You are on page 1of 31

1

เลขยกกำลัง

ชื่อ/นามสกุล ...............................................

ชั้น .......... เลขที่ ..........

ครู มิว 094 698 8975


2

สารบัญ

รากที่ 𝑛 ..................................................................................................................................................................................... 1
ค่าหลักรากที่ 𝑛......................................................................................................................................................................... 2
การ บวก ลบ คูณ หาร รูท ........................................................................................................................................................ 7
รูทสองของจานวนที่ตดิ รูท ..................................................................................................................................................... 16
เลขยกกาลัง ........................................................................................................................................................................... 19
ดอกเบีย้ ทบต้น....................................................................................................................................................................... 26
3

รากที่ 𝑛

รากที่ 𝑛 ของ 𝑥 คือ จานวนที่ยกกาลัง 𝑛 แล้วได้ 𝑥


เช่น รากที่ 2 ของ 16 → อะไร 2 = 16 → 4 กับ −4
รากที่ 2 ของ −16 → อะไร 2 = −16 → ไม่มี (รากที่ 2 ของ −16 หาค่าไม่ได้)
รากที่ 3 ของ 8 → อะไร 3 = 8 → 2
รากที่ 3 ของ −8 → อะไร 3 = −8 → −2

สรุป
รากที่คู่ ของจานวนบวก → มีสองจานวน (บวกกับลบ)
รากที่คู่ ของจานวนลบ → หาค่าไมได้
รากที่คี่ ของจานวนบวก → มีจานวนเดียว และเป็ นบวก
รากที่คี่ ของจานวนลบ → มีจานวนเดียว และเป็ นลบ

แบบฝึ กหัด
1. จงเติมคาตอบทีถ่ กู ต้องลงในช่องว่าง
1. รากที่ 2 ของ 64 คือ ....................... 2. รากที่ 9 ของ 1 คือ ........................
3. รากที่ 4 ของ −16 คือ ......................... 4. รากที่ 3 ของ −1 คือ ........................
5. รากที่ 2 ของ 25 คือ ......................... 6. รากที่ 4 ของ 1 คือ ........................
7. รากที่ 5 ของ −1 คือ ......................... 8. รากที่ 2 ของ −1 คือ ........................
9. จานวนทีย่ กกาลัง 2 ได้ 16 คือ ........................ 10. จานวนทีย่ กกาลัง 3 ได้ 8 คือ ........................
11. จานวนทีย่ กกาลัง 4 ได้ −1 คือ ........................ 12. จานวนทีย่ กกาลัง 5 ได้ −32 คือ ........................

2. ถ้า (𝑝 − 2)2 = 25 และ (𝑞 + 1)2 = 81 แล้ว ค่ามากที่สดุ ที่เป็ นไปได้ของ 𝑝 − 2𝑞 เท่ากับเท่าใด


[O-NET 54/26]
4
2 เลขยกกาลัง

ค่าหลักรากที่ 𝑛

หัวข้อนี ้ คล้ายหัวข้อที่แล้ว ต่างกันแค่มีคาว่า “ค่าหลัก” โผล่มา


จากหัวข้อที่แล้ว รากที่คขู่ องจานวนบวก จะมีสองจานวน (บวกกับลบ) เราจะเรียกรากที่เป็ นบวกว่าราก “ค่าหลัก”
เช่น รากที่สองของ 16 คือ 4 และ −4
แต่ “ค่าหลักรากที่สอง” ของ 16 คือ 4 แค่จานวนเดียว

ส่วนรากที่คี่ จะมีจานวนเดียวอยูแ่ ล้ว จานวนนัน้ เลยได้เป็ น “ค่าหลัก” โดยอัตโนมัติ


เช่น รากที่สามของ 8 คือ 2 รากที่สามของ −8 คือ −2
ค่าหลักรากที่สามของ 8 ก็คือ 2 ค่าหลักรากที่สามของ −8 ก็คือ −2

“ค่าหลักรากที่ 𝑛” จะแทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑛√ (อ่านกว่า “กรณฑ์อนั ดับที่ 𝑛” หรือ “รูทที่ 𝑛”)


ในกรณีที่ 𝑛 = 2 มักจะละ 𝑛 ไว้ในฐานที่เข้าใจ เช่น √16 จะหมายถึง 2√16 นั่นเอง
เช่น √16 = √−16 =
3 3
√8 = √−8 =
3
√43 = √(−3)2 =

ตัวอย่างที่แสดง ตัวเลขไม่เยอะ ทาให้คดิ ง่าย แต่ถา้ ตัวเลขมากๆ ก็ตอ้ งใช้อีกวิธี


เมื่อ 𝑥 มีคา่ เยอะๆ ถ้าจะหา 𝑛√𝑥 เรามักจะใช้วิธีแยกตัวประกอบ 𝑥 โดยการตัง้ หารสัน้ ไปเรือ่ ยๆ
 ถ้าตัวประกอบซา้ ครบ 𝑛 ตัว จะกลายเป็ นผลลัพธ์ได้ 1 ตัว
 ถ้าตัวประกอบที่ซา้ ไม่ถงึ 𝑛 ตัว จะกลายเป็ นผลลัพธ์ไม่ได้ ต้องติดอยูใ่ นเครือ่ งหมายราก

