ของฟั งก์ชนั ต่อไปนี ้
1. 𝑓(𝑥) = 2𝑥 − 3 เมื่อ 𝑥 เปลีย่ นจาก 1 เป็ น 8 2. 𝑓(𝑥) = √𝑥 − 5 เมื่อ 𝑥 เปลีย่ นจาก 9 เป็ น 14

3. พืน้ ที่สเี่ หลีย่ มจัตรุ สั เมื่อความยาวด้านเปลีย่ น 4. 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 เมื่อ 𝑥 เปลีย่ นจาก 𝑎 เป็ น 𝑎 + 1
จาก 2 เป็ น 6
22 แคลคูลสั

อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ

หัวข้อที่แล้ว อัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ จะเป็ นการคิดจากจุดต้นกับจุดปลาย 2 จุด ซึง่ คิดง่าย แต่ใช้อะไรไม่คอ่ ยได้
เพราะปกติเรามักจะอยากรู อ้ ตั ราการเปลีย่ นแปลงตรงจุดใดจุดหนึง่ แค่จดุ เดียว

ดังนัน้ ในหัวข้อนี ้ เราจะพยายามหา “อัตราการเปลีย่ นแปลง ขณะที่ 𝑥 = 𝑎” 𝑓(𝑎+ℎ)−𝑓(𝑎) 𝑓(𝑎+ℎ)−𝑓(𝑎)


=
(𝑎+ℎ)−(𝑎)
=
โดยเราจะหาอัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ ในช่วง 𝑥 = 𝑎 ถึง 𝑥 = 𝑎 + ℎ ก่อน ℎ

แล้วค่อยบีบให้ ℎ เข้าใกล้ศนู ย์โดยใช้ความรูเ้ รือ่ งลิมิตของฟั งก์ชนั มาช่วย = lim


𝑓(𝑎+ℎ)−𝑓(𝑎)
h0 ℎ

𝑓(𝑥+ℎ)−𝑓(𝑥)
แต่ปกติ เรามักจะไม่แทน 𝑥 = 𝑎 แต่แรก แต่จะหา lim ℎ
แบบติดตัวแปร 𝑥 ไว้ก่อน
h0

แล้วถ้าอยากได้อตั ราการเปลีย่ นแปลงที่ 𝑥 เท่ากับเท่าไหร่ ค่อยแทนเอาตอนท้าย


สรุป อัตราการเปลีย่ นแปลงของ 𝑓(𝑥) เทียบกับ 𝑥 ขณะ 𝑥 ใดๆ คือ lim 𝑓(𝑥+ℎ)−𝑓(𝑥) ℎ
h0

ตัวอย่าง จงหาอัตราการเปลีย่ นแปลงของ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 − 𝑥 + 3 เทียบกับ 𝑥 ขณะที่ 𝑥 = 1


𝑓(𝑥+ℎ)−𝑓(𝑥) [2(𝑥+ℎ)2 −(𝑥+ℎ)+3]−[2𝑥 2 −𝑥+3]
วิธีทา อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ = lim

= lim

h0 h0
[2(𝑥 2 +2𝑥ℎ+ℎ2 )−(𝑥+ℎ)+3]−[2𝑥 2 −𝑥+3]
= lim ℎ
h0
2𝑥 2 +4𝑥ℎ+2ℎ2 −𝑥−ℎ+3−2𝑥 2 +𝑥−3
= lim ℎ
h0
4𝑥ℎ+2ℎ 2 −ℎ
= lim ℎ
= lim 4𝑥 + 2ℎ − 1 = 4𝑥 − 1
h0 h0

ดังนัน้ อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะที่ 𝑥 = 1 คือ (4)(1) − 1 = 3 #

ตัวอย่าง จงหาอัตราการเปลีย่ นแปลงของ 𝑓(𝑥) = 3 − 5𝑥 เทียบกับ 𝑥 ขณะที่ 𝑥 = 8


วิธีทา อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ = lim [3−5(𝑥+ℎ)]−[3−5𝑥]

h0
3−5𝑥−5ℎ−3+5𝑥
= lim ℎ
h0
−5ℎ
= lim ℎ = lim −5 = −5
h0 h0

ดังนัน้ อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะที่ 𝑥 = 8 คือ −5 #

ตัวอย่าง จงหาอัตราการเปลีย่ นแปลงพืน้ ที่รูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั เทียบกับความยาวด้าน ขณะทีด่ า้ นของสีเ่ หลีย่ มยาว 4 หน่วย
วิธีทา ให้ 𝑥 คือความยาวด้าน จะได้ พืน้ ที่ = 𝑥 2
(𝑥+ℎ)2 −𝑥 2
ดังนัน้ อัตราการเปลีย่ นแปลงพืน้ ที่ขณะใดๆ = lim ℎ
h0
𝑥 2 +2𝑥ℎ+ℎ 2 −𝑥 2
= lim ℎ
h0
2𝑥ℎ+ℎ 2
= lim = lim 2𝑥 + ℎ = 2𝑥
h0 ℎ h0

ดังนัน้ อัตราการเปลีย่ นแปลงพืน้ ที่ขณะที่ดา้ นของสีเ่ หลีย่ มยาว 4 หน่วย = (2)(4) = 8 #


แคลคูลสั 23

แบบฝึ กหัด
1. จงหาอัตราการเปลีย่ นแปลงของ 𝑓(𝑥) = 3 − 2𝑥 − 𝑥 2 เทียบกับ 𝑥 ขณะที่
1. 𝑥 = 1 2. 𝑥=2

2. จงหาอัตราการเปลีย่ นแปลงของพืน้ ที่สเี่ หลีย่ มจัตรุ สั เทียบกับความยาวด้าน ขณะที่


1. ด้านยาว 2 หน่วย 2. ด้านยาว 6 หน่วย
24 แคลคูลสั

อนุพนั ธ์ของฟั งก์ชนั

“อนุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥) เทียบกับ 𝑥” หรือ “ดิฟ๊ 𝑓(𝑥)” แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑓 ′ (𝑥) หรือ 𝑑𝑓(𝑥)
𝑑𝑥
หรือ 𝑑𝑥𝑑
𝑓(𝑥)
หมายถึง อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ ทีเ่ รียนในหัวข้อที่แล้วนั่นเอง
บางทีเราสามารถใช้ 𝑦 แทน 𝑓(𝑥) ได้ เช่น “อนุพนั ธ์ของ 𝑦 เทียบกับ 𝑥” ซึง่ แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑦 ′ หรือ 𝑑𝑦
𝑑𝑥
หรือ 𝑑
𝑑𝑥
𝑦

ตัวอย่าง จงหาอนุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥) เมื่อกาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 + 3


วิธีทา ทาแบบเดียวกับตอนหาอัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆในเรือ่ งทีแ่ ล้ว เพียงแต่ใช้สญ
ั ลักษณ์ 𝑓 ′ (𝑥) ของเรือ่ งนี ้
𝑓(𝑥+ℎ)−𝑓(𝑥)
𝑓 ′ (𝑥) = lim
h0 ℎ
[2(𝑥+ℎ)2 +3]−[2𝑥 2 +3]
= lim
h0 ℎ
2𝑥 2 +4𝑥ℎ+2ℎ2 +3−2𝑥 2 −3
= lim ℎ
h0
4𝑥ℎ+2ℎ2
= lim ℎ
= lim 4𝑥 + 2ℎ = 4𝑥
h0 h0

จะได้คาตอบคือ 𝑓 ′ (𝑥) = 4𝑥 #

หมายเหตุ: ในตัวอย่างข้างบน เราสามารถพูดสัน้ ๆได้วา่ “ดิฟ๊ 2𝑥 2 + 3 ได้ 4𝑥”


𝑑
ซึง่ สามารถเขียนเป็ นสัญลักษณ์ได้เป็ น 𝑑𝑥 2𝑥 2 + 3 = 4𝑥

อย่างไรก็ตาม เวลาทีเ่ ราหาอนุพนั ธ์ ก็จะไม่ได้ทาขัน้ ตอนยุง่ ยากเหมือนอย่างที่ทาให้ดขู า้ งบน


แต่เราจะมีสตู รหาแบบง่ายๆ คือ 𝑑 𝑛 𝑛−1
𝑎𝑥 = 𝑎𝑛𝑥
𝑑𝑥

และ ดิฟ๊ กระจายในบวกลบได้


𝑑 𝑑
เช่น 𝑑𝑥
2𝑥 4 = 8𝑥 3 𝑑𝑥
3𝑥 2 = 6𝑥 1 = 6𝑥
𝑑 3 𝑑 𝑑
𝑑𝑥
𝑥 = 3𝑥 2 𝑑𝑥
2 = 𝑑𝑥
2𝑥 0 = 0 (ดิฟ๊ ค่าคงที่ ได้ 0 เสมอ)
𝑑 4 1−1 4 −2 𝑑
4𝑥 1/3 = 𝑥3 = 𝑥 3 −2𝑥 5 = −10𝑥 4
𝑑𝑥 3 3 𝑑𝑥
𝑑 𝑑 4 𝑑 4
𝑑𝑥
2𝑥 −3 = −6𝑥 −4 ( ) = 𝑑𝑥 4𝑥 −1 =
𝑑𝑥 𝑥
−4𝑥 −2 = − 𝑥 2
1
𝑑 3 𝑑 5 −2 𝑑 6 𝑑 1 3
5 √𝑥 = 5𝑥 3 = 𝑥 3 (− ) = (−6𝑥 −2 ) = 3𝑥 −2
𝑑𝑥 𝑑𝑥 3 𝑑𝑥 √𝑥 𝑑𝑥

𝑑 𝑑 𝑑 𝑑
(2𝑥 2 − 3𝑥 + 5) = 𝑑𝑥 2𝑥 2 − 𝑑𝑥 3𝑥 + 𝑑𝑥 5
𝑑𝑥
= 4𝑥 − 3

ตัวอย่าง จงหาอัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 4𝑥 ขณะที่ 𝑥 = 1


วิธีทา ข้อนี ้ จะใช้สตู รการหาอนุพนั ธ์มาช่วยหาอัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ จะได้ 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 − 4
แทน 𝑥 = 1 ลงไป จะได้ 𝑓 ′ (1) = 3(12 ) − 4 = −1 #

หมายเหตุ: สัญลักษณ์ 𝑓 ′ (1) หมายถึงหาอนุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥) ออกมาก่อน แล้วแทน 𝑥 = 1 ลงไป


แคลคูลสั 25

𝑑 𝑑
เราสามารถดึง “ตัวเลข” ที่ คูณ หาร อยู่ ออกมาไว้หน้าดิฟ๊ ได้ เช่น 𝑑𝑥 (3)(𝑥 2 + 2𝑥 + 4) = 3∙
𝑑𝑥
(𝑥 2 + 2𝑥 + 4)
𝑑
แต่ ดิฟ๊ กระจายในคูณ หาร หรือ ยกกาลัง ไม่ได้ กล่าวคือ 𝑑𝑥 (2𝑥 2 )(3𝑥 + 2) ≠ (4𝑥)(3)
แต่จะมีสตู รดิฟ๊ ผลคูณ ผลหาร ดังนี ้
𝑑 𝑑 𝑑
𝑑𝑥
หน้า ∙ หลัง = หน้า ∙ หลัง + หลัง ∙ หน้า
𝑑𝑥 𝑑𝑥
𝑑 𝑑
𝑑 บน (ล่าง∙ บน)−(บน∙𝑑𝑥ล่าง)
𝑑𝑥
( )
𝑑𝑥 ล่าง
= ล่าง2

𝑑 2𝑥 2 (3𝑥+2)(4𝑥)−(2𝑥 2 )(3)
เช่น 𝑑
𝑑𝑥
(2𝑥 2 )(3𝑥 + 2) = (2𝑥 2 )(3) + (3𝑥 + 2)(4𝑥) (
𝑑𝑥 3𝑥+2
)= (3𝑥+2)2

= 6𝑥 2 + 12𝑥 2 + 8𝑥 12𝑥 2 +8𝑥−6𝑥 2


= (3𝑥+2)2
= 18𝑥 2 + 8𝑥
6𝑥 2 +8𝑥
= (3𝑥+2)2

𝑑
ตัวอย่าง จงหา 𝑑𝑥 (2𝑥 + 5)2
𝑑
วิธีทา เนื่องจากดิฟ๊ กระจายในการยกกาลังไม่ได้ ทาให้เราไม่สามารถหา 𝑑𝑥 2𝑥 + 5 ก่อน แล้วค่อยยกกาลังสองได้
ข้อนีต้ อ้ งกระจาย (2𝑥 + 5)2 ออกมาในรูปการบวกก่อน แล้วค่อยดิฟ๊ ดังนี ้
𝑑 𝑑
𝑑𝑥
(2𝑥 + 5)2 = 𝑑𝑥
4𝑥 2 + 20𝑥 + 25
= 8𝑥 + 20
𝑑 𝑑
หรือจะใช้สตู รดิฟ๊ ผลคูณ ก็ได้ ดังนี ้ 𝑑𝑥
(2𝑥 + 5)2 = 𝑑𝑥
(2𝑥 + 5)(2𝑥 + 5)
= (2𝑥 + 5)(2) + (2𝑥 + 5)(2)
= 4𝑥 + 10 + 4𝑥 + 10
= 8𝑥 + 20
#

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(1) = 2 , 𝑓 ′ (1) = 3 ถ้า 𝑔(𝑥) = (2𝑥 − 1)𝑓(𝑥) แล้ว จงหาค่าของ 𝑔′ (1)
วิธีทา จะเห็นว่า 𝑔(𝑥) เกิดจากการคูณกันระหว่าง 2𝑥 − 1 กับ 𝑓(𝑥)
ดังนัน้ เราสามารถใช้สตู รดิฟ๊ ผลคูณกับ 𝑔(𝑥) จะได้ 𝑔′ (𝑥) = (2𝑥 − 1)𝑓 ′(𝑥) + 𝑓(𝑥)(2)
ดังนัน้ 𝑔′ (1) = (2 ∙ 1 − 1)𝑓 ′ (1) + 𝑓(1)(2)
= ( 1 )( 3 ) + (2)(2) = 7 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั ต่อไปนี ้
1. 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 2𝑥 + 5 2. 𝑓(𝑥) = 3𝑥 4 − 𝑥 2 + 𝑥

3. 𝑓(𝑥) = 1 − 𝑥 + 𝑥 2 − 𝑥 3 4. 𝑓(𝑥) = √𝑥 + 2
26 แคลคูลสั

5. 𝑓(𝑥) = 𝑥 √𝑥 − 𝑥 6. 𝑓(𝑥) = √𝑥(𝑥 − 2)

1
7. 𝑓(𝑥) =
𝑥√𝑥

2. จงใช้สตู รดิฟ๊ ผลคูณ ผลหาร เพื่อหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั ต่อไปนี ้


1. 𝑓(𝑥) = (2𝑥 + 1)(𝑥 − 2) 2. 𝑓(𝑥) = (𝑥 2 + 1)(2𝑥 − 3)

1 𝑥−1
3. 𝑓(𝑥) =
𝑥 2 +2
4. 𝑓(𝑥) =
𝑥+1

𝑓′ (2)
3. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑘𝑥 2 − 𝑘𝑥 + 1 ถ้า 𝑓 ′ (1) = 2 แล้ว จงหาค่าของ 𝑓(2)

2
+𝑥−1)
4. กาหนดให้ 𝑓(0) = 1 , 𝑓 ′ (0) = 2 ถ้า 𝑔(𝑥) = (𝑥 𝑓(𝑥) แล้ว จงหาค่าของ 𝑔′ (0)
แคลคูลสั 27

𝑓(𝑥)
5. กาหนดให้ 𝑓(1) = 1 , 𝑓 ′ (1) = 2 , 𝑔(1) = 3 , 𝑔′ (1) = 4 ถ้า ℎ(𝑥) = 𝑓(𝑥)𝑔(𝑥) − 𝑔(𝑥) แล้ว จงหาค่า
ของ ℎ′ (1)

6. ถ้า 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนามดีกรีสาม ซึง่ มี 1, 2, 3 เป็ นคาตอบของสมการ 𝑃(𝑥) = 0 และ 𝑃(4) = 5
แล้ว 𝑃′ (1) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [A-NET 49/1-18]
1. − 67 2. − 56 3. 45 4. 53

7. ถ้า 𝑓, 𝑔 และ ℎ สอดคล้องกับ 𝑓(1) = 𝑔(1) = ℎ(1) = 1 และ 𝑓 ′(1) = 𝑔′ (1) = ℎ′ (1) = 2
แล้วค่าของ (𝑓𝑔 + ℎ)′ (1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/33]
28 แคลคูลสั

8. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : ℝ → ℝ , 𝑔 : ℝ → ℝ และ 𝑠 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่


𝑓(𝑥) = 𝑥 + 1 สาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ 𝑔(𝑓(𝑥)) = 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 สาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ
2 2
(𝑔(𝑥+ℎ)) −(𝑔(𝑥))
และ 𝑠(𝑥) = lim
h 0 ℎ
สาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ ค่าของ (𝑠𝑔)(1) เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (พ.ย. 57)/44]

9. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏√𝑥 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงที่ 𝑏 ≠ 0


ถ้า 2𝑓 ′ (1) = 𝑓(1) แล้ว 𝑓𝑓(4)
′ (9) มีคา
่ เท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/2-18]

𝑥+𝑏−4 , 𝑥≤𝑎
10. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = {𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑎 , 𝑎<𝑥≤𝑏 เมือ่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง
2𝑏𝑥 − 𝑎 , 𝑥>𝑏
และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 59)/17]
1. (𝑓 ∘ 𝑓)(𝑎 − 𝑏) = 𝑎 − 𝑏
2. 𝑓(𝑎 + 𝑏) = 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑏)
3. 𝑓 ′ (𝑓(2)) = 𝑓(𝑓 ′ (2))
แคลคูลสั 29

11. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่อง ที่นิยามโดย


2
𝑓(𝑥) = {𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑥 ≥ 0
𝑥3 + 1 เมื่อ 𝑥 < 0
1
ถ้า 𝑓 ′ (1)
= 4 แล้ว (𝑓 ∘ 𝑓) (− 3 ) มีคา่ เท่าใด
√2
[A-NET 51/2-9]

12. ถ้า 𝑓 ′ (𝑥) = 12 (√1𝑥 + √𝑥1 3) แล้วค่าของ lim


𝑓(1+ℎ)−𝑓(1)
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 52)/34]
h  0 𝑓(4+ℎ)−𝑓(4)

13. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : R → R , 𝑔:R→R และ ℎ:R→R เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่
𝑎𝑥+1 𝑓(𝑥) เมื่อ 𝑥 ≥ 2
𝑓(𝑥) =
𝑥 2 +1
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง 𝑔(𝑥) = (𝑥 2 + 1)𝑓 ′ (𝑥) และ ℎ(𝑥) = {
𝑔(𝑥) เมื่อ 𝑥 < 2
ถ้าฟั งก์ชนั ℎ ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 2 แล้ว ค่าของ 2ℎ(−2) − ℎ(2) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/17]
30 แคลคูลสั

กฎลูกโซ่

𝑑
จากตัวอย่างข้างบน จะเห็นว่าการหา 𝑑𝑥 (2𝑥 + 5)2 ค่อนข้างลาบาก เพราะ ต้องกระจายกาลังสองออกมาก่อน
𝑑
ยิ่งถ้าจะหา 𝑑𝑥 (2𝑥 + 5)10 ยิ่งลาบาก เพราะคราวนีต้ อ้ งกระจายกาลัง 10

ทาแบบนีไ้ ด้ไหม ก่อนอื่น เปลีย่ นตัวแปรก่อน โดยให้ 𝑢 = 2𝑥 + 5 ก่อน ดังนัน้ (2𝑥 + 5)10 จะกลายเป็ น 𝑢10
จากนัน้ ดิฟ๊ 𝑢10 จะได้ 10𝑢9 แล้วค่อยเปลีย่ นตัวแปรกลับ เป็ น 10(2𝑥 + 5)9

คาตอบคือ “ไม่ได้” เพราะถ้าสังเกตดีๆ ตอนที่ ดิฟ๊ 𝑢10 ได้ 10𝑢9 นัน้ เป็ นการดิฟ๊ โดยใช้ 𝑢 เป็ นตัวแปร
𝑑 𝑑
ดังนัน้ คาตอบที่ได้ 10(2𝑥 + 5)9 เป็ นคาตอบของคาถาม 𝑑𝑢 (2𝑥 + 5)10 ไม่ใช่คาถาม (2𝑥 + 5)10
𝑑𝑥

ในหัวข้อนีจ้ ะพูดถึงกฎลูกโซ่ ที่จะช่วยให้เปลีย่ นตัวแปรในการดิฟ๊ ได้ ดังนี ้


𝑑𝑦 𝑑𝑦 𝑑𝑢
𝑑𝑥
= ∙
𝑑𝑢 𝑑𝑥
ถ้าจะเปลี่ยนตัวแปร ต้องดิฟ๊ ตัว
ของเดิม ดิฟ๊ เทียบกับ 𝑥 เปลี่ยนตัวแปรเป็ นดิฟ๊ แปรใหม่เทียบกับ 𝑥 คูณไปด้วย
เทียบกับ 𝑢 แทน
จะเห็นว่าถ้าเราเปลีย่ นตัวแปรในการดิฟ๊ เราจะต้องคูณด้วย “ดิฟ๊ ตัวแปรใหม่” เพิ่มเข้าไปด้วย
𝑑 𝑑 𝑑
ดังนัน้ 𝑑𝑥 (2𝑥 + 5)10 =
𝑑(2𝑥+5)
(2𝑥 + 5)10 ∙ (2𝑥 + 5)
𝑑𝑥

= 10(2𝑥 + 5)9 ∙ (2)


บางคนเรียกตัวนีว้ า่ “ดิฟ๊ ไส้”
= 20(2𝑥 + 5)9

ตัวอย่างการใช้กฎลูกโซ่ เช่น
𝑑
(2𝑥 2 − 3𝑥 + 5)4 = 4(2𝑥 2 − 3𝑥 + 5)3 ∙ (4𝑥 − 3)
𝑑𝑥
1 1
𝑑 1 3
𝑑𝑥
√3𝑥 −2 = 2
(3𝑥 − 2)−2 ∙ (3) = 2
(3𝑥 − 2)−2
1 4
𝑑 1 𝑑 1
(
𝑑𝑥 3√𝑥 2 +2
) = 𝑑𝑥
(𝑥 2 + 2)−3 = − 3 (𝑥 2 + 2)−3 ∙ (2𝑥)
𝑑
((𝑥 2 + 2)3 + 2(𝑥 2 + 2)2 − 2) = (3(𝑥 2 + 2)2 + 4(𝑥 2 + 2))(2𝑥)
𝑑𝑥
𝑑
((𝑥 5 + 3)2 + 2(𝑥 5 + 3) + 1)10 = 10((𝑥 5 + 3)2 + 2(𝑥 5 + 3) + 1)9 (2(𝑥 5 + 3) + 2)(5𝑥 4 )
𝑑𝑥

อย่างไรก็ตาม บางคน เรียกกฎลูกโซ่นวี ้ า่ การหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั คอมโพสิท (หรือเรียกว่าฟั งก์ชนั ประกอบก็ได้)


เนื่องจาก (2𝑥 + 5)10 ในตัวอย่างก่อนหน้า สามารถแบ่งเป็ น 2 ส่วนได้ คือ ส่วนของ 2𝑥 + 5 กับ ส่วนการยกกาลัง 10
กล่าวคือ ถ้าให้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 5 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥10
จะได้ (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑔(𝑓(𝑥)) = 𝑔(2𝑥 + 5) = (2𝑥 + 5)10
𝑑
ถ้าเขียนกฎลูกโซ่ในแบบฟั งก์ชนั คอมโพสิท ก็จะได้ (𝑔 ∘ 𝑓)′ (𝑥) =
𝑑𝑥
𝑔(𝑓(𝑥))
𝑑 𝑑
= 𝑑(𝑓(𝑥))
𝑔(𝑓(𝑥)) ∙ 𝑑𝑥 𝑓(𝑥)

ดิฟ๊ โดยใช้ 𝑓(𝑥) เป็ นตัวแปร ดิฟ๊ ไส้


แคลคูลสั 31

โดยสูตรที่นิยมท่องกันคือ (𝑔 ∘ 𝑓)′ (𝑥) = 𝑔′ (𝑓(𝑥)) ∙ 𝑓 ′ (𝑥)

ดิฟ๊ โดยใช้ 𝑓(𝑥) เป็ นตัวแปร ดิฟ๊ ไส้

สิง่ ที่ตอ้ งระวังเวลาใช้สตู รนี ้ คือ เวลาหา 𝑔′ (𝑓(𝑥)) ให้ดิฟ๊ หา 𝑔′ (𝑥) ก่อน แล้วค่อยแทน 𝑥 ด้วย 𝑓(𝑥)
(เหมือนกับเวลาหา 𝑓 ′ (3) ก็ตอ้ งดิฟ๊ หา 𝑓 ′ (𝑥) ก่อน แล้วค่อยแทน 𝑥 = 3 → ห้าม แทน 𝑥 = 3 ก่อน ค่อยดิฟ๊ )

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 + 1 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 + 2𝑥 + 5 จงหา (𝑔 ∘ 𝑓)′(𝑥)


วิธีทา ใช้สตู ร (𝑔 ∘ 𝑓)′(𝑥) = 𝑔′ (𝑓(𝑥)) ∙ 𝑓 ′ (𝑥)
หา 𝑔′ (𝑓(𝑥)) ต้องหา 𝑔′ (𝑥) ก่อน จะได้ 2𝑥 + 2
แล้วค่อยแทน 𝑥 ด้วย 𝑓(𝑥) จะได้ 𝑔′ (𝑓(𝑥)) = 2𝑓(𝑥) + 2 = 2(2𝑥 2 + 1) + 2 = 4𝑥 2 + 4
และ 𝑓 ′ (𝑥) = 4𝑥 ดังนัน้ (𝑔 ∘ 𝑓)′ (𝑥) = (4𝑥 2 + 4)(4𝑥) = 16𝑥 3 + 16𝑥 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาอนุพนั ธ์ของฟังก์ชนั ต่อไปนี ้
1
1. 𝑓(𝑥) = (2𝑥 3 + 1)100 2. 𝑔(𝑥) =
𝑥 2 +2𝑥−5

3. ℎ(𝑥) = √𝑥 2 + 3𝑥 4. 𝑓(𝑥) = (𝑥 2 + 2𝑥)2 − 3(𝑥 2 + 2𝑥)

2. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥4 + 3 และ 𝑔(𝑥) = √𝑥 จงหา


1. (𝑔 ∘ 𝑓)′ (𝑥) 2. (𝑓 ∘ 𝑔)′ (𝑥)
32 แคลคูลสั

3. ให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 − 1 และ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑥 3 − 2𝑥 ถ้า 𝑔(1) = 2 จงหา 𝑔′ (1)

2
4. กาหนดให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓: 𝑅 → 𝑅 และ 𝑔: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = 3𝑥 3 ,
2
𝑔(1) = 8 และ 𝑔′ (1) = 3 ค่าของ (𝑓 ∘ 𝑔)′ (1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 53)/18]

5. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : R → R , 𝑔 : R → R และ ℎ : R → R เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์ทกุ อันดับ
โดยที่ ℎ(𝑥) = 𝑥 2 + 4 , 𝑔(𝑥) = ℎ(𝑓(𝑥) − 1) และ 𝑓 ′ (1) = 𝑔′ (1) = 1
แล้วค่าของ 𝑓(1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/18]

6. กาหนดให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓: 𝑅 → 𝑅 และ 𝑔: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั ที่หาอนุพนั ธ์ได้ทกุ 𝑥 ∈ 𝑅


โดยที่ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 , (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑥 6 + 2𝑥 4 − 2𝑥 3 + 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 และ 𝑓(0) = 0
ค่าของ (𝑓 ′ ∘ 𝑔′ )(1) + (𝑔′ ∘ 𝑓 ′)(0) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/42]
แคลคูลสั 33

อนุพนั ธ์ของฟั งก์ชนั แฝง

ที่ผา่ นมา 𝑓(𝑥) จะมาให้เราดิฟ๊ แบบจะๆ กล่าวคือ จะมาในรูป 𝑓(𝑥) = “ก้อนที่จะดิฟ๊ ”


แต่ในบางกรณี 𝑓(𝑥) อาจจะ “แฝง” มาในก้อนทีจ่ ะดิฟ๊ ได้ดว้ ย
เช่น 𝑓(𝑥) = 2 − 𝑓(𝑥) − 4𝑥 2 𝑓(𝑥) = (2𝑥 − 1)𝑓(𝑥) + 2
𝑓(𝑥) = √𝑓(𝑥) + 1 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 𝑓 3 (𝑥)

ในกรณีแบบนี ้ ถ้าจะดิฟ๊ อาจจัดรูปให้ 𝑓(𝑥) แยกไปอยูเ่ ดีย่ วๆก่อน แล้วค่อยดิฟ๊ เช่น 𝑓(𝑥) = 2 − 𝑓(𝑥) − 4𝑥 2
𝑓(𝑥) + 𝑓(𝑥) = 2 − 4𝑥 2
2𝑓(𝑥) = 2 − 4𝑥 2
𝑓(𝑥) = 1 − 2𝑥 2
𝑓 ′ (𝑥) = −4𝑥
จะเห็นว่า วิธีนตี ้ อ้ งลาบากจัดรูป และอาจใช้ไม่ได้กบั บางกรณี

อีกวิธีหนึง่ ทีจ่ ะดิฟ๊ 𝑓(𝑥) ประเภทนีไ้ ด้โดยไม่ตอ้ งจัดรูปให้เสียเวลา คือใช้วิธี “ลุยดิฟ๊ ” มันทัง้ อย่างนัน้
โดยเราจะดิฟ๊ ตลอดทัง้ สมการ และ “ใช้กฎลูกโซ่เมื่อต้องดิฟ๊ พจน์ทมี่ ี 𝑓(𝑥)”
3
𝑑(𝑓(𝑥)) 2
ตัวอย่างการใช้กฎลูกโซ่เพื่อดิฟ๊ พจน์ที่มี 𝑓(𝑥) เช่น 𝑑𝑥
= 3(𝑓(𝑥)) ∙ 𝑓 ′ (𝑥)

ดิฟ๊ โดยใช้ 𝑓(𝑥) เป็ นตัวแปร ดิฟ๊ ไส้

อย่างไรก็ตาม โจทย์ประเภทนี ้ มักนิยมใช้ 𝑦 แทน 𝑓(𝑥) เพราะเขียนง่ายกว่า


𝑑𝑦 3
ตัวอย่างการดิฟ๊ พจน์ที่มี 𝑦 เช่น 𝑑𝑥
= 3𝑦 2 ∙ 𝑦 ′
1
𝑑√𝑦 1 𝑦′
= (𝑦)−2 ∙ 𝑦 ′ =
𝑑𝑥 2 2√𝑦
𝑑 1 𝑑
( )
𝑑𝑥 𝑦
= 𝑑𝑥 (𝑦 −1 ) = −𝑦 −2 ∙ 𝑦 ′
𝑑
(𝑦 2 + 𝑦 + 5)3 = 3(𝑦 2 + 𝑦 + 5)2 (2𝑦 ∙ 𝑦 ′ + 𝑦 ′ )
𝑑𝑥

ตัวอย่าง จงหา 𝑑𝑦 𝑑𝑥
เมื่อกาหนดให้ 𝑥 2 + 𝑦 2 = 4
วิธีทา ดิฟ๊ ทัง้ สองข้างของสมการ จะได้ 2𝑥 + 2𝑦 ∙ 𝑦 ′ = 0
2𝑥 𝑥
ดังนัน้ 𝑦 ′ = − 2𝑦 = −
𝑦
#

ตัวอย่าง จงหา 𝑑𝑦 𝑑𝑥
ที่จดุ (5, 0) เมื่อกาหนดให้ (2𝑦 2 + 5)2 = 𝑥 2 + 2𝑦
วิธีทา ดิฟ๊ ทัง้ สองข้างของสมการ: 2(2𝑦 2 + 5) ∙ (4𝑦 ∙ 𝑦 ′ ) = 2𝑥 + 2𝑦 ′
แทน 𝑥 = 5 และ 𝑦 = 0: 2(2 ∙ 02 + 5) ∙ (4 ∙ 0 ∙ 𝑦 ′ ) = 2 ∙ 5 + 2𝑦 ′
0 = 10 + 2𝑦 ′
𝑦 ′ = −5 #
34 แคลคูลสั

แบบฝึ กหัด
1. จงหา 𝑦 ′ ณ จุดที่กาหนด ของความสัมพันธ์ดงั ต่อไปนี ้
1. √𝑥 + √𝑦 = 𝑥 ณ จุด (4, 4) 2. 𝑥𝑦 + 𝑦 = 3𝑥 2 ณ จุด (2, 4)

3. 𝑦 2 + 𝑥𝑦 = 3𝑥 2 − 𝑦 ณ จุด (1, 1)
แคลคูลสั 35

อนุพนั ธ์อนั ดับสูง

ถ้าเราเอาผลดิฟ๊ มาดิฟ๊ ต่อไปอีกเที่ยว จะได้ “อนุพนั ธ์อนั ดับสอง”


𝑑 2 𝑓(𝑥) 𝑑2
เราจะแทนอนุพนั ธ์อนั ดับสองด้วยสัญลักษณ์ 𝑓 ′′ (𝑥) หรือ 𝑑𝑥 2
หรือ 𝑑𝑥 2
𝑓(𝑥)
𝑑2 𝑦 𝑑2
หรือ 𝑦 ′′ หรือ 𝑑𝑥 2
หรือ 𝑑𝑥 2
𝑦

ตัวอย่าง จงหาอนุพนั ธ์อนั ดับ 2 ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥 4 − 2𝑥 3 + 3𝑥 2 − 2𝑥 + 5


วิธีทา 𝑓(𝑥) = 𝑥 4 − 2𝑥 3 + 3𝑥 2 − 2𝑥 + 5
𝑓 ′ (𝑥) = 4𝑥 3 − 6𝑥 2 + 6𝑥 − 2 #
𝑓 ′′ (𝑥) = 12𝑥 2 − 12𝑥 + 6

ทานองเดียวกัน ถ้าดิฟ๊ ต่อไปอีก จะเรียกว่า อนุพนั ธ์อนั ดับสาม


𝑑 3 𝑓(𝑥) 𝑑3
เราจะแทนอนุพนั ธ์อนั ดับสามด้วยสัญลักษณ์ 𝑓 ′′′ (𝑥) หรือ 𝑑𝑥 3
หรือ 𝑑𝑥 3
𝑓(𝑥)
𝑑3 𝑦 𝑑3
หรือ 𝑦 ′′′ หรือ 𝑑𝑥 3
หรือ 𝑑𝑥 3
𝑦

