You are on page 1of 26

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย.

64) 1
8 Jul 2021

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)


วันอาทิตย์ที่ 4 เมษายน 2564 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 25 ข้อ ข้อละ 3 คะแนน รวม 75 คะแนน
1. สมมติวา่ รถยนต์ยี่หอ้ หนึง่ มีราคาลดลงปี ละ 20% ของราคาในปี กอ่ นหน้า
ถ้ากลางปี พ.ศ. 2564 รถยนต์ยหี่ อ้ นีค้ นั หนึง่ มีราคา 1,000,000 บาท
แล้วในกลางปี ใด รถยนต์คนั นีจ้ งึ จะมีราคาต่ากว่า 400,000 บาท เป็ นปี แรก
1. พ.ศ. 2566 2. พ.ศ. 2567 3. พ.ศ. 2568
4. พ.ศ. 2569 5. พ.ศ. 2570

2. ให้เอกภพสัมพัทธ์ 𝑈 = { 2, 3, 4 } พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ∃𝑥[ 𝑥 + 1 ≤ 5 ↔ 2𝑥 > 1 ]
ข) ∀𝑥[ 𝑥 2 > 1 ] → ∃𝑥[ 𝑥 − 3 > 1 ]
ค) ∃𝑥[ 𝑥 + 2 = 𝑥 2 → 𝑥 2 < 0 ]
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) เท่านัน้ ที่มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
2. ข้อความ ก) และ ข) เท่านัน้ ทีม่ ีคา่ ความจริงเป็ นจริง
3. ข้อความ ก) และ ค) เท่านัน้ ที่มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
4. ข้อความ ข) และ ค) เท่านัน้ ทีม่ ีคา่ ความจริงเป็ นจริง
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) มีคา่ ความจริงเป็ นจริง

𝑥−1 1−𝑥
3. ให้ ℤแทนเซตของจานวนเต็ม ผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต { 𝑥 ∈ ℤ | |𝑥+3| = 𝑥+3 } เท่ากับเท่าใด
1. −5 2. −3 3. −2
4. 0 5. จานวนสมาชิกในเซตนีเ้ ป็ นจานวนอนันต์ และหาผลบวกไม่ได้
2 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

4. ในการสอบชิงทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งหนึง่ ผูท้ ี่สอบผ่านข้อเขียนต้องมีคะแนนสอบตัง้ แต่


เปอร์เซ็นไทล์ที่ 85 ขึน้ ไป ถ้าคะแนนของการสอบครัง้ นีม้ ีการแจกแจงปกติ โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 80 คะแนน
และความแปรปรวนเท่ากับ 9 คะแนน2 แล้วผูท้ ี่สอบผ่านข้อเขียนจะต้องได้คะแนนสอบอย่างน้อยกี่คะแนน
กาหนดตารางแสดงพืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ดังนี ้

0 𝑧
𝑧 0.85 1.04
พืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน 0.80 0.85

1. 82.55 2. 83.12 3. 85.00 4. 87.65 5. 89.36

5. ให้เวกเตอร์ 𝑢⃑ ≠ 0⃑ , 𝑣 ≠ 0⃑ และ |𝑢⃑| ≠ |𝑣| พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


ก) มุมระหว่าง 3𝑢⃑ และ 3𝑣 มีขนาดเป็ น 3 เท่าของมุมระหว่าง 𝑢⃑ และ 𝑣
ข) มุมระหว่าง 𝑢⃑ − 𝑣 และ 𝑣 − 𝑢⃑ มีขนาด 180°
ค) มุมระหว่าง 𝑢⃑ + 𝑣 และ 𝑢⃑ − 𝑣 มีขนาด 90°
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

𝑥
6. เซตคาตอบของอสมการ 14+ +2𝑥+2
69
≤ 5 เป็ นสับเซตของเซตใด
1. (−∞, 2 ] ∪ [ 4, ∞) 2. (−∞, 3 ] 3. [ 3, 16 ]
4. ( 2, 6 ) 5. ( 1, 5 )
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 3

7. ให้ฟังก์ชนั 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(𝑥) = 12 sin(2𝑥) พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


ก) แอมพลิจดู ของ 𝑓 เท่ากับ 0.5
ข) 𝑓 (2𝜋 7
2𝜋
) < 𝑓(5 )
ค) ถ้า 𝑛 เป็ นจานวนเต็ม แล้ว 𝑓(𝑥 + 𝑛𝜋) = 𝑓(𝑥)
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

8. ให้ 𝑈 เป็ นเอกภพสัมพัทธ์ และ 𝐴, 𝐵, 𝐶 เป็ นสับเซตของ 𝑈


ถ้า 𝐴 ∩ 𝐵 = 𝐵 ∩ 𝐶 = 𝐴 ∩ 𝐶 = 𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶
𝑛(𝐴) = 𝑛(𝐵) = 𝑛(𝐶) = 10 , 𝑛(𝑈) = 30
และ 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶)′ ) = 6
แล้ว 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵) ∩ 𝐶 ′ ) เท่ากับเท่าใด
1. 14 2. 16 3. 17 4. 20 5. 23

9. ถ้า 𝑥 2 − 4𝑥 + 5 เป็ นตัวประกอบของ 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 30 โดยที่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง


แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
1. −29 2. −18 3. −17 4. 1 5. 19
4 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

10. ถ้าจานวนเชิงซ้อน 3 − 𝑖 เป็ นคาตอบหนึง่ ของสมการ 𝑥 2 + 𝑎𝑥 + 𝑏 = 0 โดยที่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง


แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
1. 2 2. 4 3. 7 4. 8 5. 10

11. ให้ 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 , 𝑧4 เป็ นรากที่ 4 ที่แตกต่างกันของจานวนเชิงซ้อนจานวนหนึง่


โดยที่ 𝑧1 = 2 (cos 𝜋9 + 𝑖 sin 𝜋9) , Re(𝑧2) > 0 และ Im(𝑧3) > 0
(𝑧4 )3 เท่ากับเท่าใด
1. 4√3 + 4𝑖 2. 4 + 4√3𝑖 3. 4 − 4√3𝑖
4. −4√3 − 4𝑖 5. −4 − 4√3𝑖

𝑥 2𝑥 3𝑥
12. คาตอบของสมการ 1 + 1 +5 5𝑥 + (1 +5 5𝑥)2 + (1 +5 5𝑥)3 + ⋯ = 26
25
เท่ากับเท่าใด
1. −2 2. −1 3. 0 4. 1 5. 2
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 5

13. ถ้า (𝑎, 𝑏) เป็ นจุดบนเส้นตรง 3𝑥 − 𝑦 + 4 = 0 และ (𝑎, 𝑏) อยูใ่ กล้กบั จุด (−2, 3) ที่สดุ
แล้ว 𝑎 เท่ากับเท่าใด
1. −1 2. − 12 3. − 13 4. − 18 5. 0

14. กาหนดไฮเพอร์โบลา 16𝑥 2 − 9𝑦 2 + 128𝑥 + 18𝑦 + 103 = 0


ให้ 𝐹 เป็ นโฟกัสที่อยูใ่ นจตุภาคที่ 2 และให้ 𝐶 เป็ นจุดศูนย์กลางของไฮเพอร์โบลานี ้
สมการของพาราโบลาทีม่ ีจดุ ยอดอยูท่ ี่จดุ 𝐶 และโฟกัสอยูท่ ี่จดุ 𝐹 คือข้อใด
1. (𝑥 + 4)2 = −12(𝑦 − 1) 2. (𝑥 + 4)2 = −20(𝑦 − 1)
3. (𝑦 − 1)2 = −12(𝑥 + 4) 4. (𝑦 − 1)2 = −16(𝑥 + 4)
5. (𝑦 − 1)2 = −20(𝑥 + 4)

15. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ มีจดุ ยอดที่ 𝐴(−2, −4, −4) , 𝐵(0, −2, 0)
และ 𝐶(0, 0, 2) รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีพนื ้ ที่กี่ตารางหน่วย
1. 1 2. √3 3. 2 4. 2√3 5. 4√3
6 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

𝑎1 𝑎2 𝑎3 𝑏1 𝑏2 𝑏3 𝑎1 𝑎2 𝑎3
16. ให้เมทริกซ์ 𝐴 = [𝑏1 𝑏2 𝑏3 ] , 𝐵 = [ 𝑎1 𝑎2 𝑎3 ] และ 𝐶=[ 0 0 0 ]
𝑐1 𝑐2 𝑐3 3𝑐1 3𝑐2 3𝑐3 3𝑏1 3𝑏2 3𝑏3
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) det(𝐵) = 3 det(𝐴)
ข) det(𝐴𝐶) = 0
ค) det(𝐴 + 𝐶) = det(𝐴) + det(𝐶)
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

17. ข้อมูลเชิงปริมาณชุดหนึง่ มีขอ้ มูลทัง้ หมด 21 ตัว และข้อมูลชุดนีม้ ฐี านนิยม 1 ค่า เท่านัน้
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ถ้าตัดข้อมูลที่มีคา่ น้อยที่สดุ ออก 1 ตัว และเพิ่มข้อมูลที่มีคา่ เท่ากับฐานนิยมแทนที่ขอ้ มูลที่ตดั ออก
แล้วข้อมูลที่ได้จะมีฐานนิยมเท่าเดิม
ข) ถ้าตัดข้อมูลที่มีคา่ น้อยที่สดุ ออก 1 ตัว แล้วข้อมูลที่ได้จะมีมธั ยฐานมากขึน้
ค) ถ้าเพิม่ ข้อมูลอีก 2 ตัว ที่มีคา่ เท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิต แล้วข้อมูลที่ได้จะมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตมากขึน้
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

18. ฟาร์มแมวแห่งหนึง่ มีแมว 3 สายพันธุ์ ได้แก่ เก้าแต้ม วิเชียรมาศ และขาวมณี รวมทัง้ หมด 12 ตัว
โดยอัตราส่วนของจานวนแมวพันธุ์ เก้าแต้ม ต่อ วิเชียรมาศ ต่อ ขาวมณี เป็ น 3 : 2 : 1
ถ้าสุม่ เลือกแมวจากฟาร์มแห่งนีม้ า 3 ตัว แล้วความน่าจะเป็ นที่สมุ่ ได้แมวพันธุเ์ ก้าแต้มอย่างน้อย 1 ตัว เท่ากับเท่าใด
1
1. 11 2. 229 3. 119 4. 10
11
5. 2019
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 7

19. สุม่ หยิบจานวนเต็ม 2 จานวน ทีต่ า่ งกัน ในเซต { 1, 2, 3, ... , 150 } โดยหยิบทัง้ 2 จานวนพร้อมกัน
ความน่าจะเป็ นที่แต่ละจานวนจะเป็ นจานวนคูท่ ี่หารด้วย 3 ลงตัว เท่ากับเท่าใด
1. 14 25
2. 149 3. 19 4. 361 4
5. 149

20. สานักงานเขตแห่งหนึง่ จัดที่น่งั สาหรับผูม้ ารอทาบัตรประชาชน โดยเป็ นเก้าอี ้ 11 ตัว ที่วางเรียงกันเป็ นแถว
หน้ากระดานหนึง่ แถว เพื่อเป็ นการป้องกันการระบาดของโรคโควิด-19 จึงไม่ให้มกี ารนั่งเก้าอีต้ ดิ กัน
ถ้าในช่วงเวลาหนึง่ มีผมู้ ารอทาบัตรประชาชน 5 คน แล้วจะมีวิธีการจัดที่น่งั ให้ทงั้ 5 คน ได้ทงั้ หมดกี่วิธี
1. 11!
6!
2. 5!6!11!
3. 7!2! 7!
4. 5!2! 5. 5!

21. ซุม้ เกมจับสลากในงานกาชาดมีกล่องใบหนึง่ บรรจุสลาก 9 ใบ โดยมีหมายเลข 1, 2, 3, ... , 9 กากับไว้ใบละ


หนึง่ หมายเลขไม่ซา้ กัน ในการเล่นเกมแต่ละครัง้ ผูเ้ ล่นต้องจ่ายเงิน 90 บาท ก่อน เพื่อจับสลากพร้อมกันสองใบ
ถ้าผลคูณของหมายเลขสลากที่ได้เป็ นจานวนคู่ ผูเ้ ล่นจะได้เงินรางวัล 180 บาท
ถ้าผลคูณของหมายเลขสลากที่ได้เป็ นจานวนคี่ ผูเ้ ล่นจะไม่ได้รบั เงินรางวัลใดๆ
ในการเล่นเกมแต่ละครัง้ ข้อสรุปใดถูกต้อง
1. โดยเฉลีย่ แล้ว เท่าทุน 2. โดยเฉลีย่ แล้ว ได้กาไรครัง้ ละ 40 บาท
3. โดยเฉลีย่ แล้ว ได้กาไรครัง้ ละ 90 บาท 4. โดยเฉลีย่ แล้ว ขาดทุนครัง้ ละ 40 บาท
5. โดยเฉลีย่ แล้ว ขาดทุนครัง้ ละ 90 บาท
8 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

22. ให้ฟังก์ชนั 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(𝑥) = −𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง


ถ้า 𝑓(0) = 3 และ 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 และค่าต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1 แล้ว 𝑓(1) เท่ากับเท่าใด
1. −1 2. 1 3. 3 4. 5 5. 7

23. ให้ 𝐴 แทนความยาวของส่วนโค้งของวงกลมทีว่ ดั จากจุด (2, 0) ไปยังจุด (−√3, 𝑦) โดยที่ 𝑦 > 0


และมุมที่จดุ ศูนย์กลางของวงกลมมีขนาด 𝛼 เรเดียน ดังรูปที่ 1
ให้มมุ ทีจ่ ดุ ศูนย์กลางของวงกลมหนึง่ หน่วย ที่รองรับด้วยส่วนโค้งที่ยาว 𝐴 หน่วย มีขนาด 𝛽 เรเดียน ดังรูปที่ 2
𝑌 𝑌

(−√3, 𝑦)
𝐴

𝛼 𝛽
𝑋 𝑜 𝑋
𝑜 (2,0) (1,0)

รูปที่ 1 รูปที่ 2
cos 𝛼 + sin 𝛽 เท่ากับเท่าใด
1 √3 1 √3
1. −√3 2. − −
2 2
3. 2

2
4. 1 5. √3

24. ให้ 𝑎𝑛 เป็ นลาดับซึง่ 𝑎1 = 1 , 𝑎2 = 3 และ 𝑎𝑛+1 = 𝑎𝑛 + 𝑎𝑛−1 เมื่อ 𝑛 ∈ { 2, 3, 4, … }


∞ 𝑎𝑛
ค่าของ Σ
𝑛=2 𝑎𝑛−1 ∙ 𝑎𝑛+1
เท่ากับเท่าใด
3
1. หาผลบวกไม่ได้ เพราะอนุกรมนีเ้ ป็ นอนุกรมลูอ่ อก 2. 4
4
3. 1 4. 3
5. 2
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 9

25. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง ซึง่ 𝑓(0) = 10 , 𝑓(3) = 9