ตัวอย่าง จงหาค่าของ 3√1728


5

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √588

หมายเหตุ: ถ้าเห็นตัวเลขอยูห่ น้ารูท แปลว่ามันกาลัง “คูณ” กับรูทอยู่


กล่าวคือ 14√3 = 14 × √3 = √3 × 14
แต่ 14√3 ไม่เหมือนกับ 14√3 นะ
14 คูณรากที่สองของ 3 ค่าหลักรากที่ 14 ของ 3

ตัวอย่าง จงหาค่าของ 3
√−500

จะเห็นว่า ต้องจับคูค่ รบ 𝑛 ตัว จึงจะสามารถโยนออกมานอก 𝑛√ ได้ 1 ตัว


ทานองกลับกัน ถ้าเราจะหดตัวนอก 𝑛√ กลับเข้าไปข้างใน จะต้องแตกซา้ 𝑛 ตัว
เช่น 2√3 = 3
3√5 =
4 √6
2√2 = 2
=
6
4 เลขยกกาลัง

ตัวอย่าง จงเรียงลาดับจานวนต่อไปนี ้ จากมากไปหาน้อย 3√5 , 4√3 , 5√2

ถ้าต้องการดึง “ตัวแปร” ออกมาจาก 𝑛√ ก็ยงั ใช้วิธีเดิม คือ ตัวแปรซา้ ครบ 𝑛 ตัว ดึงออกมาเป็ น 1 ตัว
สิง่ ที่ตอ้ งระวัง คือ ในกรณีที่ 𝑛 เป็ นเลขคู่ ผลลัพธ์จะเป็ นลบไม่ได้
ดังนัน้ เราต้องใส่เครือ่ งหมาย ค่าสัมบูรณ์ เพื่อให้ผลลัพธ์เป็ นบวกเสมอ
12𝑥 3 𝑦 5
เช่น √𝑎7 = √
𝑧4
=
4
√𝑥 2 = √𝑥 12 𝑦15 𝑧16 =

แต่ถา้ 𝑛 เป็ นเลขคี่ ก็ทาเหมือนปกติ ไม่มีอะไรต้องระวัง


เช่น 3
√𝑎4 =
3
√𝑎6 𝑏 5 =

5 3 𝑎 7 𝑏12
√𝑎13 𝑏15 = √
𝑐3
=

หมายเหตุ: คนส่วนใหญ่มกั คิดว่า √𝑥 2 = 𝑥 ซึง่ จะถูกเฉพาะเมื่อ 𝑥 เป็ นบวกหรือศูนย์เท่านัน้


ประโยคที่ถกู ต้องจริงๆ คือ √𝑥 2 = |𝑥| ตามที่แสดงในตัวอย่างข้างต้น

แบบฝึ กหัด
1. ข้อใดถูกต้อง
1. 3√(−3)3 = −3 2. 4
√(−4)4 = −4
3. 5√−2 หาค่าไม่ได้ 4. √𝑥 2 = 𝑥
5. √𝑥 2 = 𝑥 เมื่อ 𝑥 ≥ 0 6. √𝑥 4 = 𝑥 2

2. จงหาผลสาเร็จของค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. 4√81 2. 3
√216
7

3. 5
√−243 4. 3
√−432

5. √1764 6. 3
√10125

7. √(−17)2 8. √𝑎10 𝑏 4

8𝑥 5 𝑦 6
9. √
𝑧7
10. 2𝑛+1
√𝑥 2𝑛+1 เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนนับ
8
6 เลขยกกาลัง

3. กาหนดให้ 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก และ 𝑛 เป็ นจานวนคูบ่ วก ข้อใดถูกต้องบ้าง [O-NET 53/9]


𝑛
1. ( 𝑛√𝑎) = |𝑎| 2. 𝑛√𝑎𝑛 = |𝑎|

2
4. (|4√3 − 5√2| − |3√5 − 5√2| + |4√3 − 3√5|) เท่ากับเท่าใด [O-NET 53/8]
9

การ บวก ลบ คูณ หาร รูท

จานวนทีต่ ิดรูท จะบวกลบกันได้ เมื่อส่วนที่เป็ นรูทของทัง้ สองตัว เหมือนกัน


เช่น 2√5 + 3√5 บวกกันได้ เพราะส่วนทีเ่ ป็ นรูทเท่ากัน เท่ากับ √5
2√5 + 4√2 บวกกันไมได้ เพราะตัวแรกเป็ น √5 แต่ตวั หลังเป็ น √2
2√5 − 3√5 ลบกันไมได้ เพราะตัวตัง้ เป็ น √5 แต่ตวั ลบเป็ น √5
3 3