ทานองเดียวกัน ถ้าดิฟ๊ ต่อไปอีก จะเรียกว่า อนุพนั ธ์อนั ดับสี่


อนุพนั ธ์อนั ดับที่ 4 ขึน้ ไป จะไม่นิยมใช้ 𝑓 ′′′′(𝑥) แต่จะใช้ 𝑓 (4)(𝑥) แทน
𝑑 𝑛 𝑓(𝑥) 𝑑𝑛
อนุพนั ธ์อนั ดับที่ 𝑛 ก็คือการดิฟ๊ ไป 𝑛 เที่ยว แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑓 (𝑛) (𝑥) หรือ 𝑑𝑥 𝑛
หรือ 𝑑𝑥 𝑛
𝑓(𝑥)
𝑑𝑛𝑦 𝑑𝑛
หรือ 𝑦 (𝑛) หรือ 𝑑𝑥 𝑛
หรือ 𝑑𝑥 𝑛
𝑦

ตัวอย่าง จงหาอนุพนั ธ์อนั ดับ 4 ของ 𝑓(𝑥) = (2𝑥 + 1)100


วิธีทา 𝑓 ′ (𝑥) = 100(2𝑥 + 1)99 ∙ (2) = 2 ∙ 100 ∙ (2𝑥 + 1)99
𝑓 ′′ (𝑥) = 2 ∙ 100 ∙ 99 ∙ (2𝑥 + 1)98 ∙ (2) = 22 ∙ 100 ∙ 99 ∙ (2𝑥 + 1)98
𝑓 ′′′ (𝑥) = 22 ∙ 100 ∙ 99 ∙ 98 ∙ (2𝑥 + 1)97 ∙ (2) = 23 ∙ 100 ∙ 99 ∙ 98 ∙ (2𝑥 + 1)97
𝑓 (4) (𝑥) = 23 ∙ 100 ∙ 99 ∙ 98 ∙ 97(2𝑥 + 1)96 ∙ (2) = 24 ∙ 100 ∙ 99 ∙ 98 ∙ 97 ∙ (2𝑥 + 1)96 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาอนุพนั ธ์อนั ดับ 2 ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑥 2 + 𝑥 + 1

1
2. จงหาอนุพนั ธ์อนั ดับ 3 ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥
36 แคลคูลสั

1
3. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) =
√2𝑥−1
จงหาค่าของ 𝑓 (4) (1)

4. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓(2𝑥 + 1) = 4𝑥 2 + 14𝑥
ค่าของ 𝑓 (𝑓 ′ (𝑓 ′′(2553))) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/47]


5. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 1 + 𝑎𝑥 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 + 𝑏 ถ้า (𝑓 ∘ 𝑔)(0) = 12 และ 𝑓 ′′(−1) = 2 แล้ว (𝑔𝑓 ) (𝑎 + 𝑏)
เท่ากับเท่าใด [A-NET 50/1-21]
แคลคูลสั 37

6. ให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั ที่สอดคล้องกับสมการ


𝑓(𝑥)
𝑓(𝑥 + 𝑦) = 𝑓(𝑥) + 𝑓(𝑦) + 3𝑥 2 𝑦 + 3𝑥𝑦 2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 และ 𝑦 และ lim 𝑥 = 2
x 0

ค่าของ 𝑓 ′(1) + 𝑓 ′′(5) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 58)/35]


38 แคลคูลสั

ระยะทาง ความเร็ว ความเร่ง

หัวข้อหลายๆหัวข้อต่อไปจะเป็ นเรือ่ งของการนาอนุพนั ธ์ไปใช้ประโยชน์


ถ้ายังจาได้ อนุพนั ธ์ ก็คืออัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ และในชีวิตคนเรา มักต้องพบกับการเปลีย่ นแปลงหลายๆอย่าง
ตัวอย่างการเปลีย่ นแปลงอย่างหนึง่ ที่เราคุน้ กันดี ก็คือ ระยะทาง ความเร็ว และความเร่ง

“ความเร็ว” คือ อัตราการเปลีย่ นแปลงของ “ระยะทาง” เทียบกับเวลา


เช่น ถ้า “เคลือ่ นที่ได้ระยะทางเพิม่ ขึน้ 60 เมตรในทุกๆ 1 วินาที” จะเรียกว่า “ขับรถด้วยความเร็ว 60 เมตรต่อวินาที”
ความเร็วจะเป็ น 0 เมื่อวัตถุหยุดเคลือ่ น (เช่น เมื่อโยนวัตถุขนึ ้ ฟ้า จุดที่วตั ถุพงุ่ ขึน้ ไปได้สงู ที่สดุ จะมีความเร็ว = 0)

“ความเร่ง” คือ อัตราการเปลีย่ นแปลงของ “ความเร็ว” เทียบกับเวลา เช่น วินาทีแรก ขับ 5 เมตรต่อวินาที
เช่น ถ้า “เคลือ่ นที่โดยเพิ่มความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที ในทุกๆ 1 วินาที” วินาทีตอ่ มา ขับ 15 เมตรต่อวินาที
วินาทีตอ่ มาเป็ น 25 เมตรต่อวินาที
จะเรียกว่า “ขับรถด้วยความเร่ง 10 เมตรต่อวินาที ต่อวินาที” หรือ “10 เมตรต่อวินาทียกกาลังสอง”
ความเร่งจะเป็ น 0 เมื่อวัตถุไม่เปลีย่ นความเร็ว (= เมื่อเคลือ่ นที่ดว้ ยความเร็วคงที)่

สรุป ความเร็ว = ดิฟ๊ ระยะทาง


ความเร่ง = ดิฟ๊ ความเร็ว = ดิฟ๊ ระยะทางสองเทีย่ ว

ในเรือ่ งนี ้ จะใช้ตวั แปร 𝑡 แทน 𝑥 และใช้ 𝑠(𝑡) แทน 𝑓(𝑥) โดยที่ 𝑠(𝑡) หมายถึงระยะทาง
𝑣(𝑡) หมายถึงความเร็ว = 𝑠 ′ (𝑡)
𝑎(𝑡) หมายถึงความเร่ง = 𝑣 ′ (𝑡) = 𝑠 ′′ (𝑡)

ตัวอย่าง กาหนด 𝑠(𝑡) = 𝑡 2 + 5𝑡 − 2 จงหาความเร็ว และความเร่ง ณ เวลา 𝑡 = 2


วิธีทา หาความเร็วโดยการดิฟ๊ ระยะทาง จะได้ 𝑣(𝑡) = 𝑠 ′ (𝑡) = 2𝑡 + 5
ดังนัน้ ที่ 𝑡 = 2 จะได้ความเร็ว = 2(2) + 5 = 9
หาความเร่งโดยการดิฟ๊ ความเร็ว จะได้ 𝑎(𝑡) = 𝑣 ′ (𝑡) = 2
จะเห็นว่า ความเร่งเท่ากับ 2 โดยไม่ขนึ ้ กับ 𝑡 นั่นคือ ที่ 𝑡 = 2 ก็จะได้ความเร่ง = 2
นั่นคือ ณ เวลา 𝑡 = 2 จะมีความเร็ว 9 และความเร่ง 2 #

ตัวอย่าง กาหนด 𝑠(𝑡) = 𝑡 3 − 6𝑡 2 + 3𝑡 + 15 จงหาระยะทาง และความเร็ว ขณะที่ความเร่งเป็ นศูนย์


วิธีทา จะได้ 𝑣(𝑡) = 3𝑡 2 − 12𝑡 + 3
𝑎(𝑡) = 6𝑡 −12
12
ขณะที่ความเร่งเป็ นศูนย์ จะได้ 𝑎(𝑡) = 0 → 0 = 6𝑡 −12 → 𝑡= 6
=2
แทน 𝑡 = 2 เพื่อหา ระยะทางและความเร็ว
ระยะทาง: 𝑠(2) = 23 − 6(22 ) + 3(2) + 15 = 5
ความเร็ว: 𝑣(2) = 3(22 ) − 12(2) + 3 = −9 #
แคลคูลสั 39

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 𝑠(𝑡) = 𝑡 3 − 2𝑡 2 + 3𝑡 + 4 จงหาความเร็วและความเร่ง เมื่อ 𝑡=2

2. กาหนดให้ 𝑣(𝑡) = 5𝑡 2 + 2𝑡 − 3 จงหาความเร่ง ณ เวลา 𝑡 = 1

3. โยนลูกบอลขึน้ ไปในอากาศ โดยลูกบอลเคลือ่ นที่ดว้ ยสมการ 𝑠(𝑡) = 4𝑡 − 𝑡 2 จงหาว่าลูกบอลเคลือ่ นที่ได้สงู


เท่าไหร่ก่อนจะตกลงมา
40 แคลคูลสั

กฎของโลปิ ตาล

ประโยชน์อีกอย่างของอนุพนั ธ์ คือสามารถช่วยหา “ลิมติ ของฟังก์ชนั “ ได้


โดยเวลาหา lim 𝑓(𝑥) เราจะแทน 𝑎 ลงไปใน 𝑓(𝑥) ก่อน
xa
0
กรณีที่สร้างความลาบากให้เราทีส่ ดุ คือกรณีที่แทนแล้วได้ 0
ซึง่ ทาให้เราจัดรูปใหม่เพื่อให้ (𝑥 − 𝑎) โผล่มาตัดกัน

แต่ดว้ ยกฎของโลปิ ตาล จะช่วยให้เราหาลิมติ ในกรณี 00 ได้ง่ายขึน้


กฎของโลปิ ตาลกล่าวว่า ในกรณีที่แทน 𝑥 ด้วย 𝑎 แล้วได้ 00 ให้เรา “ดิฟ๊ เศษ 1 ที และ ดิฟ๊ ส่วน 1 ที แล้วค่อยแทนใหม่”
และถ้าแทนใหม่แล้วยังได้ 00 อีก ก็ให้ดิฟ๊ เศษกับส่วนต่อไปอีกที แล้วแทนใหม่ ทาเช่นนีไ้ ปเรือ่ ยๆจนกว่าจะหลุดจากกรณี 0
0

𝑥 2 −3𝑥+2
ตัวอย่าง จงหา lim 2
x  2 2𝑥 +𝑥−10
0
วิธีทา แทน 2 ลงไปดู จะได้ 0
ใช้กฎของโลปิ ตาล ดิฟ๊ บน ได้ 2𝑥 − 3 ดิฟ๊ ล่าง ได้ 4𝑥 + 1
𝑥 2 −3𝑥+2 2𝑥−3 2∙2−3 1
ดังนัน้ lim
2𝑥 2 +𝑥−10 = lim = = #
x2 x  2 4𝑥+1 4∙2+1 9

√𝑥+2−1
ตัวอย่าง จงหาค่าของ lim
x  1 √𝑥+5−2
0
วิธีทา แทน −1 ลงไปดู จะได้ 0
1 1
1 1
ใช้กฎของโลปิ ตาล ดิฟ๊ บน ได้ 2
(𝑥 + 2)−2 ∙ (1) = 2 (𝑥 + 2)−2
1 1
1 1
ดิฟ๊ ล่าง ได้ 2
(𝑥 + 5) 2 ∙ (1) = (𝑥 + 5)−2

2
1
1
√𝑥+2−1 (𝑥+2)−2 √4
ดังนัน้ lim = lim 2
1 = lim
√𝑥+5
= =2 #
x  1 √𝑥+5−2 x  1 1
(𝑥+5)−2 x  1 √𝑥+2 √1
2

หมายเหตุ: กฎของโลปิ ตาล เป็ นคนละเรือ่ งกับการ “ดิฟ๊ ผลหาร”


บน 0 ดิ๊ฟบน
กฎของโลปิ ตาล จะใช้หา lim ในกรณีที่แทนแล้วได้ โดยโลปิ ตาลบอกว่า ให้ไปหา lim แทน
x  a ล่าง 0 x  a ดิ๊ฟล่าง
𝑑 𝑑
𝑑 บน (ล่าง∙ บน)−(บน∙𝑑𝑥 ล่าง)
แต่ถา้ เราจะหา 𝑑 √𝑥+2−1
𝑑𝑥 √𝑥+5−2
จะยังต้องใช้สตู ร ( )
𝑑𝑥 ล่าง
= 𝑑𝑥
ล่าง 2 จะหาจาก ดิดิ๊ฟ๊ฟล่บนาง ไม่ได้

แบบฝึ กหัด
1. จงหาลิมติ ของฟังก์ชนั ต่อไปนีด้ ว้ ยกฎของโลปิ ตาล
3𝑥 2 +2𝑥−1 𝑥 2 −5𝑥+4
1. lim
𝑥 2 −1
2. lim
x  1 x  1 √𝑥−1
แคลคูลสั 41

𝑥 2 −3𝑥+2 𝑥 3 −3𝑥+2
3. lim 2 4. lim 𝑥 3 −4𝑥 2 +5𝑥−2
x  2 𝑥 −4𝑥+4 x 1

2. กาหนดให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓: ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่สามารถหาอนุพนั ธ์ได้ และสอดคล้องกับ


𝑥 2 +𝑥−6
lim
x  2 √1+𝑓(𝑥)−3
= 6 และ 1 + 𝑓(𝑥) ≥ 0 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
ถ้าเส้นตรง 6𝑥 − 𝑦 = 4 ตัดกับกราฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = 2 แล้วค่าของ 𝑓 ′ (2) เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ต.ค. 58)/33]

𝑥𝑓(𝑥)−333
3. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(3) = 111 และ lim
x 3 𝑥−3
= 2013

แล้วอัตราการเปลีย่ นแปลงของ 𝑓(𝑥) เทียบกับ 𝑥 ขณะที่ 𝑥 = 3 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/42]


42 แคลคูลสั

ความชันเส้นโค้ง

“ความชันเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥)” หมายถึงความชันของเส้นตรงที่ลากมาสัมผัสกราฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ณ จุดที่กาหนด


โดยความชันดังกล่าว จะหาได้จากการแทนค่า 𝑥 ของจุดที่ตอ้ งการลงไปใน 𝑓 ′(𝑥)
สรุปคือ
ความชัน = 𝑓 ′ (𝑥)

ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นสัมผัสโค้ง 𝑦 = 𝑥2 ณ จุด 𝑥 = 1


ความชัน = ?

วิธีทา ดิฟ๊ หนึง่ ที จะได้สมการความชัน คือ 𝑦 ′ = 2𝑥


ดังนัน้ ความชันเส้นสัมผัสโค้งที่ 𝑥 = 1 คือ 𝑦 ′ = (2)(1) = 2 #

ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นโค้ง 𝑦 = (2𝑥 2 − 1)3 ที่ 𝑥 = −1


วิธีทา ดิฟ๊ หนึง่ ที จะได้สมการความชัน คือ 𝑦 ′ = 3(2𝑥 2 − 1)2 (4𝑥)
ดังนัน้ ความชันที่ 𝑥 = −1 คือ 𝑦 ′ = 3(2 ∙ (−1)2 − 1)2 ∙ (4 ∙ −1) = −12 #

ตัวอย่าง จงหาจุดบนเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥 3 − 6𝑥 2 + 2𝑥 − 5 ที่มีความชันเท่ากับ 2


วิธีทา ดิฟ๊ หนึง่ ที จะได้สมการความชัน คือ 𝑦 ′ = 3𝑥 2 − 12𝑥 + 2 ข้อนี ้ ต้องหาว่าตรงไหนทีม่ ี 𝑦′ = 2
นั่นคือ ต้องแก้สมการ 2 = 3𝑥 2 − 12𝑥 + 2
0 = 3𝑥 2 − 12𝑥
0 = 3𝑥(𝑥 − 4)
𝑥 = 0,4

ถ้า 𝑥 = 0 จะได้ 𝑦 = 03 − 6 ∙ 02 + 2 ∙ 0 − 5 = −5
ถ้า 𝑥 = 4 จะได้ 𝑦 = 43 − 6 ∙ 42 + 2 ∙ 4 − 5 = −29
ดังนัน้ จุดบนเส้นโค้งที่มีความชันเท่ากับ 2 คือ (0, −5) และ (4, −29) #

ในเรือ่ งนี ้ เรามักต้องวาดรูปกราฟเพื่อทาความเข้าใจสิง่ ที่โจทย์ถาม


โดยความชันแบบต่างๆ จะมีความหมายดังนี ้

ชัน = 0 ชัน = +น้อยๆ ชัน = +1 ชัน = +มากๆ หาความชันไม่ได้

ชัน = −น้อยๆ ชัน = −1 ชัน = −มากๆ


แคลคูลสั 43

โจทย์ในหัวข้อนี ้ มักจะนาไปออกร่วมกับความรูเ้ รือ่ งกราฟเส้นตรง ซึง่ มีสตู รทีค่ วรทราบดังนี ้

สมการกราฟเส้นตรง ที่มคี วามชันเท่ากับ 𝑚 และตัดแกน Y ที่ 𝑐 คือ 𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑐


สมการกราฟเส้นตรง ที่มคี วามชันเท่ากับ 𝑚 และผ่านจุด (𝑎, 𝑏) คือ 𝑦−𝑏
𝑥−𝑎
= 𝑚
เส้นตรงที่ขนานกัน จะมีความชันเท่ากัน เส้นตรงที่ตงั้ ฉากกัน จะมีความชันคูณกันได้ −1

ตัวอย่าง จงหาสมการกราฟเส้นตรงที่สมั ผัสโค้ง 𝑦 = 𝑥 2 ที่ 𝑥 = 1

สมการคือ ?