และ 𝑓 ′ (𝑥) = {𝑥 2+ 𝑎𝑥 เมื่อ 𝑥 < 1 โดยที่ 𝑎 เป็ นจานวนจริง
2

𝑥 + 𝑎 เมื่อ 𝑥 ≥ 1
𝑎 เท่ากับเท่าใด
1. 4 2. 2 3. 0 4. −2 5. −4

ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เป็ นคาตอบ จานวน 5 ข้อ ข้อละ 5 คะแนน รวม 25 คะแนน


26. ให้ 𝐿 เป็ นเส้นตรงซึง่ มีความชันเท่ากับ −2 และสัมผัสพาราโบลา 𝑦 = 17 − 𝑥 2
พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยแกน 𝑋 แกน 𝑌 และเส้นตรง 𝐿 เท่ากับกี่ตารางหน่วย

27. ให้ 𝐴 = { −2, −1, 0, 1, 2 } และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐴
โดยกาหนดค่าของฟั งก์ชนั เพียงบางค่า ดังตารางต่อไปนี ้
𝑥 𝑓(𝑥) 𝑓 −1 (𝑥)
−1 1 2
0 2 1
1 0 𝑎

50 + 5𝑎 + 𝑓(−2) เท่ากับเท่าใด
10 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

28. ให้ 𝑝. 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี ้

ก) ถ้า 𝑝 ↔ 𝑞 มีคา่ ความจริงเป็ นจริง (15)


แล้ว [(𝑝 ↔ 𝑞) ∨ (𝑝 → 𝑟)] ↔ [𝑟 → (𝑝 ∨ ~𝑞)]
มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
ข) (𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑞 → 𝑟) สมมูลกับ (𝑝 ∧ 𝑞) → 𝑟 (30)

จากข้อความ ก) และ ข) ข้างต้น


ผลบวกของจานวนที่อยูใ่ นวงเล็บทางขวามือของทุกข้อความทีถ่ กู ต้องเท่ากับเท่าใด
(หากข้อความทัง้ สองไม่ถกู ต้อง ให้ถือว่าผลบวกเท่ากับ 0)

29. นักเรียนห้องหนึง่ มีจานวน 50 คน ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ มีนกั เรียนเข้าสอบทัง้ หมด 49 คน ขาดสอบ 1 คน


โดยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบของนักเรียน 49 คน เท่ากับ 10 คะแนน ต่อมา นักเรียนที่ขาดสอบได้
ขอสอบในภายหลัง เมื่อนาคะแนนของนักเรียนทีข่ าดสอบมาคานวณค่าเฉลีย่ เลขคณิตด้วย พบว่า ค่าเฉลีย่ เลขคณิต
ไม่มีการเปลีย่ นแปลง ความแปรปรวนของคะแนนสอบของนักเรียนทัง้ 50 คน เท่ากับกี่คะแนน2

30. จานวนจริง 𝑥 ที่มีคา่ น้อยที่สดุ ซึง่ เป็ นคาตอบของสมการ


(2 log3 𝑥) − 4 1 2
𝑥
log3 ( )
= log 3 (𝑥 7 ) − (log 3) − 8 เท่ากับเท่าใด
𝑥
9
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 11

เฉลย
1. 4 7. 3 13. 2 19. 5 25. 5
2. 3 8. 1 14. 5 20. 3 26. 81
3. 3 9. 3 15. 4 21. 2 27. 43
4. 2 10. 2 16. 1 22. 4 28. 15
5. 2 11. 5 17. 1 23. 1 29. 98
6. 5 12. 1 18. 4 24. 4 30. 243

แนวคิด
1. สมมติวา่ รถยนต์ยี่หอ้ หนึง่ มีราคาลดลงปี ละ 20% ของราคาในปี กอ่ นหน้า
ถ้ากลางปี พ.ศ. 2564 รถยนต์ยหี่ อ้ นีค้ นั หนึง่ มีราคา 1,000,000 บาท
แล้วในกลางปี ใด รถยนต์คนั นีจ้ งึ จะมีราคาต่ากว่า 400,000 บาท เป็ นปี แรก
1. พ.ศ. 2566 2. พ.ศ. 2567 3. พ.ศ. 2568
4. พ.ศ. 2569 5. พ.ศ. 2570
ตอบ 4
ลดลงปี ละ 20% แปลว่าราคาของปี ถดั ไป จะเหลือแค่ 80% ของราคาในปี ก่อนหน้า
80 80
× ×
100 100

80 80 2
1,000,000 , 1,000,000 × 100 , 1,000,000 × (100) , …
80 𝑛
เมื่อผ่านไป 𝑛 ปี จะได้ราคาคือ 1,000,000 × (100)
80 𝑛
ซึง่ จะต่าว่า 400,000 บาท เมื่อ 1,000,000 × (100) < 400,000
0.8 𝑛 < 0.4
𝑛 0.8 𝑛
1 0.8 ไล่ยกกาลังฐาน 0.8 ไปเรือ่ ยๆ จะเห็นว่า 0.8 𝑛 < 0.4 เป็ นครัง้ แรก เมื่อ 𝑛 = 5
2 0.64 นั่นคือ ราคาจะต่ากว่า 400,000 บาท เป็ นครัง้ แรก เมื่อผ่านไป 5 ปี
3 0.512
4 0.4096 คิดเป็ นปี พ.ศ. 2564 + 5 = 2569
5 0.32768

2. ให้เอกภพสัมพัทธ์ 𝑈 = { 2, 3, 4 } พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ∃𝑥[ 𝑥 + 1 ≤ 5 ↔ 2𝑥 > 1 ]
ข) ∀𝑥[ 𝑥 2 > 1 ] → ∃𝑥[ 𝑥 − 3 > 1 ]
ค) ∃𝑥[ 𝑥 + 2 = 𝑥 2 → 𝑥 2 < 0 ]
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) เท่านัน้ ที่มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
2. ข้อความ ก) และ ข) เท่านัน้ ทีม่ ีคา่ ความจริงเป็ นจริง
3. ข้อความ ก) และ ค) เท่านัน้ ที่มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
4. ข้อความ ข) และ ค) เท่านัน้ ทีม่ ีคา่ ความจริงเป็ นจริง
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
ตอบ 3
12 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

ก) ไล่แทนทีละตัว ∃𝑥[ 𝑥 + 1 ≤ 5 ↔ 2𝑥 > 1 ]


𝑥 = 2 : 2 + 1 ≤ 5 ↔ 2(2) > 1
T ↔ T
T → มี 𝑥 = 2 ที่แทนแล้วจริง ดังนัน้ ก) จริง
ข) ทุกตัวมากกว่า 1 ดังนัน้ ∀𝑥[ 𝑥 2 > 1 ] เป็ นจริง
22 , 32 , 42
𝑥 − 3 > 1 คือ 𝑥 > 4 ซึง่ จะเห็นว่าไม่มตี วั ไหนใน 𝑈 เลย ที่มากกว่า 4 ดังนัน้ ∃𝑥[ 𝑥 − 3 > 1 ] เป็ นเท็จ
ดังนัน้ ∀𝑥[ 𝑥 > 1 ] → ∃𝑥[ 𝑥 − 3 > 1 ] ≡ T → F ≡ F เป็ นเท็จ
2

ค) ไล่แทนทีละตัว ∃𝑥[ 𝑥 + 2 = 𝑥 2 → 𝑥 2 < 0 ]