ในกรณีที่บวกลบกันได้ ผลลัพธ์จะได้จากการเอาตัวเลขหน้ารูทมาบวกลบกัน (ถ้าไม่มีตวั เลขหน้ารูท ให้ถือว่าเป็ น 1)


เช่น 2√5 + 3√5 = 3 3
√2 + 3√2 =
2√2 − √2 = √2 + √3 =

2√2 + 3√2 + √3 − √2 =

ในกรณีที่บวกลบกันไม่ได้ ให้ลองพยายามจัดรูปดูก่อน โดยจะมีวิธีจดั คือ


 หดตัวเลขเข้าออกรู ท
เช่น √8 = √18 =
√50 = √12 =


𝑛
√( )𝑚 → คูณหรือหาร 𝑚 และ 𝑛 ด้วยตัวเลขที่เท่ากันได้ (เหมือนตัดเศษส่วน)
เช่น 9
√26 =
8
√56 =
6 4
√22 = √32 =
3 3
√3 = √22 =

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √8 + √18 − √4


4

สาหรับการคูณจานวนติดรูท จะคูณกันได้เมือ่ “อันดับของรูทเท่ากัน”


เช่น 2√5 × 3√2 คูณกันได้เลย เพราะเป็ นรากอันดับที่ 2 เหมือนกัน
2√5 × 4√2 ตัวแรกเป็ นรากที่สอง แต่ตวั หลังเป็ นรากที่สาม ยังคูณกันไม่ได้ (ต้องจัดรู ปให้อน
ั ดับรูทเท่ากันก่อน)
3

ในกรณีที่อนั ดับรู ทเท่ากัน ให้เอาตัวนอกรูทคูณตัวนอกรูท และ ตัวในรูทคูณตัวในรูท


ถ้าตัวในรูท คูณกันแล้วเกิด ซา้ มากพอ ก็จบั กลุม่ ดึงออกไปนอกรูทได้
10
8 เลขยกกาลัง

เช่น 2√5 × 3√2 =

2√2 × 3√6 =
2
(√3) =
3 6
(√2) =

ถ้าอันดับรูทไม่เท่ากัน ให้ลองแปลง 𝑛
√( )𝑚 โดย คูณหรือหาร 𝑚 กับ 𝑛 ด้วยตัวเลขทีเ่ ท่ากันก่อน
เช่น √2 × √4 =
4

3
√2 × √3 =

ถ้าตัวที่คณ
ู กัน มีการบวกกันอยูด่ ว้ ย ให้เราใช้วิธีกระจาย เหมือนตอนคูณพหุนาม

เช่น (2 + √3)(4 − √3) =

2
(√3 + √2) =

(5 + 2√2)(5 − 2√2) =

สาหรับการหารจานวนติดรูท ให้ทาเหมือนคูณ คือ ตัวหน้ารูท ก็หารกับตัวหน้ารูท ส่วนตัวในรูท ก็หารกับตัวในรูท


8√6 2
เช่น 2√3
= 3√6 ×
√2
=
3
10√2 6 √3
5√10
= 3 =
2 √15

แต่ในเรือ่ งการหาร จะมีสงิ่ ที่ตอ้ งทาเพิ่มคือ ต้องจัดรูปผลลัพธ์ให้ “ตัวส่วนไม่ตดิ รูท”


เพราะตัวติดรูท มักจะเป็ นตัวเลขไม่ลงตัว ถ้าเป็ นตัวส่วน จะคิดเลขลาบากกว่าเป็ นเศษ
วิธีจดั รูป ให้คณ
ู อะไรสักอย่าง ให้รูทที่ตวั ส่วนหายไป โดยต้องคูณทัง้ เศษและส่วน เพื่อไม่ให้คา่ เปลีย่ น ดังนี ้
 คูณด้วย “ตัวทีข่ าด” โดยเมื่อคูณแล้ว ตัวส่วนจะซา้ ครบคู่ และดึงออกไปนอกรู ทได้
2 6
เช่น √2
= 5√3
=
4√2 1
= 3 =
√5 √2
11

 คูณด้วย “คอนจูเกต” ในกรณีทตี่ วั ส่วน เป็ น √ บวกหรือลบ กับจานวนอื่น ให้


หมายเหตุ : “คอนจูเกต” หรือ “สังยุค” คือ จานวนที่เครือ่ งหมายตรงกลางเปลีย่ นเป็ นตรงข้าม
เช่น คอนจูเกตของ 5 + 2√2 คือ 5 − 2√2
คอนจูเกตของ √3 − 4 คือ √3 + 4 เป็ นต้น
การคูณด้วยคอนจูเกต จะทาให้เข้าสูตร (น − ล)(น + ล) = น2 − ล2 ทาให้ √ หายไปได้
เช่น 2
=
1−√3
=
√6−2 √2+√3