วิธีทา หาความชันของเส้นสัมผัสก่อน โดยแทน 𝑥 = 1 ใน 𝑦 ′ = 2𝑥 ได้ ความชัน = 2(1) = 2


จากโจทย์ จุดสัมผัสจะมีพิกดั 𝑥 เป็ น 1 ดังนัน้ หาพิกดั 𝑦 ได้โดยแทน 𝑥 = 1 ในสมการโค้ง 𝑦 = 𝑥 2 ได้ 𝑦 = 1
ดังนัน้ จะได้พิกดั ของจุดสัมผัส คือ (1, 1)
จากสูตร จะได้สมการกราฟเส้นตรงที่มีความชัน 2 และผ่านจุด (1, 1) คือ 𝑦−1 𝑥−1
= 2
𝑦 − 1 = 2(𝑥 − 1)
𝑦 − 1 = 2𝑥 − 2
𝑦 = 2𝑥 − 1
นั่นคือ สมการกราฟเส้นตรงทีต่ อ้ งการ คือ 𝑦 = 2𝑥 − 1 #

ตัวอย่าง จงหาสมการเส้นตรงทีต่ งั้ ฉากกับเส้นสัมผัสกราฟ 𝑦 = 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 ที่จดุ (0, 5)


วิธีทา สมการความชัน คือ 𝑦 ′ = 2𝑥 − 2 ดังนัน้ เส้นสัมผัสกราฟที่ (0, 5) จะมีความชัน คือ (2)(0) − 2 = −2
เนื่องจาก เส้นตรงที่ตงั้ ฉากกันต้องมีความชันคูณกันได้ −1
ดังนัน้ เส้นตรงทีต่ งั้ ฉากกับเส้นสัมผัสนี ้ ต้องมีความชัน = 12 เพราะ – 2 × 12 = −1
จากสูตร จะได้สมการเส้นตรงทีม่ คี วามชัน 12 และ ผ่านจุด (0, 5) คือ 𝑦−5 𝑥−0
1 𝑥
= 2 ซึง่ จัดรู ปได้เป็ น 𝑦 = 2 + 5
ดังนัน้ สมการเส้นตรงที่ตอ้ งการ คือ 𝑦 = 𝑥2 +5 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาความชันของเส้นโค้ง ณ จุดที่กาหนด
1. 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 − 1 เมื่อ 𝑥 = 0 2. 𝑓(𝑥) = √𝑥 + 1 เมื่อ 𝑥 = 3

2. จงหาสมการเส้นตรงที่สมั ผัสโค้ง 𝑦 = 1 − 𝑥2 ที่ 𝑥 = 1


44 แคลคูลสั

1
3. จงหาสมการเส้นตรงที่ตงั้ ฉากกับสัมผัสโค้ง 𝑦 = 𝑥
ที่ 𝑥 = −2

4
4. กาหนดให้ C เป็ นเส้นโค้ง 𝑦 = 3𝑥𝑥3−2 เมื่อ 𝑥 > 0 และให้ L เป็ นเส้นตรงที่สมั ผัสกับเส้นโค้ง C ที่จดุ (1, 1)
ถ้าเส้นตรง L ตัดกับพาราโบลา 𝑥(𝑥 − 1) = 𝑦 − 1 ที่จดุ A และจุด B
แล้วระยะห่างระหว่างจุด A และจุด B เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/20]

5. เส้นตรงซึง่ ตัดตัง้ ฉากกับเส้นสัมผัสของเส้นโค้ง 𝑦 = 2𝑥 3 − √1𝑥 ที่จดุ 𝑥 = 1 คือเส้นตรงในข้อใดต่อไปนี ้


[PAT 1 (ก.ค. 52)/34]
1. 13𝑥 − 2𝑦 − 11 = 0 2. 13𝑥 + 2𝑦 − 15 = 0
3. 2𝑥 − 13𝑦 + 11 = 0 4. 2𝑥 + 13𝑦 − 15 = 0
แคลคูลสั 45

6. กาหนดให้ 𝐶 เป็ นเส้นโค้ง 𝑦 = 2 + 𝑥|𝑥 − 1| เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝐿 เป็ นเส้นตรงที่สมั ผัสกับเส้นโค้ง 𝐶 ที่
จุด (0, 2) และให้ 𝑁 เป็ นเส้นตรงที่ตงั้ ฉากกับเส้นตรง 𝐿 ณ จุด (0, 2) แล้วเส้นตรง 𝑁 ผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (ต.ค. 58)/14]
1. (−1, 3) 2. (1, 5) 3. (−2, 5)
4. (3, −2) 5. (−3, 4)

2
7. กาหนดให้ 𝑓 : R → R โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3
ถ้า N เป็ นเส้นตรงทีต่ งั้ ฉากกับเส้นสัมผัสกราฟของ 𝑓(𝑥) ที่จดุ (𝑎, 𝑓(𝑎)) , 𝑎 > 0
และ N มีระยะตัดแกน 𝑦 เท่ากับ 52 หน่วย แล้ว ข้อใดเป็ นพิกดั ของจุดบนเส้นตรง N [PAT 1 (ธ.ค. 54)/17]
1. (−2, 7) 2. (−1, 4) 3. (2, −4) 4. (3, −5)

8. กาหนดให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยทัง้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ที่
สามารถหาอนุพนั ธ์ได้ และสอดคล้องกับ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = √𝑥 2 + 5 สาหรับทุก 𝑥 ที่อยูใ่ นโดเมนของ 𝑓 ∘ 𝑔
และ ∫ 𝑔(𝑥) 𝑑𝑥 = 𝑥 2 − 4𝑥 + 𝐶 เมื่อ 𝐶 เป็ นค่าคงตัว ถ้า 𝐿 เป็ นเส้นตรงที่สมั ผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ณ 𝑥 = 0
แล้วเส้นตรง 𝐿 ตัง้ ฉากกับเส้นตรงที่มีสมการตรงกับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (พ.ย. 57)/16]
1. 𝑥 + 𝑦 − 3 = 0 2. 2𝑥 + 𝑦 − 7 = 0
3. 3𝑥 + 𝑦 − 5 = 0 4. 5𝑥 + 𝑦 − 2 = 0
46 แคลคูลสั

ฟั งก์ชนั เพิ่ม – ฟั งก์ชนั ลด

ถ้ายังจาได้ 𝑓 ′(𝑥) ก็คือ อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ


 ถ้า 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นบวก แปลว่าอัตราการเปลีย่ นแปลงเป็ นบวก หมายถึง 𝑓(𝑥) เปลีย่ นแบบเพิ่มขึน้
หมายความว่า 𝑓(𝑥) เพิ่มขึน้ เมื่อ 𝑥 เพิม่ ขึน้ และ 𝑓(𝑥) ลดลง เมื่อ 𝑥 ลดลง
ในกรณีนี ้ เราจะเรียกว่า 𝑓(𝑥) เป็ น “ฟั งก์ชนั เพิ่ม”
 ถ้า 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นลบ แปลว่าอัตราการเปลีย่ นแปลงเป็ นลบ หมายถึง 𝑓(𝑥) เปลีย่ นแบบลดลง
หมายความว่า 𝑓(𝑥) ลดลง เมื่อ 𝑥 เพิ่มขึน้ และ 𝑓(𝑥) เพิ่มขึน้ เมื่อ 𝑥 ลดลง
ในกรณีนี ้ เราจะเรียกว่า 𝑓(𝑥) เป็ น “ฟั งก์ชนั ลด”

สรุป: ถ้าค่า 𝑥 ตรงไหนที่ทาให้ 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นบวก แปลว่า 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั เพิม่ ที่ตรงนัน้
ถ้าค่า 𝑥 ตรงไหนที่ทาให้ 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นลบ แปลว่า 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั ลดที่ตรงนัน้
ส่วนค่า 𝑥 ที่ทาให้ 𝑓 ′ (𝑥) = 0 คือจุดเปลีย่ นสถานะของฟั งก์ชนั

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม หรือลด เมื่อ 𝑥 = 3
วิธีทา จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = 2𝑥 − 2 ดังนัน้ 𝑓 ′ (3) = 2(3) − 2 = 4 เป็ นบวก
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั เพิม่ ที่ 𝑥 = 3 #

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥 2 − 9𝑥 + 1 จงหาค่า 𝑥 ที่ทาให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั ลด


วิธีทา จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = 3𝑥 2 − 6𝑥 − 9
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) จะเป็ นฟังก์ชนั ลด เมื่อ 3𝑥 2 − 6𝑥 − 9 < 0
𝑥 2 − 2𝑥 − 3 < 0 + − +
(𝑥 − 3)(𝑥 + 1) < 0
−1 3
จะได้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั ลด เมื่อ 𝑥 ∈ (−1, 3) #

แบบฝึ กหัด
1. จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ในแต่ละข้อต่อไปนี ้ เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มหรือฟั งก์ชนั ลด ณ ค่า 𝑥 ที่กาหนด
1. 𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 − 3𝑥 + 5 เมื่อ 𝑥 = 1 2. 𝑓(𝑥) = √𝑥 2 − 𝑥 + 1 เมื่อ 𝑥 = 0

1
3. 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 +𝑥−2
เมื่อ 𝑥 = −1 4. 𝑓(𝑥) = (1 − 2𝑥)100 เมื่อ 𝑥 = 1
แคลคูลสั 47

2. จงพิจารณาว่า 𝑓(𝑥) ในแต่ละข้อต่อไปนี ้ เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มเมื่อ 𝑥 มีคา่ อยูใ่ นช่วงใด
1. 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 6𝑥 + 5 2. 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 6𝑥 2 + 9𝑥 + 6

3. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 4 − 3𝑥 2 + 7 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน


ั เพิ่มบนเซตในข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (มี.ค. 52)/33]
1. (−3, −2) ∪ (2, 3) 2. (−3, −2) ∪ (1, 2)
3. (−1, 0) ∪ (2, 3) 4. (−1, 0) ∪ (1, 2)

2𝑥
4. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓 −1 (𝑥) = 𝑥+1 สาหรับทุก
สมาชิก 𝑥 ในเรนจ์ของ 𝑓 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (ต.ค. 58)/15]
1. 2𝑓 ′(4) − 𝑓(4) = 3
2. 𝑓 ′′(𝑓(4)) = 𝑓(𝑓 ′′(4))
3. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (0, 2)
48 แคลคูลสั

ค่าสูงสุด ต่าสุด

ประโยชน์ของอนุพนั ธ์ ที่ดจู ะเป็ นประโยชน์กบั เรามากกว่าอันอื่น คือ การนาอนุพนั ธ์ไปใช้หาค่าสูงสุด หรือ ค่าต่าสุด ได้
โจทย์ที่จะเจอในเรือ่ งนี ้ เช่น กาหนด 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 แล้วถามว่า 𝑓(𝑥) จะมีคา่ น้อยที่สดุ ได้เท่ากับเท่าไหร่
สมมติวา่ เราไม่เคยเรียนเรือ่ งอนุพนั ธ์มาก่อน เราอาจจะใช้แรง ลุยแทน 𝑥 ด้วยค่าต่างๆลงไปดู จะได้คา่ 𝑓(𝑥) ดังนี ้
𝑥 𝑓(𝑥)
−2 (−2)2 − 2(−2) + 5 = 13
−1 (−1)2 − 2(−1) + 5 = 8
0 (0)2 − 2( 0 ) + 5 = 5
1 (1)2 − 2( 1 ) + 5 = 4
2 (2)2 − 2( 2 ) + 5 = 5
3 (3)2 − 2( 3 ) + 5 = 8

จากการลุยแทนค่า จะพอเดาได้วา่ 𝑥 = 1 น่าจะได้ 𝑓(𝑥) มีคา่ ต่าสุด เท่ากับ 4

อย่างไรก็ตาม เราสามารถนาความรูเ้ รือ่ งอนุพนั ธ์มาหาค่าสูงสุด หรือ ค่าต่าสุดได้ โดยอาศัยแนวคิดต่อไปนี ้


 จุดต่าสุด จะเป็ นจุดที่ 𝑓(𝑥) เปลีย่ นสถานะจากขาลง เป็ นขาขึน้
 จุดสูงสุด จะเป็ นจุดที่ 𝑓(𝑥) เปลีย่ นสถานะจากขาขึน้ เป็ นขาลง

จากหัวข้อที่แล้วเรือ่ งฟังก์ชนั เพิ่ม – ฟั งก์ชนั ลด จุดที่ 𝑓(𝑥) เปลีย่ นสถานะดังกล่าว ก็คือจุดที่ 𝑓 ′(𝑥) = 0 นั่นเอง
โดยเราจะเรียกจุดที่ 𝑓(𝑥) เปลีย่ นจากขาลงเป็ นขาขึน้ หรือ ขาขึน้ เป็ นขาลง ว่า “จุดวกกลับ”
และจะเรียกค่า 𝑥 ทีจ่ ดุ วกกลับนี ้ ว่า “ค่าวิกฤติ”

ตัวอย่าง จงหาจุดวกกลับของ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 5


วิธีทา จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = 2𝑥 − 2
เนื่องจากจุดวกกลับ คือจุดที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 0 ดังนัน้ ให้ 2𝑥 − 2 = 0 จะได้ 𝑥 = 1 (= ค่าวิกฤติ)
แทน 𝑥 = 1 ลงไปในสมการ 𝑓(𝑥) เพื่อหาค่า 𝑦 จะได้ 𝑓(1) = 12 − 2(1) + 5 = 4
ดังนัน้ จะได้จดุ วกกลับคือ (1 , 4) #

จะเห็นว่าจุดวกกลับ อาจจะเป็ นได้ทงั้ แบบทีเ่ ปลีย่ นจาก “ขาลงเป็ นขาขึน้ ” และ แบบ “ขาขึน้ เป็ นขาลง”
จุดวกกลับ จึงอาจเป็ นได้ทงั้ จุดต่าสุด หรือ จุดสูงสุด ก็ได้
เช่นในตัวอย่างข้างบน เราจะไม่รูว้ า่ (1 , 4) เป็ นจุดต่าสุด หรือจุดสูงสุด

ถ้าอยากรูว้ า่ (1 , 4) เป็ นจุดต่าสุด หรือจุดสูงสุด วิธีง่ายๆ คือ ใช้แรงลุยแทนค่ารอบๆ 𝑥 = 1 ดู


โดยเราจะเอาค่า 𝑦 ของจุดรอบๆ มาเทียบกับ 4
เช่น แทน 𝑥 = 0 จะได้ 𝑓(𝑥) = (0)2 − 2(0) + 5 = 5 → มากกว่า 4
แทน 𝑥 = 2 จะได้ 𝑓(𝑥) = (2)2 − 2(2) + 5 = 5 → มากกว่า 4
จะเห็นว่าจุดข้างๆต่างก็มีคา่ 𝑦 สูงกว่า 4 ดังนัน้ (1, 4) เป็ นจุดต่าสุด
แคลคูลสั 49

มีอีกวิธี ที่จะใช้บอกได้วา่ จุดวกกลับเป็ นจุดต่าสุด หรือจุดสูงสุด โดยการดู “เครือ่ งหมาย” ของ 𝑓 ′ (𝑥) ดังนี ้
จุดวกกลับแบบสูงสุด
𝑓 ′ (𝑥) เป็ นลบ 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นบวก
ฟังก์ชนั ลด ฟังก์ชนั เพิ่ม 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นบวก 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นลบ
กราฟขาลง กราฟขาขึน้ ฟังก์ชนั เพิ่ม ฟังก์ชนั ลด
กราฟขาขึน้ กราฟขาลง
จุดวกกลับแบบต่าสุด

สรุป 𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจาก ลบ เป็ น บวก → จุดต่าสุด


𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจาก บวก เป็ น ลบ → จุดสูงสุด
โดยเราจะใช้เส้นจานวนมาพิจารณาเครือ่ งหมายของ 𝑓 ′ (𝑥) เหมือนกับตอนที่แก้อสมการ ดังตัวอย่างต่อไปนี ้

ตัวอย่าง จงหาจุดสูงสุด หรือจุดต่าสุด ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 3𝑥 2 − 9𝑥 + 5


วิธีทา จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = 3𝑥 2 + 6𝑥 − 9
(𝑥 + 3)(𝑥 − 1)
+ − +

−3 1
สูงสุดที่ 𝑥 = −3
𝑓(−3) = (−3)3 + 3(−3)2 − 9(−3) + 5 = 32
ขึน้ ลง ขึน้
ต่าสุดที่ 𝑥 = 1
𝑓(1) = 13 + 3(1) − 9(1) + 5 = 0
ดังนัน้ จุดสูงสุดคือ (−3 , 32) และจุดต่าสุดคือ (1 , 0) #

นอกจากนี ้ เรายังสามารถใช้ 𝑓 ′′(𝑥) มาช่วยได้ดว้ ย


จะเห็นว่า 𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจาก ลบ เป็ น บวก แสดงว่า 𝑓 ′ (𝑥) เพิ่มขึน้ → จะได้ 𝑓 ′′(𝑥) เป็ นบวก
แต่ถา้ 𝑓 ′ (𝑥) เปลีย่ นจาก บวก เป็ น ลบ แสดงว่า 𝑓 ′ (𝑥) ลดลง → จะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) เป็ นลบ
สรุป ถ้าจุดวกกลับที่ได้ ทาให้ 𝑓 ′′ (𝑥) > 0 แปลว่าจุดนั่นเป็ นจุดต่าสุด
แต่ถา้ ทาให้ 𝑓 ′′(𝑥) < 0 แปลว่าจุดนั่นเป็ นจุดสูงสุด
และถ้าทาให้ 𝑓 ′′(𝑥) = 0 จะยังไม่รูว้ า่ เป็ นจุดต่าสุดหรือจุดสูงสุด ต้องพิจารณาเครือ่ งหมายแบบเก่า