𝑥 = 2 : 2 + 2 = 22 → 22 < 0
T → F
F
𝑥 = 3 : 3 + 2 = 32 → 32 < 0
F →
T → มี 𝑥 = 3 ที่แทนแล้วจริง ดังนัน้ ค) จริง
𝑥−1 1−𝑥
3. ให้ ℤ แทนเซตของจานวนเต็ม ผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต { 𝑥 ∈ ℤ | |𝑥+3| = 𝑥+3 } เท่ากับเท่าใด
1. −5 2. −3 3. −2
4. 0 5. จานวนสมาชิกในเซตนีเ้ ป็ นจานวนอนันต์ และหาผลบวกไม่ได้
ตอบ 3
𝑥−1 1−𝑥
|𝑥+3| = 𝑥+3
𝑥−1 −(𝑥−1)
|𝑥+3| = 𝑥+3
𝑥−1 𝑥−1
𝑥−1 |𝑥+3| = −
ให้ 𝑥+3
= 𝑎 𝑥+3
| 𝑎 |= − 𝑎

จากสมบัติของค่าสัมบูรณ์ |𝑎| = −𝑎 ก็ตอ่ เมื่อ 𝑎 ≤ 0


𝑥−1
𝑥+3
≤ 0
จุดที่มาจากตัวส่วน → เอาเฉพาะจานวนเต็ม จะได้ 𝑥 = −2 , −1 , 0 , 1
+ − +
ห้ามเป็ นจุดทึบ จะได้ผลบวก = (−2) + (−1) + 0 + 1
−3 1
= −2
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 13

4. ในการสอบชิงทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งหนึง่ ผูท้ ี่สอบผ่านข้อเขียนต้องมีคะแนนสอบตัง้ แต่


เปอร์เซ็นไทล์ที่ 85 ขึน้ ไป ถ้าคะแนนของการสอบครัง้ นีม้ ีการแจกแจงปกติ โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 80 คะแนน
และความแปรปรวนเท่ากับ 9 คะแนน2 แล้วผูท้ ี่สอบผ่านข้อเขียนจะต้องได้คะแนนสอบอย่างน้อยกี่คะแนน
กาหนดตารางแสดงพืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน ดังนี ้

0 𝑧
𝑧 0.85 1.04
พืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน 0.80 0.85

1. 82.55 2. 83.12 3. 85.00 4. 87.65 5. 89.36


ตอบ 2
เปอร์เซ็นไทล์ที่ 85 คือ พืน้ ที่ = 0.85 → จากตาราง จะได้ 𝑧 = 1.04
แปลง 𝑧 กลับไปเป็ นคะแนนสอบด้วยสูตร 𝑧 = 𝑥𝑖 𝑠− 𝑥̅
𝑥𝑖 − 80
โจทย์ให้ความแปรปรวน 𝑠 2 = 9
1.04 =
3 จะได้ 𝑠 = 3
83.12 = 𝑥𝑖

5. ให้เวกเตอร์ 𝑢⃑ ≠ ⃑0 , 𝑣 ≠ ⃑0 และ |𝑢⃑| ≠ |𝑣| พิจารณาข้อความต่อไปนี ้


ก) มุมระหว่าง 3𝑢⃑ และ 3𝑣 มีขนาดเป็ น 3 เท่าของมุมระหว่าง 𝑢⃑ และ 𝑣
ข) มุมระหว่าง 𝑢⃑ − 𝑣 และ 𝑣 − 𝑢⃑ มีขนาด 180°
ค) มุมระหว่าง 𝑢⃑ + 𝑣 และ 𝑢⃑ − 𝑣 มีขนาด 90°
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 2
ก) 3𝑢⃑ และ 3𝑣 คือ 𝑢⃑ และ 𝑣 ที่เพิ่มขนาดเป็ น 3 เท่า แต่ทิศเหมือนเดิม
ดังนัน้ มุมระหว่าง 3𝑢⃑ และ 3𝑣 จะมีขนาดเท่าเดิม → ก) ผิด
ข) เนื่องจาก 𝑢⃑ − 𝑣 = −(𝑣 − 𝑢⃑) ดังนัน้ 𝑢⃑ − 𝑣 และ 𝑣 − 𝑢⃑ เป็ นเวกเตอร์ทมี่ ีทิศตรงข้ามกัน
180°
จึงทามุม 180° กัน ดังรูป → ข) ถูก
ค) ตัง้ ฉากกัน จะดอทกันได้ 0 : (𝑢⃑ + 𝑣) ∙ (𝑢⃑ − 𝑣) = 𝑢⃑ ∙ 𝑢⃑ − 𝑢⃑ ∙ 𝑣 + 𝑣 ∙ 𝑢⃑ − 𝑣 ∙ 𝑣
⃑ |2
= |𝑢 − |𝑣 |2
เนื่องจาก |𝑢
⃑ | ≠ |𝑣 | จึงสรุปไม่ได้วา่ ผลดอทเป็ น 0 ดังนัน้ 𝑢
⃑ +𝑣 และ 𝑢
⃑ −𝑣 ไม่ตงั้ ฉากกัน → ค) ผิด
14 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

𝑥
6. เซตของคาตอบอสมการ 14+ +2𝑥+2
69
≤ 5 เป็ นสับเซตของเซตใด
1. (−∞, 2 ] ∪ [ 4, ∞) 2. (−∞, 3 ] 3. [ 3, 16 ]
4. ( 2, 6 ) 5. ( 1, 5 )
ตอบ 5
4𝑥 + 69
≤ 5 ผลยกกาลังฐาน 2 จะเป็ นบวกเสมอ
1 + 2𝑥+2 → ย้าย 1 + 2𝑥+2 ขึน้ มาคูณได้
𝑥
4 + 69 ≤ 5(1 + 2𝑥+2 ) โดยไม่ตอ้ งกลับเครือ่ งหมาย ≤
(2 ) + 69 ≤ 5 + 5(2𝑥 ∙ 22 )
2 𝑥

22𝑥 + 69 ≤ 5 + 20(2𝑥 )
22𝑥 − 20(2𝑥 ) + 64 ≤ 0
(2𝑥 − 4)(2𝑥 − 16) ≤ 0
→ 4 ≤ 2𝑥 ≤ 16
+ − +
22 ≤ 2 𝑥 ≤ 24
4 16 2 ≤ 𝑥 ≤ 4 ซึง่ จะเป็ นสับเซตของ (1, 5)
7. ให้ฟังก์ชนั 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(𝑥) = 12 sin(2𝑥) พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) แอมพลิจดู ของ 𝑓 เท่ากับ 0.5
ข) 𝑓 (2𝜋 7
2𝜋
) < 𝑓( )
5
ค) ถ้า 𝑛 เป็ นจานวนเต็ม แล้ว 𝑓(𝑥 + 𝑛𝜋) = 𝑓(𝑥)
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 3
ก) 𝑓(𝑥) = 12 sin(2𝑥) จะมีกราฟเป็ นกราฟ sin ที่มีแอมพลิจดู = 12 (ก. ถูก) และมีคาบ = 2𝜋
2
= 𝜋 ดังรู ป

1
𝑦 = 𝐴 sin(𝐵𝑥 + 𝐶) 2
แอมพลิจดู = |𝐴|
2𝜋
คาบ = |𝐵| −𝜋 − 3𝜋 − 𝜋 − 𝜋 0 𝜋 𝜋 3𝜋 𝜋
42 4 4 2 4
1

2

ข) เนื่องจาก 𝜋4 < 2𝜋 7
2𝜋 𝜋
< 5 < 2 ดังนัน ้ 𝑓 จะเป็ นกราฟในช่วงดังรูป 1

จะเห็นว่า 𝑓 เป็ นช่วงขาลง → 𝑥 มากขึน้ จะได้ 𝑓(𝑥) น้อยลง 2

เนื่องจาก 2𝜋
7
2𝜋
< 5 ดังนัน ้ 𝑓 (2𝜋
7
2𝜋
) > 𝑓 ( 5 ) → ข. ผิด 0 𝜋 𝜋
4 2

ค) เนื่องจากคาบ = 𝜋 แสดงว่าเมื่อ 𝑥 เพิ่มขึน้ ทีละ 𝜋 จะได้ 𝑓(𝑥) วนกลับไปมีคา่ เท่าเดิม