 คูณด้วยตัวอื่นๆ ที่เข้าสูตร ผลบวก - ผลต่าง กาลัง 𝑛


เช่น ในกรณีที่ตวั ส่วน เป็ น 3√ บวกหรือลบ กับจานวนอื่น จะต้องให้คณ
ู ด้วย (น2 ± นล + ล2 )
เพือ่ เข้าสูตร (น − ล)(น2 + นล + ล2 ) = น3 − ล3
(น + ล)(น2 − นล + ล2 ) = น3 + ล3
2
เช่น 3
2− √2
=

2
ตัวอย่าง กาหนดให้ √2 = 1.414 จงหาค่าประมาณของ 3√2

1
ตัวอย่าง จงหาค่าของ √ √3+√5
2+
12
10 เลขยกกาลัง

แบบฝึ กหัด
1. จงหาผลบวกและผลลบของจานวนต่อไปนี ้
1. 3√5 + 5√5 2. 2√3 − √3

1
3. √32 − √18 + √2 4. √3 + √3

9 1
5. 4
√50 − √4 + √2 6. 2√𝑥 3 − 𝑥 √𝑥 − 𝑥 2 √
𝑥

2. จงหาผลคูณของจานวนต่อไปนี ้
1. √6 × √2 2. 3√2 × √8

3. 3 3
√3 × √9 4. 3
√−2 × 3√4
3

5. 3
√3 × √2 6. 4
√9 × √5
13

7. 5
√3 × √2 8. (√2 − 1)(√2 + √3)

2
9. (1 − √2)(1 + √2) 10. (1 − √2)

2 2
11. (√3 − 1) 12. (3√2 + 2√3)

3. จงเขียนจานวนต่อไปนี ้ ให้อยูใ่ นรูปที่ตวั ส่วนไม่ตดิ รูท


2 1 √3
1. √5−√3
2. √3
+
2

1 2
3. √2
4. √3+1
14
12 เลขยกกาลัง

2
√2 √6 √2×√3×√10
5. (
√3
− 2
) 6. √6×√5

2−√3 6√3
7. 2+√3
8. 3√2+2√3

√2+1 √2−1 4
9. √2−1
+
√2+1
10. √3+√4+√7

4. กาหนดให้ √2 = 1.414 , √3 = 1.732 และ √5 = 2.236 จงหาค่าประมาณของ จานวนต่อไปนี ้ ให้ถกู ต้อง


ถึงทศนิยมตาแหน่งที่ 2
1
1. √8 − √2 2. √6 × √8
15

3 −1
3. √2
4. (√5 − 2)

5. ถ้า 𝑎 = −5 และ 𝑏=8 แล้ว 6


√𝑎2 𝑏 √𝑎4 𝑏
6
มีคา่ เท่าใด [O-NET 59/4]

2
6. (√2 + √8 + √18 + √32) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 49/1]

7. 3
√18 + 2√−125 − 3√4
4
มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 51/3]

1
8. ค่าของ 2 อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้ [O-NET 56/4]
(1−√3)
1. [1.5, 1.6) 2. [1.6, 1.7) 3. [1.7, 1.8)
4. [1.8, 1.9) 5. [1.9, 2.0)
16
14 เลขยกกาลัง

2
√2
9. (
√5
√6

√15
) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 51/1]

√3+2 √2+2
10. √2−1
÷ 2− 3

มีคา่ เท่ากับข้อใด [O-NET 56/5]
1
1. −
√2
2. √12 3. −√2 4. √2 5. 1
2

√2+√3 √2−√3
11. ถ้า 𝑥=
√2−√3
และ 𝑦=
√2+√3
แล้ว 𝑥 2 − 4𝑥𝑦 + 𝑦 2 เท่ากับเท่าใด [O-NET 54/23]

1
12. ถ้า 𝑎=
√5+2
√5−2
แล้ว √𝑎 + − 2
𝑎
มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 57/4]
17

√3+√2 1
13. ถ้า 𝑎=
√3−√2
แล้ว 𝑎2 + 𝑎2 มีคา่ เท่าใด [O-NET 58/8]

1 1
14. |2 −
√2
| − |2 − √2| มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ [O-NET 50/1]
3 √2 √2 3 5 3√2 3√2 5
1. 2
− 2 2. 2
−2 3. 2
− 2
4. 2
−2

2 2 3 3
15. (1 − √2) (2 + √8) (1 + √2) (2 − √8) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/3]
18
16 เลขยกกาลัง

รูทสองของจานวนที่ตดิ รูท

ในหัวข้อนี ้ จะเรียนเรือ่ งการหารูท ของจานวนที่ติดรูท โดยจะพูดถึงการหารูทสอง ของจานวนในรูป 𝑥 ± 2√𝑦


2
เนื่องจาก (√𝑎 + √𝑏) = (𝑎 + 𝑏) + 2√𝑎𝑏 ดังนัน้ √(𝑎 + 𝑏) + 2√𝑎𝑏 = √𝑎 + √𝑏

บวกกัน คูณกัน
ได้ 𝑥 ได้ 𝑦

ดังนัน้ ถ้าจะหา √𝑥 + 2√𝑦 วิธีงา่ ยๆ คือ ให้หาตัวเลขสองตัวที่ “บวกกันได้ 𝑥 คูณกันได้ 𝑦”