ตัวอย่าง จากตัวอย่างที่แล้ว จงใช้ 𝑓 ′′(𝑥) ในการพิจารณาจุดวกกลับ (−3 , 32) และ (1 , 0) ของ 𝑓(𝑥) ว่าจุดใดเป็ น
จุดสูงสุด และจุดใดเป็ นจุดต่าสุด
วิธีทา จาก 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 + 6𝑥 − 9 → ดิฟต่อไปอีกที จะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) = 6𝑥 + 6
ที่ 𝑥 = −3 จะได้ 𝑓 ′′(−3) = 6(−3) + 6 = −12 เป็ นลบ ดังนัน้ (−3 , 32) เป็ นจุดสูงสุด
ที่ 𝑥 = 1 จะได้ 𝑓 ′′(1) = 6(1) + 6 = 12 เป็ นบวก ดังนัน้ (1 , 0) เป็ นจุดต่าสุด #

ตัวอย่าง จงหาจุดสูงสุด หรือจุดต่าสุด ของ 𝑓(𝑥) = 4 − 4𝑥 − 𝑥 2 โดยใช้ 𝑓 ′′ (𝑥)


วิธีทา จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = −4 − 2𝑥
จุดสูงสุด หรือจุดต่าสุด จะเป็ นจุดที่ 𝑓 ′(𝑥) = 0 ดังนัน้ ต้องแก้สมการ −4 − 2𝑥 = 0
− 2𝑥 = 4
𝑥 = −2
50 แคลคูลสั

หาค่า 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = −2 จะได้ 𝑓(−2) = 4 − 4(−2) − (−2)2 = 8


ดังนัน้ จุดวกกลับ คือ (−2 , 8) ต่อไปจะหาว่าจุด (−2 , 8) เป็ นจุดต่าสุด หรือจุดสูงสุด โดยใช้ 𝑓 ′′ (𝑥)
ดิฟ๊ 𝑓 ′ (𝑥) ต่อไปอีกที จะได้ 𝑓 ′′ (𝑥) = −2 จะเห็นว่า 𝑓 ′′ (𝑥) เป็ นลบ โดยไม่ขนึ ้ กับค่า 𝑥
ดังนัน้ (−2 , 8) เป็ นจุดสูงสุด #

โดยโจทย์ในเรือ่ งนี ้ จะถามได้ 2 แบบ คือ “จุด” กับ “ค่า”


→ ถ้าโจทย์ถาม “จุด” สูงสุด (หรือต่าสุด) ให้ตอบเป็ นคูอ่ น
ั ดับ (𝑥, 𝑦)
→ ถ้าโจทย์ถาม “ค่า” สูงสุด (หรือต่าสุด) ให้ตอบค่า 𝑓(𝑥)

ตัวอย่าง จงหาค่าสูงสุด หรือค่าต่าสุด ของ 𝑓(𝑥) = 3𝑥 4 − 8𝑥 3 − 6𝑥 2 + 24𝑥 + 8


วิธีทา จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = 12𝑥 3 − 24𝑥 2 − 12𝑥 + 24
= 12(𝑥 3 − 2𝑥 2 − 𝑥 + 2)
= 12(𝑥 2 (𝑥 − 2) − (𝑥 − 2)) ลง ขึน้ ลง ขึน้
= 12(𝑥 − 2)(𝑥 2 − 1) − + − +
= 12(𝑥 − 2)(𝑥 − 1)(𝑥 + 1)
−1 1 2
ดังนัน้ จุดต่าสุด เกิดที่ 𝑥 = −1 กับ 2 และจุดสูงสุดเกิดที่ 𝑥 = 1
𝑥 = −1 จะได้ 𝑓(−1) = 3(−1)4 − 8(−1)3 − 6(−1)2 + 24(−1) + 8 = −11
𝑥 = 1 จะได้ 𝑓(1) = 3(1)4 − 8(1)3 − 6(1)2 + 24(1) + 8 = 21
𝑥 = 2 จะได้ 𝑓(2) = 3(2)4 − 8(2)3 − 6(2)2 + 24(2) + 8 = 16
ดังนัน้ “จุด” ต่าสุด คือ (−1, −11) และ (2, 16) “จุด” สูงสุด คือ (1, 21)
จะได้ “ค่า” ต่าสุด คือ −11 และ 16 “ค่า” สูงสุด คือ 21 #

จากตัวอย่างที่แล้ว ถ้าลองวาดกราฟของ 𝑓(𝑥) = 3𝑥 4 − 8𝑥 3 − 6𝑥 2 + 24𝑥 + 8 ดู จะได้ดงั รู ป

(1, 21)

(2, 16)

(−1, −11)

ดังนัน้ คาตอบที่ได้วา่ (1, 21) เป็ นจุดสูงสุด กับ (2, 16) เป็ นจุดต่าสุดนัน้ ไม่จริงซะทีเดียว
จุดพวกนี ้ แค่สงู หรือต่ากว่าจุดข้างๆเท่านัน้ แต่ไม่ใช่จดุ สูงที่สดุ หรือต่าที่สดุ อย่างแท้จริง
 จุดที่สงู (หรือต่า) กว่าจุดข้างๆ จะเรียกว่า จุดสูงสุด (หรือต่าสุด) สัมพัทธ์ จุดสัมบูรณ์ จะเป็ นสัมพัทธ์ดว้ ย
 จุดที่สงู (หรือต่า) ที่สดุ อย่างแท้จริง จะเรียกว่า จุดสูงสุด (หรือต่าสุด) สัมบูรณ์ เพราะถ้าจะเป็ นที่สดุ จริงๆได้ ก็
ต้องชนะจุดข้างๆอยูแ่ ล้ว
ดังนัน้ เป็ นจุดสูงสุดสัมพัทธ์ และ (2, 16) กับ (−1, 11) เป็ นจุดต่าสุดสัมพัทธ์
(1, 21)
(−1, 11) เป็ นจุดต่าสุดสัมบูรณ์ และ 𝑓(𝑥) ไม่มีจด ุ สูงสุดสัมบูรณ์ (เพราะกราฟพุง่ ขึน้ อย่างไม่มีขอบเขต)
แคลคูลสั 51

ปกติเรามักจะไม่คอ่ ยชอบจุดแบบสัมพัทธ์เท่าไหร่ เพราะมันไม่เป็ นที่สดุ จริงๆ


ในกรณีที่โจทย์ให้หาจุดแบบสัมบูรณ์ เราจะต้องหาจุดแบบสัมพัทธ์ออกมาก่อน แล้วค่อยคัดเลือกจุดสัมบูรณ์ออกมา โดย
 จุดสูงสุดสัมบูรณ์ จะหาได้จากจุดที่สงู ที่สดุ ในบรรดาจุดสูงสุดสัมพัทธ์ และจุดขอบ
 จุดต่าสุดสัมบูรณ์ จะหาได้จากจุดที่ต่าที่สดุ ในบรรดาจุดต่าสุดสัมพัทธ์ และจุดขอบ
ในเรือ่ งนี ้ โจทย์มกั จะกาหนดขอบเขตของค่า 𝑥 มาให้ (แต่ถา้ ไม่ได้กาหนดขอบเขตมา จะใช้ 𝑥 → ∞ กับ 𝑥 → −∞)

ตัวอย่าง จงหาจุดสูงสุดสัมบูรณ์ และจุดต่าสุดสัมบูรณ์ ของ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 3 − 3𝑥 2 + 5 เมื่อ 𝑥 ∈ [−2, 3]


วิธีทา หาจุดสูงสุด ต่าสุด สัมพัทธ์ ก่อน
𝑓 ′ (𝑥) = 6𝑥 2 − 6𝑥 = 0
𝑥2 − 𝑥 = 0
𝑥(𝑥 − 1) = 0
𝑥 = 0,1 จุดสัมพัทธ์ จุดขอบ
ดังนัน้ ค่า 𝑥 ที่ “ต้องสงสัย” ว่าจะทาให้เกิดค่าสูงสุด หรือต่าสุด สัมบูรณ์ คือ 0 , 1 , −2 , 3
แทนค่า 𝑥 ที่ตอ้ งสงสัย เพื่อหา 𝑓(𝑥) มาเทียบกัน
𝑥 = 0: จะได้ 𝑓(0) = 2(0)3 − 3(0)2 + 5 = 5
𝑥 = 1: จะได้ 𝑓(1) = 2(1)3 − 3(1)2 + 5 = 4
𝑥 = −2: จะได้ 𝑓(−2) = 2(−2)3 − 3(−2)2 + 5 = −23
𝑥 = 3: จะได้ 𝑓(3) = 2(3)3 − 3(3)2 + 5 = 32

ดังนัน้ จุดสูงสุดสัมบูรณ์ คือ (3 , 32) และจุดต่าสุดสัมบูรณ์ คือ (−2, −23) #

สิง่ ที่สร้างปั ญหาให้กบั นักเรียนส่วนใหญ่ในเรือ่ งนี ้ ก็คือ “โจทย์ปัญหา”


โดยโจทย์จะสร้างเรือ่ งราวและเงื่อนไขต่างๆมาให้ แล้วให้เราหาค่าสูงสุด หรือต่าสุด ของปริมาณทีต่ อ้ งการ
โดยขัน้ ตอนการทาคร่าวๆ จะเป็ นดังนี ้
1. ให้ปริมาณที่โจทย์ตอ้ งการหาค่าสูงสุด หรือต่าสุด เป็ น 𝑓(𝑥)
2. สมมุติให้ตวั แปร 𝑥 แทนปริมาณซักอย่าง ที่มีผลต่อ 𝑓(𝑥)
3. ลุยอ่านโจทย์ใหม่ เขียนปริมาณอืน่ ๆที่มีผลต่อ 𝑓(𝑥) ให้อยูใ่ นเทอมของ 𝑥
4. เขียนสมการของ 𝑓(𝑥) ในเทอมของ 𝑥
5. ใช้ความรูใ้ นเรือ่ งอนุพนั ธ์ เพื่อหาค่าสูงสุด หรือต่าสุด “สัมบูรณ์” ของ 𝑓(𝑥)

ขัน้ ตอนที่ยากที่สดุ คือขัน้ ที่ 3 เพราะเราต้องทาทุกอย่างให้อยูใ่ นเทอมของ 𝑥


ซึง่ ถ้าสมมติตวั แปร 𝑥 ในขัน้ ที่ 2 ไว้ไม่ดี ก็จะลาบากในขัน้ ที่ 3

ตัวอย่าง มีลวดยาว 20 เมตร นามาล้อมเป็ นสีเ่ หลีย่ มมุมฉากได้พนื ้ ที่มากที่สดุ เท่ากับเท่าไร


วิธีทา ขัน้ ที่ 1 โจทย์ตอ้ งการหา “พืน้ ที”่ มากสุด ดังนัน้ เราจะให้ 𝑓(𝑥) แทนพืน้ ที่ของสีเ่ หลีย่ มมุมฉากที่ลอ้ มได้
ขัน้ ที่ 2 ให้ 𝑥 แทน “ด้านยาว” ของสีเ่ หลีย่ ม เราต้องเขียน 𝑓(𝑥) ในเทอมของ 𝑥
ขัน้ ที่ 3 หา “ด้านกว้าง” ในเทอมของ 𝑥
ด้านยาวมี 2 ด้าน ดังนัน้ เสียลวดไปกับด้านยาว = 2𝑥
52 แคลคูลสั

เหลือลวดสาหรับด้านกว้างที่เหลือ = 20 − 2𝑥
แต่ดา้ นกว้างมี 2 ด้าน ดังนัน้ จะได้วา่ ด้านกว้าง = 20−2𝑥 2
= 10 − 𝑥
ขัน้ ที่ 4 จากสูตร พืน้ ที่สเี่ หลีย่ มมุมฉาก = กว้าง × ยาว ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = 𝑥(10 − 𝑥) = 10𝑥 − 𝑥 2
ขัน้ ที่ 5 หาค่าสูงสุด ต่าสุด ของ 𝑓(𝑥)
ให้ 𝑓 ′ (𝑥) = 10 − 2𝑥 = 0 จะได้ 𝑥 = 5
แทนใน 𝑓(𝑥) จะได้ 𝑓(5) = 5(10 − 5) = 25
และสุดท้าย 𝑓 ′′ (𝑥) = −2 เป็ นลบ แปลว่าได้คา่ สูงสุด
ดังนัน้ ต้องล้อมให้สเี่ หลีย่ มยาว 5 เมตร จึงจะได้พนื ้ ที่มากที่สดุ คือ 25 ตารางเมตร #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาจุดสูงสุด / ต่าสุด สัมพัทธ์ ของฟั งก์ชนั ในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 3𝑥 2 − 9𝑥 + 15 2. 𝑔(𝑥) = (𝑥 + 1)(3 − 𝑥)

2. จงหาค่าสูงสุด / ต่าสุด สัมบูรณ์ ของฟั งก์ชนั ในแต่ละข้อต่อไปนี ้


1. 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 4𝑥 − 4 เมื่อ 𝑥 ∈ [−4, 2]
แคลคูลสั 53

2. 𝑓(𝑥) = 10 + 12𝑥 + 3𝑥 2 − 2𝑥 3 เมื่อ 𝑥 ∈ [0, ∞]

3. ถ้าเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีความชันของเส้นสัมผัสที่จดุ (𝑥, 𝑦) เท่ากับ 𝑥−2 และ 𝑓(𝑥) มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์เท่ากับ
5 แล้ว จงหาค่าของ 𝑓(2)

4. มีลวดยาว 12 เมตร ต้องการล้อมที่ดินริมแม่นา้ ให้เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก โดยล้อมแค่ 3 ด้าน เว้นด้านที่ติดริมแม่นา้
ไม่ตอ้ งล้อม จงหาว่าจะล้อมได้พนื ้ ที่มากที่สดุ เท่าไร
54 แคลคูลสั

5. มีลวดยาว 20 เมตร ต้องการล้อมที่ดินรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า โดยแบ่งเป็ น 4 ช่องตามรูป จะ


สามารถล้อมได้พนื ้ ทีม่ ากที่สดุ เท่าไร

6. โรงงานผลิตตุ๊กตาแห่งหนึง่ มีตน้ ทุนในการผลิตตุก๊ ตา 𝑥 ตัว โรงงงานจะต้องเสียค่าใช้จา่ ย


𝑥 3 − 450𝑥 2 + 60,200𝑥 + 10,000 บาท ถ้าขายตุ๊กตาราคาตัวละ 200 บาท โรงงานจะต้องผลิตตุก๊ ตากี่ตวั
จึงจะได้กาไรมากที่สดุ [PAT 1 (ก.ค. 53)/36]

7. กาหนดให้ ℝ เป็ นเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : ℝ → ℝ และ 𝑔 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์ทกุ อันดับ และ
สอดคล้องกับ 𝑔(𝑥) = 𝑥𝑓(𝑥) และ 𝑔′ (𝑥) = 4𝑥 3 + 9𝑥 2 + 2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 59)/28]
1. ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ากับ 6
2. ค่าต่าสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ากับ 2
3. อัตราการเปลีย่ นแปลงของ (𝑓 + 𝑔)(𝑥) เทียบกับ 𝑥 ขณะที่ 𝑥 = 1 เท่ากับ 12
แคลคูลสั 55

8. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง และกาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 เมื่อ 𝑥 ≠ 0 โดยที่ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นเส้นโค้งที่สมั ผัส
กับเส้นตรง 𝑦 = 1 ที่จดุ (1, 1) ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (พ.ย. 57)/7]
1. 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1
2. limx 1
(𝑓 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑓(2𝑎2 + 2𝑏 2 )

4𝑥 3
9. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 6 −3𝑥 3 +64
เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริงบวกใดๆ ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง
[PAT 1 (มี.ค. 57)/19]
1. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (0, 3)
4
2. ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ากับ 13
56 แคลคูลสั

ปฏิยานุพนั ธ์

เรือ่ งนีจ้ ะเป็ นกระบวนการที่ ตรงข้ามกับการดิฟ๊


“ปฏิยานุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥)” เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 หมายถึง ฟั งก์ชนั ที่ดฟิ๊ แล้วได้ 𝑓(𝑥)
คาว่า “ปฏิยานุพนั ธ์” บางทีเรียกว่า “ปริพนั ธ์” หรือ “อินทิกรัล” หรือ “อินทิเกรต” ก็ได้
ดิฟ๊ ดิฟ๊ ดิฟ๊
∫ 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 𝑓 ′ (𝑥) 𝑓 ′′ (𝑥)
𝑓(𝑥)
ปฏิยานุพนั ธ์ อนุพนั ธ์ อนุพนั ธ์อนั ดับสอง
อินทิเกรต อินทิเกรต อินทิเกรต

หมายเหตุ: เรานิยมใช้สญ
ั ลักษณ์ 𝐹(𝑥) แทน ปฏิยานุพนั ธ์ของ 𝑓(𝑥)

ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องการหา ∫(2𝑥 − 3) 𝑑𝑥 เราจะต้องหาว่าอะไรที่ดิฟ๊ แล้วได้ 2𝑥 − 3


จะได้คาตอบคือ 𝑥 2 − 3𝑥 นั่นเอง
อย่างไรก็ตาม นอกจาก 𝑥 2 − 3𝑥 แล้ว จะเห็นว่า 𝑥 2 − 3𝑥 + 1 ก็ดิฟ๊ แล้วได้ 2𝑥 − 3 เหมือนกัน
𝑥 2 − 3𝑥 + 2 ก็ดว้ ย
𝑥 2 − 3𝑥 − 8 ก็ได้
เพราะส่วนทีเ่ ป็ นตัวเลข ไม่วา่ จะเป็ นเลขอะไร ดิฟ๊ แล้วก็หายไปเหมือนกัน
ดังนัน้ จะได้ผลการอินทิเกรต ∫(2𝑥 − 3) 𝑑𝑥 เท่ากับ 𝑥 2 − 3𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑐 เป็ นตัวเลขคงทีใ่ ดๆนั่นเอง