นั่นคือ 𝑓(𝑥) = 𝑓(𝑥 + 𝜋) = 𝑓(𝑥 + 2𝜋) = 𝑓(𝑥 + 3𝜋) = … → ค. ถูก
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 15

8. ให้ 𝑈 เป็ นเอกภพสัมพัทธ์ และ 𝐴, 𝐵, 𝐶 เป็ นสับเซตของ 𝑈


ถ้า 𝐴 ∩ 𝐵 = 𝐵 ∩ 𝐶 = 𝐴 ∩ 𝐶 = 𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶
𝑛(𝐴) = 𝑛(𝐵) = 𝑛(𝐶) = 10 , 𝑛(𝑈) = 30
และ 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶)′ ) = 6
แล้ว 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵) ∩ 𝐶 ′ ) เท่ากับเท่าใด
1. 14 2. 16 3. 17 4. 20 5. 23
ตอบ 1
จาก 𝑛(𝑈) = 30 และ 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶)′ ) = 6 จะได้ 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶) = 30 − 6 = 24

𝑛(𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶) = 24 …(1) 𝑛(𝐴) = 10 …(2) 𝑛(𝐵) = 10 …(3) 𝑛(𝐶) = 10 …(4)

โจทย์ถาม 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵) ∩ 𝐶 ′ )
= 𝑛((𝐴 ∪ 𝐵) − 𝐶) ซึง่ หมายส่วนพืน้ ที่ดงั รูป

จะเห็นว่าส่วนส่วนที่โจทย์ถาม หาได้จากการหักแผนภาพ (1) ด้วยแผนภาพ (4)


= 24 − 10 = 14

9. ถ้า 𝑥 2 − 4𝑥 + 5 เป็ นตัวประกอบของ 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 30 โดยที่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง


แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
1. −29 2. −18 3. −17 4. 1 5. 19
ตอบ 3
เป็ นตัวประกอบ แสดงว่า 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 30 = (𝑥 2 − 4𝑥 + 5) ∙ 𝑃(𝑥) เมื่อ 𝑃(𝑥) เป็ นพหุนาม
𝑥3
พิจารณาพจน์กาลังสูงสุดของทัง้ สองฝั่ง จะได้พจน์กาลังสูงสุดของ 𝑃(𝑥) คือ 𝑥2
=𝑥
30
พิจารณาพจน์คา่ คงที่ (ที่ไม่มี 𝑥) ของทัง้ สองฝั่ง จะได้พจน์คา่ คงที่ของ 𝑃(𝑥) คือ 5
=6

ดังนัน้ 𝑃(𝑥) = 𝑥 + 6

จะได้ 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 30 = (𝑥 2 − 4𝑥 + 5) ∙ (𝑥 + 6)
= 𝑥 3 + 6𝑥 2 − 4𝑥 2 − 24𝑥 + 5𝑥 + 30
= 𝑥 3 + 2𝑥 2 − 19𝑥 + 30
เทียบสัมประสิทธิ์ จะได้ 𝑎=2 และ 𝑏 = −19 ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = 2 + (−19) = −17

10. ถ้าจานวนเชิงซ้อน 3 − 𝑖 เป็ นคาตอบหนึง่ ของสมการ 𝑥 2 + 𝑎𝑥 + 𝑏 = 0 โดยที่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง


แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
1. 2 2. 4 3. 7 4. 8 5. 10
ตอบ 2
ในสมการพหุนามที่มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑧 เป็ นคาตอบแล้วสังยุคของ 𝑧 ก็จะเป็ นคาตอบด้วย
16 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

เนื่องจาก 3 − 𝑖 เป็ นคาตอบ ดังนัน้ 3+𝑖 จะเป็ นคาตอบด้วย


จากสูตรผลบวกผลคูณคาตอบ จะได้ ผลบวกคาตอบ = −𝑎 และ ผลคูณคาตอบ = 𝑏
(3 − 𝑖) + (3 + 𝑖) = −𝑎 (3 − 𝑖)(3 + 𝑖) = 𝑏
6 = −𝑎 32 − 𝑖 2 = 𝑏
−6 = 𝑎 10 = 𝑏
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = (−6) + 10 = 4

11. ให้ 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 , 𝑧4 เป็ นรากที่ 4 ที่แตกต่างกันของจานวนเชิงซ้อนจานวนหนึง่


โดยที่ 𝑧1 = 2 (cos 𝜋9 + 𝑖 sin 𝜋9) , Re(𝑧2) > 0 และ Im(𝑧3) > 0
(𝑧4 )3 เท่ากับเท่าใด
1. 4√3 + 4𝑖 2. 4 + 4√3𝑖 3. 4 − 4√3𝑖
4. −4√3 − 4𝑖 5. −4 − 4√3𝑖
ตอบ 5
แปลงมุมเป็ นหน่วยองศา จะได้ 𝜋9 = 180° 9
= 20° ดังนัน้ 𝑧1 = 2(cos 20° + 𝑖 sin 20°)
360°
รากที่เหลือ จะได้จากการเพิ่มมุมของ 𝑧1 ไปทีละ 4 = 90°
ดังนัน้ รากทัง้ สีต่ วั คือ 𝑧1 = 2(cos 20° + 𝑖 sin 20°) เพิ่มมุมทีละ 90°
2(cos 110° + 𝑖 sin 110°)
2(cos 200° + 𝑖 sin 200°)
2(cos 290° + 𝑖 sin 290°)
จาก Re(𝑧2) > 0 → cos เป็ นบวกใน 𝑄1 หรือ 𝑄4 เท่านัน
้ (จะมี 20° กับ 290°)
→ แต่ 20° เป็ น 𝑧1 ไปแล้ว ดังนัน้ 𝑧2 = 2(cos 290° + 𝑖 sin 290°)
จาก Im(𝑧3) > 0 → sin เป็ นบวกใน 𝑄1 หรือ 𝑄2 เท่านัน้ (จะมี 20° กับ 110°)
→ แต่ 20° เป็ น 𝑧1 ไปแล้ว ดังนัน้ 𝑧3 = 2(cos 110° + 𝑖 sin 110°)
จะเหลือ 𝑧4 = 2(cos 200° + 𝑖 sin 200°)
จะได้ (𝑧4 )3 = 23 (cos(3 × 200°) + 𝑖 sin(3 × 200°))
1 √3
= 8( −2 + 𝑖 (− 2
) ) = −4 − 4√3𝑖

𝑥 2𝑥 3𝑥
12. คาตอบของสมการ 1 + 1 +5 5𝑥 + (1 +5 5𝑥)2 + (1 +5 5𝑥)3 + ⋯ = 26
25
เท่ากับเท่าใด
1. −2 2. −1 3. 0 4. 1 5. 2
ตอบ 1
5𝑥 5𝑥 5𝑥
× × ×
1+5𝑥 1+5𝑥 1+5𝑥

5𝑥 52𝑥 53𝑥 5𝑥
จะเห็นว่า 1 + 1 + 5𝑥 + (1 + 5𝑥 )2 + (1 + 5𝑥 )3 + ⋯ เป็ นอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ ที่มี 𝑟 = 1+5𝑥
5𝑥 5𝑥 𝑎
5𝑥 เป็ นบวกเสมอ ดังนัน
้ 1+5𝑥
จะเป็ นค่าบวก ที่เศษน้อยกว่าส่วน ดังนัน้ 1+5𝑥
<1 จึงใช้สตู ร 1
𝑆∞ = 1−𝑟 ได้
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 17