แล้วเอาสองตัวนัน้ มาใส่รูท บวกกัน ตอบได้ทนั ที

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √17 + 2√72

ในกรณีที่เครือ่ งหมายตรงกลางเป็ นลบ ก็ทาเหมือนเดิม และตอบคาตอบในรูป √ตัวมาก − √ตัวน้อย


เนื่องจาก √ จะให้ผลลัพธ์เป็ นบวกเท่านัน้ จึงต้องเอาตัวมากขึน้ ก่อนเสมอ

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √4 − 2√3

ตัวอย่าง จงหารากที่สองของ 11 − 2√24

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √12 + 6√3


19

ตัวอย่าง จงหาค่าของ √4 − √15

แบบฝึ กหัด
1. จงหาผลสาเร็จของค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. √13 + 2√30 2. √6 − 2√5

3. √9 − 2√20 4. √13 − 4√10

5. รากที่สองของ 8 − 4√3 6. รากที่สองของ 8 + 2√7


20
18 เลขยกกาลัง

7. √7 − 4√3 8. √6 − √35

9. รากที่สองของ 2 − √3 10. รากที่สองของ 6 + 3√3

11. 12. รากที่ 4 ของ


4
√17 − 12√2 7 + 4√3

2. จานวนจริง √84 + 18√3 มีคา่ เท่าใด [O-NET 59/3]

3. ค่าของ √5 + √24 − √18 + √12 อยูใ่ ดช่วงใด [O-NET 58/7]


1. (2.2 , 2.3) 2. (2.3 , 2.4) 3. (2.4 , 2.5)
4. (2.5 , 2.6) 5. (2.6 , 2.7)
21

เลขยกกาลัง

หัวข้อนี ้ จะเป็ นการทบทวนความรูเ้ กี่ยวกับเรือ่ งเลขยกกาลังที่เคยเรียนมาเมื่อตอน ม. ต้น


โดยเราจะได้เจอเลขชีก้ าลังทีเ่ ป็ นเศษส่วน ทศนิยม ด้วย แต่กฎเดิมก็ยงั ใช้ได้

 ฐานเหมือนกัน คูณกัน ให้เอาเลขชีก้ าลังมาบวกกัน


ฐานเหมือนกัน หารกัน ให้เอาเลขชีก้ าลังมาลบกัน
เช่น 25 × 24 = 23 × 2 =
1 1
𝑚4
𝑚
= 32 × 33 =
1 3 1 7
31.5 × 32.2 = (2) × (2) =
𝑥 5 𝑦𝑧
𝑎2 𝑏 ∙ 𝑎𝑏 3 = 𝑥𝑦 3
=

 ยกกาลังซ้อน ให้เอาเลขชีก้ าลังมาคูณกัน


เช่น (23 )4 = ((𝑎2 )3 )4 =
1 6
(𝑚2 ) =

 เลขยกกาลัง กระจายเข้าไปในคูณหารได้ แต่กระจายในบวกลบไม่ได้


เช่น (2 × 3)4 = (2 ∙ 32 )4 =
1 6 2
𝑎2 𝑏
(𝑎2 𝑏 3 ) = ( 3 ) =
𝑐

แต่ (2 + 3)4 ≠

 ย้ายบนลงล่าง หรือล่างขึน้ บน เลขชีก้ าลังจะเปลีย่ นเครือ่ งหมาย บวก → ลบ , ลบ → บวก


1
เช่น 2−3 = 3−4
=
𝑎 −2
𝑎−2 𝑏 3 𝑐 −1 = =
𝑏−3
หมายเหตุ: ปกติเราจะไม่ชอบให้เลขชีก้ าลังเป็ นลบ ก่อนตอบจึงนิยมย้ายขึน้ ลงให้เลขชีก้ าลังเป็ นบวกก่อนค่อยตอบ

 อะไรก็ตามยกกาลังศูนย์ จะได้ 1 เสมอ และ ศูนย์ยกกาลังอะไรก็ตาม จะได้ 0 เสมอ


ยกเว้น 00 หาค่าไม่ได้

 ถ้า “เลขชีก้ าลัง” เป็ นเศษส่วน ให้เปลีย่ น “ส่วน” ของเลขชีก้ าลังเป็ น “รูท”
ถ้า “เลขชีก้ าลัง” เป็ นทศนิยม ให้เปลีย่ นทศนิยมเป็ นเศษส่วนอย่างต่า แล้วเปลีย่ นตัวส่วนให้เป็ นรูท
1 3
เช่น 23 = 34 =
3
√2 ∙ √2 = 250.5 =
22
20 เลขยกกาลัง