สูตรสาหรับอินทิเกรตที่ควรจาได้แก่ ∫ 𝑎𝑥 𝑛 𝑑𝑥 =
𝑎
𝑥 𝑛+1 +𝑐
𝑛+1

โดยเรามักจะท่องว่า เพิ่มกาลังเพิม่ ขึน้ หนึง่ แล้วเอากาลังลงมาหาร เช่น


8 4 6 2
∫ 8𝑥 3 𝑑𝑥 = 4
𝑥 + 𝑐 = 2𝑥 4 + 𝑐 ∫ 6𝑥 𝑑𝑥 = 2
𝑥 + 𝑐 = 3𝑥 2 + 𝑐
3 1 1
− 3
∫ 2 𝑑𝑥 = 2𝑥 + 𝑐 ∫ 3𝑥 2 𝑑𝑥 = 1 𝑥 − 2 = −6𝑥 − 2 + 𝑐

2

เราสามารถกระจายอินทิเกรตในการบวกลบได้ แต่หา้ มกระจายในการคูณหาร


𝑥3
เช่น ∫(𝑥 2 − 4𝑥 + 2) 𝑑𝑥 = 3
− 2𝑥 2 + 2𝑥 + 𝑐
2
แต่ ∫(𝑥 + 1)(2𝑥 − 3) 𝑑𝑥 ≠ (𝑥2 + 𝑥 + 𝑐) (𝑥 2 − 3𝑥 + 𝑐)
ถ้าจะหา ∫(𝑥 + 1)(2𝑥 − 3) 𝑑𝑥 ต้องกระจายเป็ น ∫(2𝑥 2 − 𝑥 − 3) 𝑑𝑥 ก่อน

และจะเห็นว่า เราต้องติด 𝑐 ในผลลัพธ์การอินทิเกรตเสมอ เพราะไม่วา่ 𝑐 เป็ นตัวเลขอะไร มันจะหายไปเมื่อถูกดิฟ๊


แต่สว่ นใหญ่ โจทย์มกั จะบอกข้อมูลบางอย่างเพิ่มเติม เพื่อให้หาค่า 𝑐 ได้

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓 ′ (𝑥) = 2𝑥 + 1 ถ้า 𝑓(1) = 5 จงหา 𝑓(𝑥)


วิธีทา วิธีทาคือ เราจะอินทิเกรต 𝑓 ′(𝑥) กลับไปให้กลายเป็ น 𝑓(𝑥)
นั่นคือจะได้ 𝑓(𝑥) = ∫(2𝑥 + 1) 𝑑𝑥 = 𝑥 2 + 𝑥 + 𝑐
แคลคูลสั 57

แต่โจทย์บอกว่า 𝑓(1) = 5 แปลว่า 12 + 1 + 𝑐 = 5


ดังนัน้ 𝑐 = 5 − 1 − 1 = 3 นั่นคือจะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 𝑥 + 3 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าของอินทิกรัลต่อไปนี ้
1. ∫(4𝑥 − 3) 𝑑𝑥 2. ∫(2𝑥 3 + 6𝑥 2 − 3𝑥 + 5) 𝑑𝑥

1
3. ∫ √𝑥 𝑑𝑥 4. ∫
√𝑥
𝑑𝑥

𝑥 2 +2𝑥
5. ∫(𝑥 + 1)(𝑥 − 1) 𝑑𝑥 6. ∫ 𝑥
𝑑𝑥

2. กาหนดให้ 𝑓 ′ (𝑥) = 6𝑥 2 − 1 ถ้า 𝑓(−1) = 0 แล้ว จงหา 𝑓(1)

3. กาหนดให้ 𝑓 ′′ (𝑥) = 6𝑥 + 2 ถ้า 𝑓 ′ (0) = 1 และ 𝑓(1) = 0 แล้ว จงหา 𝑓(0)


58 แคลคูลสั

4. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริง โดยที่อตั ราการเปลีย่ นแปลงของ 𝑓(𝑥) เทียบกับ 𝑥
เท่ากับ 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง และให้ 𝑔(𝑥) = (𝑥 3 + 2𝑥)𝑓(𝑥) ถ้า 𝑓 ′ (1) = 18 ,
𝑓 ′′ (0) = 6 และ 𝑓(2) = 𝑓(1) + 𝑓(0) แล้วค่าของ 𝑔′ (−1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/39]

5. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ 𝑓 ′′ (𝑥) = 3 + 6𝑥 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 และ
ความชันของเส้นสัมผัสโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ณ จุด (2, 22) เท่ากับ 20 แล้วค่าของ lim x4
𝑓(𝑥) เท่ากับเท่าใด

[PAT 1 (มี.ค. 57)/42]

6. กาหนดให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓 ′(𝑥) = 3√𝑥 + 5 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
𝑓(𝑥 2 )−2
และ 𝑓(1) = 5 แล้วค่าของ lim
𝑓(𝑥)
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 53)/38]
x4
แคลคูลสั 59

7. กาหนดให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีคา่ สูงสุดที่ 𝑥 = 1


ถ้า 𝑓 ′′ (𝑥) = −4 ทุก 𝑥 และ 𝑓(−1) + 𝑓(3) = 0 แล้ว 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/2-19]

8. กาหนดให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั


โดยที่ 𝑓 ′′ (𝑥) = 6𝑥 + 4 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 และความชันของเส้นสัมผัสโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่จดุ (2, 19)
เท่ากับ 19 แล้ว ค่าของ 𝑓(1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 53)/39]

9. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามทีม่ ี 𝑓 ′′(𝑥) = 𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑓(0) = 2 และกราฟ
ของ 𝑓 มีจดุ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ (1, −5) แล้ว 2𝑎 + 3𝑏 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/19]
60 แคลคูลสั

10. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ที่นิยามบนช่วง (0, ∞) โดยที่ 𝑓(2) = 2𝑓(1) และ 𝑓 ′ (𝑥) = 27𝑥 − 𝑥12
ถ้า L เป็ นเส้นสัมผัสกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่จดุ (1, 𝑓(1)) แล้ว จุดในข้อใดต่อไปนีอ้ ยูบ่ น L [A-NET 51/1-19]
1. (2, 64) 2. (2, 66) 3. (3, 94) 4. (3, 96)

11. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้ 𝑓 : R → R เป็ นฟั งก์ชนั ทีม่ ีอนุพนั ธ์ทกุ อันดับ โดยที่
𝑓 ′′ (𝑥) = 2𝑥 + 1 และ 𝑓 ′ (2) = 2
สมการของเส้นตรงทีต่ งั้ ฉากกับเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่จดุ (1, 3) คือข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (มี.ค. 55)/16]
1. 𝑦 = − 12 𝑥 + 2 2. 𝑦 = 12 𝑥 + 52
1 5 1
3. 𝑦 = −2𝑥 + 2 4. 𝑦 = 2𝑥 + 2
แคลคูลสั 61

12. กาหนดให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามกาลังสาม ซึง่ นิยามบนช่วง [−2, 2] โดยที่ 𝑓(0) = 1, 𝑓(1) = 0 และ 𝑓 มีคา่
ต่าสุดที่ 𝑥 = 1, มีคา่ สูงสุดที่ 𝑥 = −1 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู บ้าง [A-NET 51/1-20]
1. 𝑓(−2) ≤ 𝑓(𝑥) ทุก 𝑥 ∈ [−2, 2]
2. 𝑓(2) ≥ 𝑓(𝑥) ทุก 𝑥 ∈ [−2, 2]

13. กาหนดให้ ℎ(𝑥) = 𝑓(𝑥)𝑔(𝑥) โดยที่ความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่จดุ (𝑥, 𝑦) เท่ากับ 2 − 2𝑥


และเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ เท่ากับ 5 ถ้า 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั พหุนาม ซึง่ มีสมบัติ 𝑔(2) = 𝑔′ (2) = 5
แล้ว ℎ′ (2) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 53)/38]
62 แคลคูลสั

3ℎ𝑥+2ℎ
14. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนามโดยที่ 𝑃(0) = 1 และสอดคล้องกับ lim
h0 𝑃(𝑥+ℎ+2)+𝑃(ℎ+2)−𝑃(𝑥+2)−𝑃(2)
= 1

ค่าของ 𝑃(12) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/39]

15. กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : R → R เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่


1. (𝑓𝑔)(𝑥) = 2𝑥 + 3 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
2. ฟั งก์ชนั 𝑓 และ 𝑔 มีอนุพนั ธ์ทกุ อันดับสาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
3. ฟั งก์ชนั 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์เท่ากับ 2 ที่ 𝑥 = 1
4. 𝑔′′ (𝑥) = 2 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
ฟั งก์ชนั 𝑔 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/37]
แคลคูลสั 63

อินทิกรัลจากัดเขต

3
ในกรณีที่มีตวั เลขปิ ดหัวท้ายเครือ่ งหมายอินทิกรัล เช่น  (3𝑥 + 5) 𝑑𝑥 (อ่านว่า อินทิตเกรต 3𝑥 + 5 ตัง้ แต่ 1 ถึง 3)
1
อินทิกรัลแบบที่มีตวั เลขปิ ดหัวท้ายแบบนี ้ จะเรียกว่า อินทิกรัลแบบ “จากัดเขต”
(ถ้าไม่มีตวั เลขปิ ดหัวท้ายแบบหัวข้อก่อนหน้านี ้ จะเรียกกว่า อินทิกรัลแบบ “ไม่จากัดเขต”)
3
วิธีหา  (3𝑥 + 5) 𝑑𝑥 คือ ให้หา ∫(3𝑥 + 5) 𝑑𝑥 ออกมาก่อน หลังจากนัน้ “แทน 𝑥 = 3” ลบด้วย “แทน 𝑥 = 1”
1

3
ตัวอย่าง จงหา  4𝑥 𝑑𝑥
2
วิธีทา หา ∫ 4𝑥 𝑑𝑥 ออกมาก่อน ได้ 2𝑥 2 + 𝑐 จากนัน้ “แทน 𝑥 = 3” ลบด้วย “แทน 𝑥 = −2”
3
นั่นคือ  4𝑥 𝑑𝑥 = [2(3)2 + 𝑐] − [2(−2)2 + 𝑐]
2
= (18 + 𝑐) − (8 + 𝑐) = 10 #

ถ้าสังเกตดีๆ อินทิกรัลแบบจากัดเขต ตอนที่แทนค่าหัวท้ายมาลบกัน จะพบว่าค่า 𝑐 จะตัดกันเองหายไปหมดเสมอ


ดังนัน้ ในการอินทิกรัลแบบจากัดเขต เราไม่ตอ้ งมี 𝑐 ตอนอินทิเกรตเลยก็ได้
𝑎
โดยประโยค “แทน 𝑥 = 𝑎 ลบด้วย แทน 𝑥 = 𝑏” สามารถใช้สญ
ั ลักษณ์ | แทนได้
𝑏
2 2
1
เช่น  (𝑥 2 + 2𝑥) 𝑑𝑥 =  (𝑥 −2 + 2𝑥) 𝑑𝑥
1 1 แทน 𝑥 = 2 ลบด้วย แทน 𝑥 = −1
2
= (−𝑥 −1 + 𝑥 2 ) |
−1
= [−2−1 +2 2]
− [−(−1)−1 + (−1)2 ]
7 3
= 2
− 2 = 2
#

สมบัติที่สาคัญของการอินทิกลั แบบจากัดเขต คือ เราสามารถแบ่งช่วงอินทิเกรตเป็ นหลายช่วงได้ตามใจชอบ ตราบใดที่


𝑓(𝑥) ต่อเนื่องตรงจุดที่จะแบ่ง
2 0 2
เช่น  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 จะแบ่งเป็ น  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 ก็ได้
1 1 0
1 2
หรือจะแบ่งเป็ น  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 ก็ได้
1 1
0 1 2
หรือจะแบ่งเป็ น  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 ก็ได้
1 0 1

หรือจะไม่แบ่ง ก็ได้ → ทุกแบบ จะได้คาตอบเท่ากัน (เมื่อกาหนดให้ 𝑓(𝑥) ต่อเนื่อง)

และในกรณีที่ 𝑓(𝑥) แบ่งเป็ นหลายสูตรตามเงื่อนไขต่างๆ จะต้องแบ่งอินทิเกรตตามช่วงเงื่อนไขของสูตร


64 แคลคูลสั

3
3𝑥 2 + 1 , 𝑥≥1
ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = { จงหา  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
4𝑥 , 𝑥<1 2
วิธีทา จะเห็นว่า lim 𝑓(𝑥) = lim 𝑓(𝑥) = 𝑓(1) = 4 → 𝑓(𝑥) ต่อเนื่องที่ 𝑥 = 1
x 1 x 1

ดังนัน้ ข้อนีจ้ ะแบ่งอินทิเกรตตรงจุด 𝑥 = 1 เพื่อให้เลือกใช้สตู รได้ ดังนี ้


3 1 3
 𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 +  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
2 2 1
1 3
=  4𝑥 𝑑𝑥 +  (3𝑥 2 + 1) 𝑑𝑥
2 1
1 3
= 2𝑥 2 | + (𝑥 3 + 𝑥) |
−2 1
= 2−8 + (27 + 3) − (1 + 1) = 22 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าของอินทิกรัลต่อไปนี ้
3 2
1.  (2𝑥 + 1) 𝑑𝑥 2.  (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥
1 1

4 2
2 𝑥 2 +2
3.  (
√𝑥
+ 1) 𝑑𝑥 4.  2 𝑑𝑥
0 1 𝑥

2
2. กาหนดให้ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 2 + 2𝑥 + 1 จงหา  𝑓 ′′ (𝑥) 𝑑𝑥
1

3
3. กาหนดให้ 𝑓 ′ (𝑥) = 2𝑥 − 4 ถ้า 𝑓(0) = 1 จงหา  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
0
แคลคูลสั 65

1
4. ถ้า 𝑓 ′ (𝑥) = 3𝑥 2 + 𝑥 − 5 และ 𝑓(0) = 1 แล้ว  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/32]
1

5. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓(2𝑥 − 1) = 4𝑥 2 − 10𝑥 + 𝑎
4
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง และ 𝑓(0) = 12 ค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (พ.ย. 57)/41]
1

2𝑥 4 −𝑥
6. ให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥3
เมื่อ 𝑥 ≠ 0
2
𝑔(𝑥) = (1 + 𝑥 2 )𝑓(𝑥) และ 𝑔(1) = 2 ค่าของ  𝑥 3 𝑔′′ (𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 58)/40]
1
66 แคลคูลสั

𝑥3 , 𝑥 < −1
7. กาหนดให้ฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = { 𝑎𝑥 + 𝑏 , −1 ≤ 𝑥 < 1 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง
3𝑥 2 + 2 , 𝑥≥1
2
ถ้าฟั งก์ชนั 𝑓 ต่อเนื่อง สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 แล้วค่า  𝑓(𝑥)𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 58)/34]
2

8. กาหนดให้ 𝑓:R→R 𝑓 ′′ (𝑥) = 0 ทุกๆจานวนจริง


1
ถ้า 𝑓(0) = 23 และ 𝑓(1) = 103 แล้ว จงหาค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 [PAT 1 (ธ.ค. 54)/38]
0

9. กาหนดให้ แทนเซตของจานวนจริง และ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริง และให้ 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่นยิ ามโดย

𝑓(𝑥) = 𝑎 + 𝑏𝑥 + 𝑥 3 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 ถ้าเส้นตรง 5𝑥 − 𝑦 + 13 = 0 สัมผัสกราฟของ 𝑓 ที่ 𝑥 = 1
2
แล้ว  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/41]
0
แคลคูลสั 67

10. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง


2
ถ้า 𝑓(1) = 2 และ (𝑓 ∘ 𝑓)(0) = 10 แล้วค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 57)/38]
1

2
𝑎
11. ถ้า  |𝑥 2 − 7𝑥 + 6| 𝑑𝑥 =
𝑏
เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มที่ 𝑏≠0 และ ห.ร.ม. ของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับ 1
2

แล้วค่าของ 𝑎+𝑏 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 57)/18]

2
𝑥 3 +𝑥 2 +𝑥
12. ค่าของ  𝑥|𝑥+2|−𝑥 2 −2 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 59)/34]
4
68 แคลคูลสั

13. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามกาลังสอง ถ้าความชันของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่จดุ (1, 2) มีคา่
2
เท่ากับ 4 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 12 แล้ว 𝑓(−1) + 𝑓 ′′ (−1) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 53)/37]
1

1
14. ถ้า 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑥 2 − 1 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 0 แล้ว |𝑓(1)| มีคา่ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/2-17]
0

2
64
15. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 เมื่อ 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนจริง โดยที่  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = − 3
2

ถ้า 𝑔(𝑥) เป็ นพหุนามซึง่ 𝑔 = 𝑓(𝑥) และ 𝑔


′ (𝑥)
=𝑔 ′ (1) ′ (0)
= 𝑔(0) = 0
แล้ว 𝑔 ′′ (𝑥)
=𝑔 ′ (𝑥)
+ 𝑔(𝑥) ตรงกับสมการในข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (พ.ย. 57)/19]
1. 𝑥 4 − 4𝑥 3 + 12𝑥 2 − 6𝑥 = 0 2. 𝑥 4 − 8𝑥 3 − 12𝑥 2 − 6𝑥 = 0
3. 3𝑥 4 − 16𝑥 3 + 48𝑥 2 − 24𝑥 = 0 4. 3𝑥 4 + 8𝑥 3 − 48𝑥 2 + 24𝑥 = 0
แคลคูลสั 69

16. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้าอัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่ ของ 𝑓(𝑥) เทียบ
1
กับ 𝑥 เมื่อค่าของ 𝑥 เปลีย่ นจาก −1 เป็ น 1 เท่ากับ −2 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 2
1
𝑓(3+ℎ)−𝑓(3−ℎ)
แล้วค่าของ lim
h0 ℎ
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 59)/40]

b
𝑥−1
17. กาหนดให้ 𝑏>1 และ  𝑥+ √𝑥
𝑑𝑥 = 4 ค่าของ 1 + 𝑏 + 𝑏2 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/18]
1

18. กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓 : R → R และ 𝑔 : R → R เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 3
และ (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 8𝑥 3 + 44𝑥 2 + 80𝑥 + 48 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
แล้วค่าของ ∫06 𝑓(𝑔(𝑥)) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/37]
70 แคลคูลสั

2
19. กาหนดให้เส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) สัมผัสกับเส้นตรง 2𝑥 − 𝑦 + 3 = 0 ที่จด
ุ (0, 3) และ  𝑓 ′′ (𝑥) 𝑑𝑥 = −3
0
ถ้า 𝑔(𝑥) = √𝑥 + 2 𝑓(𝑥) และ 𝑔 ′ (2)
=0 แล้ว 𝑓(2) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/43]

x
20. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนามที่สอดคล้องกับ 𝑃(𝑥 2 + 3) = 3𝑥 4 + 24𝑥 2 + 40 และให้ 𝑓(𝑥) =  𝑃(𝑡) 𝑑𝑡
0

ค่าของ lim
x2
√𝑃(𝑥) − 𝑓(𝑥) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/38]
แคลคูลสั 71

21. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นพหุนามกาลังสอง โดยที่ 𝑓(0) = 1 และ 𝑓(𝑥 + 1) = 𝑓(𝑥 − 1) + 𝑥 + 1 สาหรับ
1
จานวนจริง 𝑥 ใดๆ ค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/20]
2

a
22. กาหนดให้ 𝐼(𝑎) =  (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥 สาหรับ 𝑎 ∈ [0, ∞)
a
ประโยคในข้อใดต่อไปนีม้ คี า่ ความจริงเป็ นจริง เมื่อเอกภพสัมพัทธ์คือช่วง [0, ∞) [A-NET 51/1-2]
1. ∀𝑎[𝐼(𝑎) > 0] 2. ∀𝑎[(𝐼(𝑎) = 0) → (𝑎 = 0)]
3. ∃𝑎[(𝑎 > 2) ∧ (𝐼(𝑎) < 0)] 4. ∃𝑎[(𝑎 ≠ 0) ∧ (𝐼(𝑎) = 0)]
72 แคลคูลสั

23. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงที่แตกต่างกัน และให้ L1 และ L2 เป็ นเส้นสัมผัส
9ℎ
เส้นโค้ง ที่ 𝑥 = 𝑎 และ 𝑥 = 𝑏 ตามลาดับ ถ้า L1 ขนานกับ L2 และ lim 𝑓(1+ℎ)−𝑓(1) = 1
h0
2
แล้วค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/39]
0

24. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เป็ นพหุนามกาลังสอง เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจานวนจริง และ 𝑎 ≠ 0



1
โดยที่ 𝑓(1) = 0 และ 𝑓 มีคา่ สูงสุดที่ 𝑥 = 3
ให้ 𝐹(𝛼, 𝛽) =  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 โดยที่ 𝐹(0, 𝑡) = 𝐹(1, 𝑡) + 1

สาหรับจานวนจริง 𝑡 > 1 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (เม.ย. 57)/19]


1. 𝐹(1,2) = 𝐹(2,3) + 10
𝑓(𝑥) −3𝑥 2 −2𝑥−2
2. อนุพนั ธ์ของ 𝑥2
เท่ากับ 𝑥3
แคลคูลสั 73

พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง

b
พืน้ ที่ที่อยูร่ ะหว่างกราฟ 𝑓(𝑥) กับ แกน X ตัง้ แต่ 𝑥 = 𝑎 ถึง 𝑥 = 𝑏 จะเท่ากับ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
a

b
พืน้ ที่สว่ นที่แรเงา =  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥
a

𝑎 𝑏

b
สิง่ ที่ตอ้ งระวังก็คือ ถ้าพืน้ ที่ที่แรเงาอยูใ่ ต้แกน X เราจะได้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เป็ นค่าติดลบ
a
แต่พนื ้ ที่ เป็ นค่าติดลบไม่ได้ ดังนัน้ เราต้องกลับเครือ่ งหมายให้เป็ นบวกก่อนตอบด้วย

ตัวอย่าง จงหาพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥2 กับแกน X ตัง้ แต่ 𝑥=1 ถึง 𝑥=3

1 3

3
วิธีทา พืน้ ที่สว่ นที่แรเงา จะเท่ากับ  𝑥 2 𝑑𝑥
1
3
1 3 3 1 1 1 26
จะได้  𝑥 2 𝑑𝑥 = 3
𝑥 |
1
= [3 (3)3 ] − [3 (1)3 ] = 9 − 3 = 3
1
26
ดังนัน้ พืน้ ที่ที่แรเงา เท่ากับ 3
#

ตัวอย่าง จงหาพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = −𝑥 2 − 1 กับแกน X ตัง้ แต่ 𝑥=1 ถึง 𝑥=3

1 3

วิธีทา ทาเหมือนเดิม แต่เนื่องจากพืน้ ทีอ่ ยูใ่ ต้แกน X ดังนัน้ คาตอบจะออกมาเป็ นเลขติดลบ


3
1 3 1 1
จะได้  (−𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥 = (− 3 𝑥 3 − 𝑥) | = [− 3 (3)3 − 3] − [− 3 (1)3 − 1]
1
1
4 32
= (−12) − (− ) = −
3 3
32
ก่อนตอบ ให้เปลีย่ นค่าที่ได้ ให้เป็ นบวกก่อน ดังนัน้ จะได้พนื ้ ที่ใต้กราฟเท่ากับ 3
#
74 แคลคูลสั

กรณีที่สร้างความลาบากให้เรามากที่สดุ คือ กรณีทมี่ ีบางส่วนอยูเ่ หนือแกน X และบางส่วนอยูใ่ ต้แกน X

𝑐 𝑏
𝑎

จากรูป ถ้าโจทย์ถามพืน้ ที่สว่ นทีแ่ รเงา เราจะอินทิเกรต รวดเดียวตัง้ แต่ 𝑎 ถึง 𝑏 เลย ไม่ได้ เพราะพืน้ ที่เหนือแกน (เป็ นบวก)
กับใต้แกน (เป็ นลบ) จะหักล้างกัน ทาให้คา่ ที่ได้นอ้ ยกว่าคาตอบทีโ่ จทย์ตอ้ งการ

วิธีทาโจทย์ประเภทนี ้ จะต้องแยกอินทิเกรต โดยอินทิเกรตจาก 𝑎 ถึง 𝑐 หนึง่ ครัง้ และอินทิเกรตจาก 𝑐 ถึง 𝑏 อีกหนึง่ ครัง้ ถ้า
อันไหนได้คา่ ติดลบ ให้เปลีย่ นเป็ นบวกก่อน แล้วเอาผลการอินทิเกรตที่เปลีย่ นเป็ นบวกแล้ว มารวมกัน

ที่ยากก็คือ ปกติโจทย์มกั จะไม่ให้รูปกราฟมา ทาให้เราต้องหาจุด 𝑐 เอาเอง จะเห็นว่าจุด 𝑐 ก็คือ จุดที่กราฟตัดแกน X


2
ซึง่ วิธีหาคือ ให้แก้สมการ 𝑓(𝑥) = 0 โดยอาศัยการแยกตัวประกอบ หรือใช้สตู ร 𝑥 = −𝑏±√𝑏2𝑎 −4𝑎𝑐
ดังนัน้ สิง่ ที่ตอ้ งทาเป็ นอันดับแรกในการทาโจทย์เรือ่ งนีค้ ือ ต้องแก้สมการ 𝑓(𝑥) = 0 เพื่อหาจุดที่กราฟตัดแกน X ก่อน

ตัวอย่าง จงหาพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 1 กับแกน X ตัง้ แต่ 𝑥=0 ถึง 𝑥=3
วิธีทา ก่อนอื่น หาว่ากราฟตัดแกน X ที่ไหนบ้าง โดยการแก้สมการ 𝑥 2 − 1 = 0
(𝑥 − 1)(𝑥 + 1) = 0
𝑥 = −1 , 1

ดังนัน้ กราฟตัดแกน X ที่ 𝑥 = −1 และ 𝑥 = 1


เนื่องจากเราต้องการหาพืน้ ที่ตงั้ แต่ 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 3 จึงต้องแบ่งอินทิเกรตตรงจุด 𝑥 = 1
1
1 1 1 1 2
 (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥 = (3 𝑥 3 − 𝑥) | = [3 (1)3 − 1] − [3 (0)3 − 0] = − 3 →
0
ทาให้เป็ นบวก ได้ 23
0
3
1 3 1 1 20
 (𝑥 2 − 1) 𝑑𝑥 = (3 𝑥 3 − 𝑥) | = [3 (3)3 − 3] − [3 (1)3 − 1] =
1 1 3
2 20 22
ดังนัน้ จะได้พนื ้ ที่ คือ 3
+ 3
= 3
#

อย่างไรก็ตาม มีขอ้ สังเกตจากตัวอย่างข้อที่ผา่ นมาดังนี ้


 ถ้าโจทย์ตอ้ งการหาพืน้ ทีต่ งั้ แต่ 𝑥 = −5 ถึง 𝑥=3 คราวนีต้ อ้ งแบ่งอินทิเกรตตรง 𝑥 = −1 ด้วย
1 1 3
นั่นคือ ต้องอินทิเกรต 3 เที่ยว คือ  ,  และ 
5 1 1
5
 ถ้าโจทย์ตอ้ งการหาพืน้ ทีต่ งั้ แต่ 𝑥=2 ถึง 𝑥=5 แบบนีอ้ ินทิเกรตรวดเดียว  ได้เลย
2
เพราะจาก 𝑥=2 ถึง 𝑥=5 ไม่มีจดุ ตัดแกน X
 ถ้าโจทย์ให้หา “พืน้ ที่ระหว่าง 𝑓(𝑥) กับแกน X” เฉยๆ โดยไม่บอกว่าจะเอาพืน้ ที่ตงั้ แต่ 𝑥 เป็ นเท่าไหร่ถึงเท่าไหร่
แบบนีใ้ ห้หาตัง้ แต่จดุ แรกทีก่ ราฟตัดแกน X ไปจนถึงจุดสุดท้ายทีก่ ราฟตัดแกน X
เช่นในตัวอย่างข้อที่ผา่ นมา ก็ตอ้ งหาตัง้ แต่ 𝑥 = −1 ถึง 𝑥 = 1
แคลคูลสั 75

ตัวอย่าง จงหาพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥 2 − 𝑥 + 2 กับแกน X ตัง้ แต่ 𝑥 = −1 ถึง 𝑥=1


วิธีทา หาจุดตัดแกน X ก่อนโดยแก้สมการ 𝑥 2 − 𝑥 + 2 = 0
จะเห็นว่าสมการนี ้ แยกตัวประกอบไม่ออก
2 2
ถ้าลองใช้สตู ร 𝑥 = −𝑏±√𝑏2𝑎 −4𝑎𝑐 = −(−1)±√(−1) 2(1)
−4(1)(2)
จะพบว่าหาค่าไม่ได้ เพราะในรูทติดลบ
นั่นคือ สมการนี ้ ไม่มีคาตอบ → แปลว่ากราฟนี ้ ไม่ตดั แกน X
ดังนัน้ อินทเกรตรวดเดียว ตัง้ แต่ −1 ถึง 1 ได้เลย
1
1 1 1
ดังนัน้ พืน้ ที่ =  (𝑥 2 − 𝑥 + 2) 𝑑𝑥 = (3 𝑥 3 − 2 𝑥 2 + 2𝑥) |
−1
1
1 1 1 1 14
= [ (1)3 − (1)2 + 2(1)] − [ (−1)3 − (−1)2 + 2(−1)] = #
3 2 3 2 3

ตัวอย่าง จงหาพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑓(𝑥) = 4𝑥 3 − 4𝑥 และแกน X


วิธีทา หาจุดตัดแกน X ก่อน โดยแก้สมการ 4𝑥 3 − 4𝑥 = 0
4𝑥(𝑥 2 − 1) = 0
4𝑥(𝑥 − 1)(𝑥 + 1) = 0
𝑥 = −1 , 0 , 1

ข้อนี ้ โจทย์ไม่ได้บอกว่าจะเอาพืน้ ที่ตงั้ แต่ตรงไหนถึงตรงไหน


ในกรณีนี ้ ให้หาตัง้ แต่จดุ แรกที่กราฟตัดแกน X ไปจนถึงจุดสุดท้ายที่กราฟตัดแกน X
นั่นคือ ตัง้ แต่ 𝑥 = −1 ถึง 𝑥 = 1 แต่ระหว่างทาง กราฟตัดแกน X ที่ 𝑥 = 0 จึงต้องแบ่งอินทิเกรตด้วย
0
 (4𝑥3 − 4𝑥) 𝑑𝑥 = (𝑥 4 − 2𝑥 2 ) |0 = [(0)4 − 2(0)2 ] − [(−1)4 − 2(−1)2 ] = 1
1 −1
1
 (4𝑥 3 − 4𝑥) 𝑑𝑥 = (𝑥 4 − 2𝑥 2 ) |1 = [(1)4 − 2(1)2 ] − [(0)4 − 2(0)2 ] = −1 → ทาให้เป็ นบวก ได้ 1
0 0

ดังนัน้ พืน้ ที่ = 1 + 1 = 2 #

1
ตัวอย่าง จงหาค่าของ  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥
1
วิธีทา ข้อนี ้ อินทิเกรตตรงๆไม่ได้ เพราะเรากระจาย ∫ เข้าไปในรูทไม่ได้
ข้อนี ้ ต้องทากลับกัน คือแทนที่จะใช้การอินทิเกรตเพื่อหาพืน้ ที่ เราต้องใช้พนื ้ ที่ มาหาค่าอินทิเกรตแทน
1
จะเห็นว่า  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 ก็คือ พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = √1 − 𝑥 2 ตัง้ แต่ 𝑥 = −1 ถึง 𝑥 = 1 นั่นเอง
1
วาดกราฟ 𝑦 = √1 − 𝑥 2 ได้ดงั รู ป
𝑦2 = 1 − 𝑥2 ; 𝑦 ≥ 0
𝑥2 + 𝑦2 = 1 ; 𝑦≥0 −1 1
1
จะเห็นว่า  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 ก็คือพืน้ ที่ครึง่ วงกลมที่มีรศั มี 1 นั่นเอง
1
1
1 𝜋
ดังนัน้  √1 − 𝑥 2 𝑑𝑥 =
2
× 𝜋(1)2 =
2
#
1
76 แคลคูลสั

แบบฝึ กหัด
1. จงหาพืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้งต่อไปนี ้ กับแกน X
1. 𝑓(𝑥) = 𝑥 + 1 ตัง้ แต่ 𝑥 = 2 ถึง 4 2. 𝑓(𝑥) = 2𝑥 − 4 ตัง้ แต่ 𝑥 = 1 ถึง 3

3. 𝑓(𝑥) = 6𝑥 2 − 6𝑥 − 12 ตัง้ แต่ 𝑥 = 0 ถึง 3 4. 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 1 ตัง้ แต่ 𝑥 = −1 ถึง 2

5. 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 1 6. 𝑓(𝑥) = 3𝑥 3 − 9𝑥 2 + 6𝑥
แคลคูลสั 77

2
2. จงหาค่าของ  √4 − 𝑥 2 𝑑𝑥
2

3. พืน้ ที่ของบริเวณที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥 3 − 2𝑥 2 + 2𝑥 และแกน X จาก 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 4 เท่ากับเท่าใด


[A-NET 50/1-22]

4. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = {𝑥 + 33 เมื่อ 𝑥 < −1


−2𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ −1
พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยกราฟของ 𝑓 บนช่วง [−4, 0] มีคา่ เท่าใด [A-NET 51/2-10]

5. กาหนดให้ กราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีความชันที่จดุ (𝑥, 𝑦) ใดๆ เป็ น 2𝑥 + 2 และ 𝑓 มีคา่ ต่าสุดสัมพัทธ์เท่ากับ −3
พืน้ ที่ของอาณาบริเวณที่ปิดล้อมด้วยกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) แกน X เส้นตรง 𝑥 = −1 และเส้นตรง 𝑥 = 0
เท่ากับกี่ตารางหน่วย [A-NET 49/1-19]
78 แคลคูลสั

6. ให้ L เป็ นเส้นตรงที่ผา่ นจุด (0, 10) และมีความชันมากกว่า −1 แต่นอ้ ยกว่า 0


ถ้าพืน้ ที่ของอาณาบริเวณทีถ่ กู ปิ ดล้อมด้วยเส้นตรง L กับแกน 𝑥 จาก 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 6 มีคา่ เท่ากับ 51 ตารางหน่วย
แล้ว จงหาพืน้ ที่ของอาณาบริเวณที่ถกู ปิ ดล้อมด้วยเส้นตร L กับแกน 𝑥 จาก 𝑥 = 0 ถึง 𝑥 = 3
[PAT 1 (ธ.ค. 54)/39]

7. กาหนดให้
𝐴 แทนพืน้ ที่ของอาณาบริเวณที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง 𝑦 = 1 − 𝑥 2 และแกน X
𝑥2
𝐵 แทนพืน้ ที่ของอาณาบริเวณทีใ่ ต้เส้นโค้ง 𝑦 = เหนือแกน X จาก 𝑥 = −𝑐 ถึง 𝑥 = 𝑐
4
ค่าของ 𝑐 ที่ทาให้ 𝐴 = 𝐵 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 52)/32]