5𝑥 52𝑥 53𝑥 26
1 + 1 + 5𝑥 + (1 + 5𝑥 )2 + (1 + 5𝑥 )3 + ⋯ = 25 26 ∙ 5𝑥 = 1 + 5𝑥
𝑎1
𝑆∞ = 25 ∙ 5𝑥 = 1
1−𝑟 1 26
5𝑥 = 25 52 ∙ 5 𝑥 = 1
1−
1 + 5𝑥
คูณไขว้ 26∙5𝑥 52+𝑥 = 50
25 = 26 − 1+5𝑥 2+𝑥 = 0
26∙5𝑥
= 1 𝑥 = −2
1+5𝑥

13. ถ้า (𝑎, 𝑏) เป็ นจุดบนเส้นตรง 3𝑥 − 𝑦 + 4 = 0 และ (𝑎, 𝑏) อยูใ่ กล้กบั จุด (−2, 3) ที่สดุ
แล้ว 𝑎 เท่ากับเท่าใด
1. −1 2. − 12 3. − 13 4. − 18 5. 0
ตอบ 2
จุดที่บนเส้นตรง ที่อยูใ่ กล้กบั อีกจุดที่สดุ คือจุดที่ทาให้เกิดเส้นตัง้ ฉาก ดังรูป 3𝑥 − 𝑦 + 4 = 0

ตัง้ ฉากกัน ความชันจะคูณกันได้ −1 (−2, 3)


𝑙
𝑏−3 𝑏−3
 ความชันของ 𝑙 = 𝑎−(−2) = 𝑎+2 ความชัน = 𝑦𝑥2 −− 𝑦𝑥1 (𝑎, 𝑏)
2 1

 ความชันของ 3𝑥 − 𝑦 + 4 = 0 คือ 3
3𝑥 +4 = 𝑦
𝑚=3

จะได้ผลคูณความชัน 𝑏−3
𝑎+2
× 3 = −1 และเนือ่ งจาก (𝑎, 𝑏) อยูบ่ น 3𝑥 − 𝑦 + 4 = 0
3𝑏 − 9 = −𝑎 − 2 จะได้ 3𝑎 − 𝑏 + 4 = 0
𝑎 + 3𝑏 = 7 …(1) 3𝑎 − 𝑏 = −4 …(2)
(1) + 3×(2) : 𝑎 + 3𝑏 + 3(3𝑎 − 𝑏) = 7 + 3(−4)
10𝑎 = −5
1
𝑎 = −
2

14. กาหนดไฮเพอร์โบลา 16𝑥 2 − 9𝑦 2 + 128𝑥 + 18𝑦 + 103 = 0


ให้ 𝐹 เป็ นโฟกัสที่อยูใ่ นจตุภาคที่ 2 และให้ 𝐶 เป็ นจุดศูนย์กลางของไฮเพอร์โบลานี ้
สมการของพาราโบลาทีม่ ีจดุ ยอดอยูท่ ี่จดุ 𝐶 และโฟกัสอยูท่ ี่จดุ 𝐹 คือข้อใด
1. (𝑥 + 4)2 = −12(𝑦 − 1) 2. (𝑥 + 4)2 = −20(𝑦 − 1)
3. (𝑦 − 1)2 = −12(𝑥 + 4) 4. (𝑦 − 1)2 = −16(𝑥 + 4)
5. (𝑦 − 1)2 = −20(𝑥 + 4)
ตอบ 5
16𝑥 2 − 9𝑦 2 + 128𝑥 + 18𝑦 + 103 = 0
(16𝑥 2 + 128𝑥) + (−9𝑦 2 + 18𝑦) = −103
16(𝑥 2 + 8𝑥) − 9(𝑦 2 − 2𝑦) = −103
16(𝑥 2 + 8𝑥 + 16) − 9(𝑦 2 − 2𝑦 + 1) = −103 + 16(16) − 9(1)
16(𝑥 + 4)2 − 9(𝑦 − 1)2 = 144
(𝑥+4)2 (𝑦−1)2
− = 1
9 16
เป็ นไฮเพอร์โบลาแนวนอน ที่มจี ดุ ศูนย์กลาง 𝐶(−4, 1) และระยะโฟกัส 𝑐 = √9 + 16 = 5
ดังนัน้ จุดโฟกัสคือ (−4 ± 5, 1) = (1, 1) และ (−9, 1) → โฟกัสใน 𝑄2 คือ 𝐹(−9, 1)
18 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

นั่นคือ โจทย์ถามพาราโบลาที่มีจดุ ยอด (ℎ, 𝑘) = (−4, 1) และ โฟกัส (−9, 1)


จุดยอดกับโฟกัสมีพิกดั 𝑌 เท่ากัน และโฟกัสมีพิกดั 𝑋 น้อยกว่า → เป็ นพาราโบลาเปิ ดซ้าย 𝑐 = −4 − (−9) = 5
แทนในรูปสมการพาราเปิ ดซ้าย (𝑦 − 𝑘)2 = −4𝑐(𝑥 − ℎ)
(𝑦 − 1)2 = −4(5)(𝑥 − (−4))
(𝑦 − 1)2 = −20(𝑥 + 4)

15. กาหนดรูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 ในระบบพิกดั ฉากสามมิติ มีจดุ ยอดที่ 𝐴(−2, −4, −4) , 𝐵(0, −2, 0)
และ 𝐶(0, 0, 2) รูปสามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 มีพนื ้ ที่กี่ตารางหน่วย
1. 1 2. √3 3. 2 4. 2√3 5. 4√3
ตอบ 4
𝐵
𝐷
∆𝐴𝐵𝐶 จะเป็ นครึง่ หนึง่ ของพืน้ ที่สเี่ หลีย่ มด้านขนานที่เกิดจาก 𝐴𝐵
⃑⃑⃑⃑⃑ และ 𝐴𝐶
⃑⃑⃑⃑⃑

𝑢̅
0 − (−2) 2 0 − (−2) 2
⃑⃑⃑⃑⃑ = [−2 − (−4)] = [2] ,
𝐴𝐵 ⃑⃑⃑⃑⃑ = [0 − (−4)] = [4]
𝐴𝐶
𝐶
𝐴 𝑣̅ 0 − (−4) 4 2 − (−4) 6
2 2 (2)(6) − (4)(4) −4
พืน้ ที่  ด้านขนานที่เกิด จะได้ 𝐴𝐵𝐷𝐶 = |[2] × [4]| = |[(4)(2) − (2)(6)]| = |[−4]|
จาก 𝑢̅ และ 𝑣̅ = |𝑢̅ × 𝑣̅ | 4 6 (2)(4) − (2)(2) 4
= √(−4) + (−4)2 + 42
2