1
จากสมบัติขอ้ หลังสุดนี่ จะเห็นว่า รูท ก็คือการยกกาลังแบบหนึง่ นั่นคือ 𝑛√𝑎 = 𝑎𝑛 นั่นเอง
ตรงจุดนี ้ จะทาให้ รูท มีสมบัติทกุ อย่างของเรือ่ งเลขยกกาลัง
ตัวอย่างเช่น จากสมบัติทวี่ า่ “เลขยกกาลัง กระจายเข้าไปในคูณหารได้ แต่กระจายในบวกลบไม่ได้”
5
ถ้านามาใช้กบั รูท ก็เช่น √2 × 3 = และ √ =
4
แต่ √𝑥 + 2 √𝑥 + √2 เป็ นต้น

อีกเรือ่ งที่โจทย์นยิ มนามาออกข้อสอบ คือ การเปรียบเทียบเลขยกกาลัง ว่าตัวไหนมาก ตัวไหนน้อย


หลักคือ เราต้องพยายามจัดรูปเลขยกกาลัง ให้อยูใ่ นรูปอย่างง่ายที่สดุ ให้ตวั เลขน้อยที่สดุ ก่อน
 ถ้าเลขชีก้ าลังเป็ นเศษส่วน เรามักยกกาลังทัง้ สองข้างด้วยเลขเยอะๆ ที่ตดั ตัวส่วนทุกส่วนลงตัว (ค.ร.น.)
 ถ้าเลขชีก้ าลังเป็ นจานวนเยอะๆ เรามักยกกาลังทัง้ สองข้างด้วยเศษส่วนที่ทอนเลขชีก้ าลังให้ได้มากที่สดุ (ห.ร.ม.)

ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่า √2 > √3


3
หรือไม่

ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่า 236 < 324 หรือไม่

อีกเรือ่ งที่ตอ้ งระวัง คือ ยิง่ ยกกาลังมาก ไม่ได้แปลว่าจะได้ผลลัพธ์มากขึน้ เสมอไป


เช่น 22 = 4 (0.8)2 = 0.64
23 = 8 มากขึน้ (0.8)3 = 0.512 น้อยลง

จะเห็นว่า ถ้า “ฐานน้อยกว่า 1” ยิ่งยกกาลังมาก กลับจะยิง่ ได้คา่ น้อย


เช่น 0.55 0.59 30.5 30.2
15 20
𝑥2 𝑥2
(1+𝑥2 ) (1+𝑥2 ) (sin 60°)6 sin 60°
5 4 2 −5 2 −4
(√2) (√2) ( ) ( )
3 3
1 1
1 −2 1 −3
(0.2)0.5 (0.2)0.4 (5) (5)
23

แบบฝึ กหัด
1. ข้อใดถูกต้อง
2
1. (−4)10 < 0 2. (−1)6 > 0
3. (−1)0 = 1 4. 1−5 = −1

2. จงเติมเครือ่ งหมาย มากกว่า หรือ น้อยกว่า ให้ถกู ต้อง


1 3 1 5
1. 23 ...... 25 2. (2) ...... (2)

1 1 3 5
3. 23 ...... 25 4. (√2) ...... (√2)

1 1
−3 −5
5. (√3) ...... (√3) 6. (√2 − 1) 3
...... 5
(√2 − 1)

7. √0.5 ...... (0.5)4 8. 3


√1.5 ...... 5
√1.5

9. (0.2)3 ∙ (0.2)5 ...... (0.2)4 ∙ (0.2)6 10. √2√2


4
...... 2

11. 6
√25 ...... 9
√1000 12. 10
√16 ...... 15
√27

3. จงทาให้อยูใ่ นรูปผลสาเร็จ
30 2 2
1. 360 2. 325 + 643

1 6 3
3. (23 ∙ √3) 4. 1252 × √25−1
4
24
22 เลขยกกาลัง

1 1 1
5. (−8)3 6. 52 × 53

1 1 1 1
7. 27 ∙ 33 8. 82 + 182 − 44

1 1 −6 1
−1
𝑎2 𝑏3 𝑎 2 𝑏3 𝑐 4 2 𝑎√𝑏
9. ( 𝑎𝑏 ) 10. ( 3 ) ( 1)
𝑥
23 𝑥 2

5𝑛+2 +5𝑛+1 3𝑛 −3𝑛−2


11. 5𝑛
12. 3𝑛 −3𝑛−1

3∙2𝑛+1 +2𝑛
13. 2𝑛 −2𝑛−1
25

4. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑥 เป็ นจานวนจริงใดๆ ข้อใดต่อไปนีถ้ กู [O-NET 50/27]


1. ถ้า 𝑎 < 0 แล้ว 𝑎 𝑥 < 0 2. ถ้า 𝑎 < 0 แล้ว 𝑎−𝑥 < 𝑎
3. ถ้า 𝑎 > 0 แล้ว 𝑎−𝑥 > 0 4. ถ้า 𝑎 > 0 แล้ว 𝑎 𝑥 > 𝑎

2 1
83 (18)2
5. 4
√144

√6
มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/2]

5
√−32 26
6. 3
√27
+ 3 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 49/1-2]
(64)2

1/2 +2
7. ค่าของ √(−2)2 + (8 √32
√2
) เท่ากับเท่าใด [O-NET 52/2]

8. ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก แล้ว เท่ากับเท่าใด


3
√𝑎 3√𝑎 [O-NET 58/5]
1 2 4 5 7
1. 𝑎 9 2. 𝑎 9 3. 𝑎 9 4. 𝑎9 5. 𝑎9
26
24 เลขยกกาลัง

9. ข้อใดมีคา่ ต่างจากข้ออื่น [O-NET 53/7]


1. (−1)0 2. (−1)0.2 3. (−1)0.4 4. (−1)0.8

1 1

𝑥 2 − √3𝑥 2
10. ถ้า 𝑥 = 1 + √3 แล้ว 𝑥
เท่ากับเท่าใด [O-NET 59/6]
1 1

1. 1 + √3 2. (1 + √3) 2
3. (1 + √3) 2

3
−1 −
4. (1 + √3) 5. (1 + √3) 2

11. ข้อใดต่อไปนีผ้ ิด [O-NET 51/22]


1. (24)30 < 220 ∙ 330 ∙ 440 2. (24)30 < 230 ∙ 320 ∙ 440
3. 220 ∙ 340 ∙ 430 < (24)30 4. 230 ∙ 340 ∙ 420 < (24)30

12. อสมการในข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นจริง [O-NET 49/1-18]


1. 21000 < 3600 < 10300 2. 3600 < 21000 < 10300
3. 3600 < 10300 < 21000 4. 10300 < 21000 < 3600
27

5⁄ 1⁄ 1⁄
13. ให้ 𝐴=2 6 , 𝐵=3 2 และ 𝐶=5 3 จงเรียงลาดับ 𝐴, 𝐵, 𝐶 จากน้อยไปมาก [O-NET 57/2]

3 2 1
14. ให้ 𝐴 = 22 , 𝐵 = 33 และ 𝐶 = 2166 จงเรียงลาดับ 𝐴, 𝐵, 𝐶 จากน้อยไปมาก [O-NET 58/6]
28
26 เลขยกกาลัง

ดอกเบีย้ ทบต้น

คือการนาดอกเบีย้ ที่ได้รบั รวมเข้ากับเงินต้น เพื่อให้เงินต้นในรอบถัดไปมีมลู ค่าสูงขึน้


ทาให้เมื่อคิดดอกเบีย้ ในรอบถัดไป ก็จะได้ดอกเบีย้ มูลค่าสูงขึน้

เช่น ฝากเงิน 1,000 บาท กับธนาคารซึง่ ให้ดอกเบีย้ 4% ต่อปี แบบทบต้นทุกปี


4
เมื่อครบ 1 ปี จะได้รบั ดอกเบีย้ 100 × 1000 = 40 บาท
เมื่อคิดดอกเบีย้ แบบทบต้น จะทาให้เงินต้นในปี ถดั ไปเพิม่ เป็ น 1000 + 40 = 1040 บาท
4
ดังนัน้ เมื่อครบปี ที่ 2 จะได้รบั ดอกเบีย้ 100 × 1040 = 41.6 บาท → มากกว่าต้องเบีย้ ของปี แรกนิดๆ
จะได้เงินต้นในปี ถดั ไป คือ 1040 + 41.6 = 1081.6 บาท

จะเห็นว่าการคิดดอกเบีย้ ทบต้น มีขนั้ ตอนการคิดที่ยงุ่ ยากกว่าการคิดแบบธรรมดา เพราะเงินต้นจะเพิ่มขึน้ เรือ่ ยๆ


ทาให้ตอ้ งค่อยๆ คิดเงินทบต้นไล่ไปทีละปี (ถ้าจะหาเงินรวมปี ที่ 10 ก็เหนื่อยหน่อย)
อย่างไรก็ตาม เรามีสตู รในการคานวณเงินรวมแบบง่ายๆ ทีไ่ ม่ตอ้ งไล่ทีละปี (แต่ตอ้ งใช้เครือ่ งคิดเลข) ดังนี ้

ฝากเงิน 𝑃 บาท ได้ดอกเบีย้ ทบต้น 𝑖% ต่อปี เมื่อผ่านไป 𝑛 ปี


𝑖
จะได้เงินรวม = 𝑃(1 + 𝑟)𝑛 เมื่อ 𝑟 = 100

ตัวอย่าง ฝากเงิน 1,000 บาท กับธนาคารซึง่ ให้ดอกเบีย้ 4% ต่อปี แบบทบต้นทุกปี จงหาเงินรวมเมื่อครบ 2 ปี และเงิน
รวมเมื่อครบ 10 ปี

ตัวอย่าง ราตรีฝากเงิน 2,000 บาท ไว้กบั ธนาคารแห่งหนึง่ โดยธนาคารคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นในอัตรา 5% ต่อปี


จงหาว่า ราตรีจะมีเงินครบ 3000 บาท เมื่อเวลาผ่านไปเท่าใด
กาหนดให้ 1.055 ≈ 1.28 , 1.056 ≈ 1.34 , 1.057 ≈ 1.40
1.058 ≈ 1.48 , 1.059 ≈ 1.55 , 1.0510 ≈ 1.63
29