8. กาหนดให้ A(0, 0), B(1, 0) และ C( 12 , √23 ) เป็ นจุดยอดของรูปสามเหลีย่ ม ABC


ถ้ากราฟของ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 ผ่านจุด A(0, 0), B(1, 0)
โดยที่ AC และ BC เป็ นเส้นสัมผัสกราฟของ 𝑓 ที่จดุ A(0, 0), B(1, 0) ตามลาดับ
แล้วพื่นที่ที่ปิดล้อมด้วยกราฟของ 𝑓 และเส้นตรง AB มีคา่ เท่าใด [PAT 1 (ธ.ค. 54)/18]
แคลคูลสั 79

พืน้ ที่ระหว่างเส้นโค้ง

ที่ผา่ นมา เป็ นการหาพืน้ ที่ระหว่างเส้นโค้งเส้นหนึง่ กับแกน X


นอกจากนี ้ การอินทิเกรต ยังสามารถใช้หาพืน้ ที่ระหว่างเส้นโค้งสองเส้นได้ดว้ ย
b
พืน้ ที่ระหว่างเส้นโค้ง 𝑓(𝑥) กับ 𝑔(𝑥) ตัง้ แต่ 𝑥=𝑎 ถึง 𝑥=𝑏 จะหาได้จากสูตร  (𝑓(𝑥) − 𝑔(𝑥)) 𝑑𝑥
a

𝑦 = 𝑓(𝑥)
b
พืน้ ที่สว่ นที่แรเงา =  (𝑓(𝑥) − 𝑔(𝑥)) 𝑑𝑥
𝑦 = 𝑔(𝑥) a

𝑎 𝑏

ตัวอย่าง จงหาพืน้ ที่ที่อยูร่ ะหว่างเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥3 + 1 และ 𝑦 = 𝑥2 ตัง้ แต่ 𝑥=0 ถึง 𝑥 = 2 ดังรู ป
𝑦 = 𝑥3 + 1

𝑦 = 𝑥2

2
2 2
1 1
วิธีทา พืน้ ที่ระหว่างโค้ง =  (𝑥 3 + 1 − 𝑥 2 ) 𝑑𝑥 = ( 𝑥4 + 𝑥 − 𝑥3)
4 3
|
0 0
1 1 1 1 10
= [ (2)4 + 2 − (2)3 ] − [ (0)4 + 0 − (0)3 ] = #
4 3 4 3 3

b
อย่างไรก็ตาม การใช้สตู ร  (𝑓(𝑥) − 𝑔(𝑥)) 𝑑𝑥 มีสงิ่ ที่ตอ้ งระวัง คือ
a
 บริเวณที่ 𝑓(𝑥) อยูเ่ หนือ 𝑔(𝑥) ผลอินทิเกรตจะเป็ นบวก
 บริเวณที่ 𝑓(𝑥) อยู่ ใต้ 𝑔(𝑥) ผลอินทิเกรตจะเป็ นลบ
เนื่องจาก พืน้ ที่เป็ นลบไม่ได้ ดังนัน้ ก่อนตอบต้องเปลีย่ นเครือ่ งหมายเป็ นบวกด้วย

ปั ญหาจะเกิดเมื่อ บางส่วน 𝑓(𝑥) อยูเ่ หนือ 𝑔(𝑥) และบางส่วน 𝑓(𝑥) อยูใ่ ต้ 𝑔(𝑥) ดังรูปต่อไปนี ้
𝑓(𝑥)

𝑎 𝑐 𝑏
𝑔(𝑥)
c b
เวลาหาพืน้ ที่ที่แรเงาในรูปข้างบน จะต้องแยกอินทิเกรต  หนึง่ เที่ยว และ  อีกหนึง่ เที่ยว
a c
โดยถ้าอันไหนเป็ นลบก็เปลีย่ นให้เป็ นบวกก่อน แล้วค่อยเอามารวมกัน

อย่างไรก็ตาม ปกติโจทย์ก็จะไม่ใจดีบอกจุด 𝑐 มาให้ จะเห็นว่า จุด 𝑐 ก็คือจุดที่ 𝑓(𝑥) ตัดกับ 𝑔(𝑥) นั่นเอง
วิธีหาจุดตัดของ 𝑓(𝑥) กับ 𝑔(𝑥) ก็คือให้แก้สมการ 𝑓(𝑥) = 𝑔(𝑥)
80 แคลคูลสั

ดังนัน้ สิง่ ที่ตอ้ งทาเป็ นอันดับแรกในการทาโจทย์เรือ่ งนีค้ ือ ต้องแก้สมการ 𝑓(𝑥) = 𝑔(𝑥) เพื่อหาจุดตัดกราฟก่อน
ถ้าแก้สมการ 𝑓(𝑥) = 𝑔(𝑥) แล้วไม่มคี าตอบ แสดงว่า 𝑓(𝑥) กับ 𝑔(𝑥) ไม่ตดั กันนั่นเอง

และสุดท้าย ถ้าโจทย์ไม่บอกว่าต้องการพืน้ ที่ตงั้ แต่ 𝑥 เป็ นเท่าไหร่ถงึ เท่าไหร่


ก็ให้หาตัง้ แต่จดุ แรกที่กราฟตัดกันไปจนถึงจุดสุดท้ายทีก่ ราฟตัดกัน

ตัวอย่าง จงหาพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦 = 𝑥 2 และ 𝑦 = 𝑥 ตัง้ แต่ 𝑥 = −1 ถึง 𝑥 = 1


วิธีทา ก่อนอื่น หาจุดตัดกันของสองกราฟนีก้ ่อน โดยแก้สมการ 𝑥 2 = 𝑥
𝑥2 − 𝑥 = 0
𝑥(𝑥 − 1) = 0
𝑥 = 0,1

จะเห็นว่า จาก 𝑥 = −1 ถึง 𝑥=1 ต้องผ่านจุดตัดกราฟที่ 𝑥 = 0 ดังนัน้ ต้องแยกกินทิเกรตที่ 𝑥=0


0
1 1 0
 (𝑥 2 − 𝑥 )𝑑𝑥 = (3 𝑥 3 − 2 𝑥 2 ) |
1 −1
1 1 1 1 5
= [3 (0)3 − 2 (0)2 ] − [3 (−1)3 − 2 (−1)2 ] = 6
1
1 1 1
 (𝑥 2 − 𝑥) 𝑑𝑥 = (3 𝑥 3 − 2 𝑥 2 ) |
0 0
1 1 1 1 1 1
= [ (1)3 − (1)2 ] − [ (0)3 − (0)2 ] = − → เปลีย่ นเป็ นบวก ได้
3 2 3 2 6 6
5 1
ดังนัน้ พืน้ ที่ทงั้ หมด คือ 6
+
6
= 1 #

ตัวอย่าง จงหาพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦 = √𝑥 และ 𝑦 = 𝑥


วิธีทา หาจุดตัดกันของสองกราฟนีก้ ่อน โดยแก้สมการ √𝑥 = 𝑥
𝑥 = 𝑥2 อย่าลืมตรวจ
0 = 𝑥2 − 𝑥
0 = 𝑥(𝑥 − 1) คาตอบด้วย !
𝑥 = 0,1

ข้อนีโ้ จทย์ไม่ได้บอกว่าให้หาพืน้ ทีต่ งั้ แต่ตรงไหนถึงตรงไหน


ดังนัน้ ต้องหาตัง้ แต่จดุ แรกทีก่ ราฟตัดกันไปจนถึงจุดสุดท้ายทีก่ ราฟตัดกัน นั่นคือ ตัง้ แต่ 𝑥=0 ถึง 𝑥=1
1 3
2 1 1
จะได้ พืน้ ที่ =  (√𝑥 − 𝑥) 𝑑𝑥 = (3 𝑥 2 − 2 𝑥 2 ) |
0
0
3 3
2 1 2 1 1
= [3 (1)2 − 2 (1)2 ] − [3 (0)2 − 2 (0)2 ] = 6
#

แบบฝึ กหัด
1. จงหาพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦 = 𝑥−2 และ 𝑦 = 2−𝑥 ตัง้ แต่ 𝑥=0 ถึง 𝑥=3
แคลคูลสั 81

2. จงหาพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦 = 3𝑥 2 + 2 และ 𝑦 = 1−𝑥 ตัง้ แต่ 𝑥=0 ถึง 𝑥=2

3. จงหาพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦 = 2𝑥 2 − 𝑥 − 4 และ 𝑦 = 𝑥2 + 𝑥 − 1 ตัง้ แต่ 𝑥=0 ถึง 𝑥=3

4. จงหาพืน้ ที่ระหว่าง 𝑦 = 𝑥2 − 1 และ 𝑦 = 1 − 𝑥2


82 แคลคูลสั

5. จงหาค่า 𝑎 > 0 ที่เป็ นไปได้ทงั้ หมด ที่ทาให้พน


ื ้ ที่ของบริเวณที่ปิดล้อมโดยกราฟของพาราโบลา 𝑦 = 𝑥 − 𝑎𝑥 2
𝑥2
และ 𝑦 =
𝑎
มีคา่ มากสุด
แคลคูลสั 83

ลิมิตของฟังก์ชนั
1
1. 1. 6 2. −1 3. หาไม่ได้ 4. −2
5. หาไม่ได้ 6. −5
7. 3
𝑥 2 −√𝑥 (√𝑥)4 − √𝑥 √𝑥((√𝑥)3 −1) √𝑥(√𝑥−1)((√𝑥)2 +√𝑥+1)
= = = = √𝑥((√𝑥)2 + √𝑥 + 1)
√𝑥−1 √𝑥−1 √𝑥−1 √𝑥−1
2
𝑥 −√𝑥
ดังนัน้ lim
x 1 √𝑥−1
= √1((√1)2 + √1 + 1) = 1(3) = 3

2. 1 3. 6 4. 3 5. 330

ลิมิตทางซ้าย – ลิมิตทางขวา

1. 3 2. หาไม่ได้ 3. −2 4. หาไม่ได้
5. 32 6. หาไม่ได้ 7. −1 8. 3
9. 0 10. − 12 11. 12 12. 9
13. 2

การหาลิมติ จากกราฟ

1. 1,1,1,1 2. หาไม่ได้ , 4 , 4 , 4
3. 3 , 1 , 3 , หาไม่ได้ 4. 1 , หาไม่ได้ , หาไม่ได้ , หาไม่ได้

ความต่อเนื่องของฟั งก์ชนั

1. ต่อเนื่อง / ต่อเนื่อง 2. ต่อเนื่อง / ไม่ตอ่ เนื่อง


3. ต่อเนื่อง / ต่อเนื่อง 4. ต่อเนื่อง / ไม่ตอ่ เนื่อง
5. 1 6. 𝑎 = 2, 𝑏 = −1 7. 2, 4 8. 8
9. 24 10. 18 11. 0.125 12. −10
13. 53 14. 8 15. 15 16. √7 − 2

อัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลีย่
1
1. 1. 2 2. 5
3. 8 4. 2𝑎 + 1

อัตราการเปลีย่ นแปลงขณะใดๆ

1. 1. −4 2. −6
2. 1. 4 2. 12
84 แคลคูลสั

อนุพนั ธ์ของฟั งก์ชนั


1
1. 1. 2𝑥 + 2 2. 12𝑥 3 − 2𝑥 + 1 3. −1 + 2𝑥 − 3𝑥 2 4. 2√𝑥

5. 3√2𝑥 − 1 6. 3√𝑥
2
1
− 𝑥

7. 3
− 2𝑥 2
√𝑥
2𝑥 2
2. 1. 4𝑥 − 3 2. 2
6𝑥 − 6𝑥 + 2 3. − (𝑥 2 +2)2 4. (𝑥+1)2
3. 65 4. 3 5. 88
9
6. 5
3
7. 6 8. 4 9. 12 10. 1, 2
16
11. 1.5 12. 5
13. 3

กฎลูกโซ่
2𝑥+2
1. 1. 100(2𝑥 3 + 1)99 (6𝑥 2 ) 2. − (𝑥 2 +2𝑥−5)2
2𝑥+3
3. 2√𝑥 2 +3𝑥
4. (2𝑥 2 + 4𝑥 − 3)(2𝑥 + 2)
2𝑥 3
2. 1. √𝑥 4 +3
2. 2𝑥
3. 12 4. 2
3
5. 1.5 6. 1

อนุพนั ธ์ของฟั งก์ชนั แฝง


8 5
1. 1. 3 2. 3
3. 4

อนุพนั ธ์อนั ดับสูง


6
1. 6𝑥 + 2 2. − 𝑥4 3. 105 4. 120
1
5. 3
6. 35

ระยะทาง ความเร็ว ความเร่ง

1. 7, 8 2. 12 3. 4

กฎของโลปิ ตาล

1. 1. 2 2. −6 3. หาไม่ได้ 4. −3
2. 5 3. 634

ความชันเส้นโค้ง
1
1. 1. −2 2. 4
15
2. 𝑦 = −2𝑥 + 2 3. 𝑦 = 4𝑥 + 2
4. 8√82 5. 4
6. 1 7. 2 8. 3
แคลคูลสั 85

ฟั งก์ชนั เพิ่ม – ฟั งก์ชนั ลด

1. 1. เพิ่ม 2. ลด 3. เพิ่ม 4. เพิ่ม


2. 1. (3, ∞) 2. (−∞, 1) ∪ (3, ∞)
3. 3 4. 1, 3

ค่าสูงสุด ต่าสุด

1. 1. สูงสุด (−3, 42) / ต่าสุด (1, 10) 2. สูงสุด (1, 4)


2. 1. สูงสุด (2, 8) / ต่าสุด (−2, −8) 2. สูงสุด (2, 30) / ไม่มีจดุ ต่าสุดสัมบูรณ์
3. 5 4. 18 5. 10 6. 0
7. 1, 2 8. 1, 2 9. 2

ปฏิยานุพนั ธ์

𝑥4 3𝑥 2 2𝑥√𝑥
1. 1. 2𝑥 2 − 3𝑥 + 𝑐 2. 2
+ 2𝑥 3 − 2
+ 5𝑥 + 𝑐 3. 3
+𝑐
𝑥3 𝑥2
4. 2√𝑥 + 𝑐 5. 3
−𝑥+𝑐 6. 2
+ 2𝑥 + 𝑐
2. 2 3. −3 4. 354 5. 100
6. 6 7. 8 8. 7 9. 42
10. 2 11. 2 12. 1, 2 13. 10
14. 157 15. 2.25

อินทิกรัลจากัดเขต

1. 1. 10 2. 0 3. 12 4. 2
7
2. 5 3. −6 4. 3
5. 34.5
6. 132 7. 9.25 8. 63 9. 38
10. 12 11. 104 12. 3 13. 18
14. 0.25 15. 4 16. 48 17. 91
18. 990 19. 8 20. 3 21. 3
22. 4 23. 4 24. 1

พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง

1. 1. 8 2. 2 3. 31 4. 6
4 3
5. 3
6. 2
8
2. 2𝜋 3. 37.33 4. 3 5. 3
√3
6. 27.75 7. 2 8. 6
86 แคลคูลสั

พืน้ ที่ระหว่างเส้นโค้ง
8
1. 5 2. 12 3. 9 4. 3
5. 1
𝑥2 1
หาจุดตัดของทัง้ สองกราฟก่อน โดยการแก้สมการ 𝑥 − 𝑎𝑥 2 = 𝑎
→ 𝑥 − (𝑎 + 𝑎) 𝑥 2 = 0
𝑎 2 +1 2
→ 𝑥 (1 − ( 𝑎
) 𝑥) = 0ได้ 𝑥 = 0 หรือ 1 − (𝑎 𝑎+1) 𝑥 = 0 → 𝑥 = 0 , 𝑎2𝑎+1
ดังนัน้ พท ใต้กราฟ = เอาสองเส้นมาลบกัน แล้วอินทิเกรต ตัง้ แต่ 0 ถึง 𝑎2𝑎+1
𝑥2 𝑥2 𝑎𝑥 3 𝑥3 𝑎
สองเส้นลบกันได้ 𝑥 − 𝑎𝑥 2 −
𝑎
→ อินทิเกรตได้ 2

3

3𝑎
แล้วแทน
𝑥= 2
𝑎 +1
ลบด้วยแทน 𝑥 = 0
2 3 3 2 1 𝑎 2 +1 3 2
ได้ พท = 12 (𝑎2𝑎+1) 𝑎 𝑎
− 3 (𝑎2 +1) − 3𝑎 (𝑎2 +1) =
1 𝑎 1
(
𝑎
2 𝑎 2 +1
) − 3
( 𝑎
) (
𝑎
𝑎 2 +1
)
1
= (2
1 𝑎
− 3) (𝑎2 +1)
2
1 𝑎 2 1 1 1 1
= (
6 𝑎 2 +1
) = ( )
6 𝑎+ 1
= 1
6(𝑎2 + 2 +2)
→ มากสุดเมื่อ 𝑎2 + 𝑎2 น้อยสุด
𝑎 𝑎
2
ดิฟได้ 2𝑎 −
𝑎3
= 0 → 𝑎4 = 1 → 𝑎 = ±1 → 𝑎 = 1

เครดิต
ขอบคุณ คุณครูเบิรด์ จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ครูเบิรด์ ย่านบางแค 081-8285490
และ คุณ Buz SetthaponView
และ คุณ Kanjana Pednok
และ คุณ Theerat Piyaanangul
และ คุณ Eaksit Buathong-iem ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like