= 4√1 + 1 + 1 = 4√3
1
ดังนัน้ ∆𝐴𝐵𝐶 = 2 × 4√3 = 2√3
𝑎1 𝑎2 𝑎3 𝑏1 𝑏2 𝑏3 𝑎1 𝑎2 𝑎3
16. ให้เมทริกซ์ 𝐴 = [𝑏1 𝑏2 𝑏3 ] , 𝐵 = [ 𝑎1 𝑎2 𝑎3 ] และ 𝐶=[ 0 0 0 ]
𝑐1 𝑐2 𝑐3 3𝑐1 3𝑐2 3𝑐3 3𝑏1 3𝑏2 3𝑏3
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) det(𝐵) = 3 det(𝐴)
ข) det(𝐴𝐶) = 0
ค) det(𝐴 + 𝐶) = det(𝐴) + det(𝐶)
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 1
ก) 𝐵 ได้จากการสลับแถว 1 กับ 2 และคูณ 3 เข้าไปที่แถว 3
การสลับแถว จะทาให้ det เป็ นลบของของเดิม การคูณ 3 ที่แถวหนึง่ ๆ จะทาให้ det เป็ น 3 เท่าของของเดิม
ดังนัน้ det(𝐵) = −3 det(𝐴) → ก) ผิด
ข) 𝐶 มีแถว 2 เป็ น 0 ทัง้ แถว ซึง่ จะทาให้ det(𝐶) = 0
จากสมบัติของ det จะได้ det(𝐴𝐶) = det(𝐴) ∙ det(𝐶)
= det(𝐴) ∙ 0 = 0 → ข) ถูก
ค) โดยทั่วไป det กระจายในการบวกไม่ได้ แต่ในกรณีพิเศษบางกรณี อาจบังอิญเท่ากันได้
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 19

𝑎1 𝑎2 𝑎3 𝑎1 𝑎2 𝑎3 2𝑎1 2𝑎2 2𝑎3


𝐴 + 𝐶 = [𝑏1 𝑏2 𝑏3 ] + [ 0 0 0 ] = [ 𝑏1 𝑏2 𝑏3 ]
𝑐1 𝑐2 𝑐3 3𝑏1 3𝑏2 3𝑏3 𝑐1 + 3𝑏1 𝑐2 + 3𝑏2 𝑐3 + 3𝑏3
จะเห็นว่า 𝐴 + 𝐶 เหมือนกับเมทริกซ์ที่ได้จากการนา 𝐴 มาคูณ 2 เข้าไปที่แถว 1 (det เป็ น 2 เท่าของของเดิม)
และ นาแถวที่ 2 คูณ 3 แล้วบวกเพิ่มเข้าไปในแถว 3 (det เท่าเดิม)
ดังนัน้ det(𝐴 + 𝐶) = 2 det(𝐴)
แต่ det(𝐴) + det(𝐶) = det(𝐴) + 0 = det(𝐴) จึงไม่เท่ากับ det(𝐴 + 𝐶) → ค) ผิด

17. ข้อมูลเชิงปริมาณชุดหนึง่ มีขอ้ มูลทัง้ หมด 21 ตัว และข้อมูลชุดนีม้ ฐี านนิยม 1 ค่า เท่านัน้
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) ถ้าตัดข้อมูลที่มีคา่ น้อยที่สดุ ออก 1 ตัว และเพิ่มข้อมูลที่มีคา่ เท่ากับฐานนิยมแทนที่ขอ้ มูลที่ตดั ออก
แล้วข้อมูลที่ได้จะมีฐานนิยมเท่าเดิม
ข) ถ้าตัดข้อมูลที่มีคา่ น้อยที่สดุ ออก 1 ตัว แล้วข้อมูลที่ได้จะมีมธั ยฐานมากขึน้
ค) ถ้าเพิม่ ข้อมูลอีก 2 ตัว ที่มีคา่ เท่ากับค่าเฉลีย่ เลขคณิต แล้วข้อมูลที่ได้จะมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตมากขึน้
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 1
ก) ฐานนิยม คือข้อมูลที่ “ซา้ มากที่สดุ ” ดังนัน้ การนาข้อมูลที่มคี า่ น้อยที่สดุ ออก ส่วนใหญ่จะไม่มีผลกับฐานนิยม
ยกเว้นกรณีที่ขอ้ มูลที่ซา้ มากที่สดุ จะเป็ นข้อมูลที่มคี า่ น้อยที่สดุ
แต่การเพิ่มข้อมูลที่มีคา่ เท่ากับฐานนิยมเข้ามา จะสามารถชดเชยความสูญเสียนัน้ ได้
ทาให้ฐานนิยมเดิม ยังคงซา้ มากที่สดุ และได้เป็ นฐานนิยมเหมือนเดิม → ก) ถูก
ข) มัธยฐาน คือข้อมูลที่มตี าแหน่งอยูต่ รงกลาง เมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
การตัดข้อมูลน้อยสุดออก จะทาให้ “ตาแหน่งตรงกลาง” เลือ่ นเล็กน้อย ซึง่ อาจทาให้มธั ยฐานเพิ่มขึน้ ได้
แต่ถา้ ข้อมูลรอบๆ ตัวตรงกลาง บังเอิญมีคา่ เท่ากัน ถึงตาแหน่งเปลีย่ น ก็มีสทิ ธิ์เปลีย่ นไปโดนข้อมูลที่มีคา่ เท่าเดิมได้
มัธยฐานจึงอาจมีคา่ เท่าเดิม ไม่จาเป็ นต้องมากขึน้ เสมอไป → ข) ผิด
ค) ให้คา่ เฉลีย่ เลขคณิตเดิมของ 21 ตัวแรกคือ 𝑥̅ ดังนัน้ ผลรวมของ 21 ตัวแรกคือ 21𝑥̅
ถ้าเพิม่ ข้อมูล 2 ตัวที่มีคา่ เท่ากับ 𝑥̅ จะได้ผลรวมข้อมูลเพิม่ ขึน้ เป็ น 21𝑥̅ + 𝑥̅ + 𝑥̅ = 23𝑥̅
และจะได้จานวนข้อมูลเพิ่มขึน้ เป็ น 21 + 2 = 23 ตัว
ผลรวมข้อมูลใหม่ 23𝑥̅
จะได้คา่ เฉลีย่ ใหม่ = จานวนตัวใหม่ = 23
= 𝑥̅ เท่าเดิม ไม่ได้เพิ่มขึน้ → ค) ผิด
20 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

18. ฟาร์มแมวแห่งหนึง่ มีแมว 3 สายพันธุ์ ได้แก่ เก้าแต้ม วิเชียรมาศ และขาวมณี รวมทัง้ หมด 12 ตัว
โดยอัตราส่วนของจานวนแมวพันธุ์ เก้าแต้ม ต่อ วิเชียรมาศ ต่อ ขาวมณี เป็ น 3 : 2 : 1
ถ้าสุม่ เลือกแมวจากฟาร์มแห่งนีม้ า 3 ตัว แล้วความน่าจะเป็ นที่สมุ่ ได้แมวพันธุเ์ ก้าแต้มอย่างน้อย 1 ตัว เท่ากับเท่าใด
1
1. 11 2. 229 3. 119 4. 10
11
5. 2019

ตอบ 4
ให้จานวนแมว เก้าแต้ม วิเชียรมาศ และ ขาวมณี มี 3𝑥 , 2𝑥 , และ 𝑥 ตัว ตามลาดับ
มีแมวทัง้ หมด 12 ตัว → 3𝑥 + 2𝑥 + 𝑥 = 12
6𝑥 = 12
𝑥 = 2
ดังนัน้ จานวนแมว เก้าแต้ม วิเชียรมาศ และ ขาวมณี คือ 3(2) , 2(2) , และ 2 ตัว
= 6 , 4 , และ 2 ตัว ตามลาดับ
12∙11∙10
สุม่ 3 ตัว จะได้จานวนแบบทัง้ หมด = (123
) = แบบ
3∙2∙1
= 220
จานวนแบบที่ได้เก้าแต้มอย่างน้อย 1 ตัว นับยาก → จะนับแบบตรงข้าม (คือ ไม่ได้เก้าแต้มเลย)
แล้วเอาจานวนแบบทัง้ หมดตัง้ ลบ
6∙5∙4
ไม่ได้เก้าแต้มเลย คือ ต้องมาจากวิเชียรมาศ หรือ ขาวมณี ซึง่ มี 4 + 2 = 6 ตัว → เลือกได้ (63) = 3∙2∙1
= 20 แบบ
200 10
จะได้แบบที่ได้เก้าแต้มอย่างน้อย 1 ตัว คือ 220 − 20 = 200 แบบ คิดเป็ นความน่าจะเป็ น = 220
= 11