ตัวอย่าง ธนาคารแห่งหนึง่ คิดดอกเบีย้ แบบทบต้นในอัตรา 3% ต่อปี วรัญญาต้องฝากเงินเท่าใดกับธนาคารแห่งนี ้ จึงจะ


ได้เงินรวมเป็ น 9,000 บาท หลังจากผ่านไป 10 ปี

ตัวอย่าง อนุสรณ์ฝากเงิน 2,000 บาท ไว้กบั ธนาคารแห่งหนึง่ โดยธนาคารคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นในอัตรา 2% ต่อปี


อย่างไรก็ตาม 4 ปี ตอ่ มาได้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจขึน้ ทาให้ธนาคารลดอัตราดอกเบีย้ เหลือ 0.8% ต่อปี จงหามูลค่า
เงินฝากของอนุสรณ์ เมื่อเวลาผ่านไป 10 ปี

แบบฝึ กหัด
1. ฝากเงิน 8,000 บาท โดยได้รบั อัตราดอกเบีย้ 4% ต่อปี แบบทบต้นทุกปี จงหาจานวนเงินฝากเมือ่ เวลาผ่านไป 10 ปี

2. ฝากเงิน 20,000 บาท กับธนาคารซึง่ คิดดอกเบีย้ 0.75% ต่อปี แบบทบต้น จงหาเงินรวมเมื่อเวลาผ่านไป 8 ปี

3. ต้องเริม่ ฝากเงินกับธนาคารกี่บาท จึงจะมีเงินรวม 1,000,000 บาท เมื่อเวลาผ่าน 40 ปี โดยธนาคารดิดดอกเบีย้


5% ต่อปี แบบทบต้น
30
28 เลขยกกาลัง

รากที่ 𝑛

1. 1. 8 , −8 2. 1 3. ไม่มี 4. −1
5. 5 , −5 6. 1 , −1 7. −1 8. ไม่มี
9. 4 , −4 10. 2 11. ไม่มี 12. −2
2. 27

ค่าหลักรากที่ 𝑛

1. 1, 5, 6
2. 1. 3 2. 6 3. −3 4. −6√2
3

5. 42 6. 15√3
3
7. 17 8. |𝑎5 |𝑏 2
2𝑥 2 |𝑦 3 | 2𝑥
9. |𝑧 3 |

𝑧
10. 𝑥
3. 1, 2 4. 0

การ บวก ลบ คูณ หาร รูท

4√3
1. 1. 8√5 2. √3 3. 2√2 4. 3
11√2
5. 2
6. 0
2. 1. 2√3 2. 12 3. 3 4. −6
5. 6
√108 6. √15 7. 10
√288 8. 2 + √6 − √2 − √3
9. −1 10. 3 − 2√2 11. 4 − 2√3 12. 30 + 12√6
5√3 √2
3. 1. √5 + √3 2. 6
3. 2
4. √3 − 1
1
5. 6
6. √2 7. 7 − 4√3 8. 3√6 − 6
3+2√3−√21
9. 6 10. 3
4. 1. 2.121 2. 6.928 3. 2.121 4. 4.236
5. 10 6. 200 7. −10 8. 4
9. 0.3 10. 2 11. 94 12. 4
13. 98 14. 4 15. −32

รูทสองของจานวนที่ตดิ รูท

1. 1. √10 + √3 2. √5 − 1 3. √5 − 2 4. 2√2 − √5
√14−√10
5. ±(√6 − √2) 6. ±(√7 + 1) 7. 2 − √3 8. 2
√6−√2 √18+√6
9. ±( 2
) 10. ±( 2
)
31

11. √2 − 1
4
√17 − 12√2 = √√17 − 12√2

= √√17 − 2√72
= √ √9 − √8
= √ 3 − 2√2
= √2 − √1
= √2 − 1

√6+√2
12. ±(
2
)
2. 9 + √3 3. 2

เลขยกกาลัง

1. 3
2. 1. < 2. > 3. > 4. <
5. > 6. < 7. > 8. >
9. > 10. < 11. < 12. >
3. 1. √3 2. 20 3. 108 4. 625
5 10
5. −2 6. 5 6 7. 3 3 8. 4√2
8𝑏𝑐 2 4
9. 𝑎3 𝑏 4 10 𝑥
11. 30 12. 3
13. 14
13
4. 3 5. 2 6. −
24
7. 3
8. 3 9. 2 10. 5 11. 3
12. 3 13. 𝐶<𝐵<𝐴 14. 𝐵<𝐶<𝐴

ดอกเบีย้ ทบต้น

1. 8000(1.0410) ≈ 11,841.95 บาท 2. 20000(1.0075)8 ≈ 21,231.98


1000000
3. 1.0540
= 142,045.68

เครดิต
ขอบคุณ คุณครูเบิรด์ จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ครูเบิรด์ ย่านบางแค ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารครับ

You might also like