19. สุม่ หยิบจานวนเต็ม 2 จานวน ทีต่ า่ งกัน ในเซต { 1, 2, 3, ... , 150 } โดยหยิบทัง้ 2 จานวนพร้อมกัน
ความน่าจะเป็ นที่แต่ละจานวนจะเป็ นจานวนคูท่ ี่หารด้วย 3 ลงตัว เท่ากับเท่าใด
1. 14 25
2. 149 3. 19 4. 361 4
5. 149
ตอบ 5
150×149
จานวนแบบทัง้ หมด : หยิบ 2 จานวนจากเซต ซึง่ มี 150 จานวน จะหยิบได้ (150 2
) = 2×1 = 75 × 149 แบบ
จานวนแบบที่สนใจ : จานวนคูท่ หี่ ารด้วย 3 ลงตัว คือจานวนที่หารด้วย 2 และ 3 ลงตัว
ได้แก่จานวนที่หารด้วย 6 ลงตัว นั่นเอง
จานวนในเซต ที่หารด้วย 6 ลงตัว จะมี 6, 12, 18, … , 150 ซึง่ มีทงั้ หมด 150−66
+ 1 = 25 จานวน
25×24
หยิบ 2 จานวน จาก 25 จานวนนี ้ จะหยิบได้ (25 2
) = 2×1 = 25 × 12 แบบ
จานวนแบบที่สนใจ 25×12 4
จะได้ความน่าจะเป็ น =
จานวนแบบทัง้ หมด
= 75×149 = 149

20. สานักงานเขตแห่งหนึง่ จัดที่น่งั สาหรับผูม้ ารอทาบัตรประชาชน โดยเป็ นเก้าอี ้ 11 ตัว ที่วางเรียงกันเป็ นแถว
หน้ากระดานหนึง่ แถว เพื่อเป็ นการป้องกันการระบาดของโรคโควิด-19 จึงไม่ให้มกี ารนั่งเก้าอีต้ ดิ กัน
ถ้าในช่วงเวลาหนึง่ มีผมู้ ารอทาบัตรประชาชน 5 คน แล้วจะมีวิธีการจัดที่น่งั ให้ทงั้ 5 คน ได้ทงั้ หมดกี่วิธี
1. 11! 6!
11!
2. 5!6! 3. 7!2! 7!
4. 5!2! 5. 5!
ตอบ 3
เก้าอี ้ 11 ตัว มีคนนั่ง 5 คน → จะมีเก้าอี ้ 11 − 5 = 6 ตัว ที่ไม่มคี นนั่ง เป็ น “เก้าอีว้ า่ ง”
เอาเก้าอีว้ า่ งทัง้ 6 ตัว มาวางเรียงเป็ นหลักไว้ก่อน แล้วค่อยเอา “เก้าอีท้ ี่มคี นนั่ง” ไปเสียบ

1 __ 2 __ 3 __ 4 __ 5 __ 6 __ 7
เก้าอี ้ เก้าอี ้ เก้าอี ้ เก้าอี ้ เก้าอี ้ เก้าอี ้
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 21

เก้าอีท้ มี่ ีคนที่ 1 นั่ง จะเลือกเสียบได้ 7 ตาแหน่ง ดังรูป


เก้าอีท้ มี่ ีคนที่ 2 นั่ง จะเสียบลงทีเ่ ดียวกับคนแรกไม่ได้ (ห้ามนั่งติดกัน)
ดังนัน้ จะเหลือจุดทีเ่ ลือกเสียบได้ 6 ตาแหน่ง
ทานองเดียวกัน เก้าอีท้ ี่มคี นที่ 3, 4 และ 5 นั่ง จะเลือกเสียบได้ 5, 4, และ 3 แบบ ตามลาดับ
จะได้จานวนแบบ = 7 × 6 × 5 × 4 × 3 = 7×6×5×4×3×2×1 2×1
7!
= 2!

21. ซุม้ เกมจับสลากในงานกาชาดมีกล่องใบหนึง่ บรรจุสลาก 9 ใบ โดยมีหมายเลข 1, 2, 3, ... , 9 กากับไว้ใบละ


หนึง่ หมายเลขไม่ซา้ กัน ในการเล่นเกมแต่ละครัง้ ผูเ้ ล่นต้องจ่ายเงิน 90 บาท ก่อน เพื่อจับสลากพร้อมกันสองใบ
ถ้าผลคูณของหมายเลขสลากที่ได้เป็ นจานวนคู่ ผูเ้ ล่นจะได้เงินรางวัล 180 บาท
ถ้าผลคูณของหมายเลขสลากที่ได้เป็ นจานวนคี่ ผูเ้ ล่นจะไม่ได้รบั เงินรางวัลใดๆ
ในการเล่นเกมแต่ละครัง้ ข้อสรุปใดถูกต้อง
1. โดยเฉลีย่ แล้ว เท่าทุน 2. โดยเฉลีย่ แล้ว ได้กาไรครัง้ ละ 40 บาท
3. โดยเฉลีย่ แล้ว ได้กาไรครัง้ ละ 90 บาท 4. โดยเฉลีย่ แล้ว ขาดทุนครัง้ ละ 40 บาท
5. โดยเฉลีย่ แล้ว ขาดทุนครัง้ ละ 90 บาท
ตอบ 2
จะหาค่าคาดหมายของเงินรางวัล มาเทียบกับเงินทีต่ อ้ งจ่าย
จากเงินไขรางวัล จะได้คา่ คาดหมายของรางวัล = 180 × 𝑃(ผลคูณเป็ นคู)่ + 0 × 𝑃(ผลคูณเป็ นคี่)
= 180 × 𝑃(ผลคูณเป็ นคู)่ …(∗)
9×8
หยิบ 2 ใบจาก 9 ไบ จะหยิบได้ทงั้ หมด (2) = 2×1 = 36 แบบ
9

ผลคูณจะเป็ นคู่ เมื่อมีอย่างน้อย 1 ใบ เป็ นเลขคู่ ซึง่ นับยาก → แบบตรงข้าม คือ มีแต่เลขคี่ จะนับง่ายกว่า
นับแบบตรงข้าม → มีเลขคี่ 1, 3, 5, 7, 9 ทัง้ หมด 5 ใบ หยิบ 2 ใบจะหยิบได้ (52) = 5×4 2×1
= 10 แบบ
ดังนัน้ จานวนแบบที่ผลคูณเป็ นเลขคู่ = 36 − 10 = 26 แบบ → จะได้ 𝑃(ผลคูณเป็ นคู)่ = 26 36
13
= 18
แทนใน (∗) จะได้ ค่าคาดหมายของรางวัล = 180 × 13 18
= 130 บาท
ดังนัน้ โดยเฉลีย่ แล้ว จะได้รางวัลมากกว่าค่าเล่น (กาไร) ครัง้ ละ 130 − 90 = 40 บาท

22. ให้ฟังก์ชนั 𝑓 : ℝ → ℝ โดยที่ 𝑓(𝑥) = −𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง


ถ้า 𝑓(0) = 3 และ 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 และค่าต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1 แล้ว 𝑓(1) เท่ากับเท่าใด
1. −1 2. 1 3. 3 4. 5 5. 7
ตอบ 4
𝑓 เป็ นพหุนามกาลัง 3 ทีม
่ ีคา่ สูงสุด ต่าสุด สัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1, −1
แสดงว่า 𝑓 ′(𝑥) ต้องอยูใ่ นรูป 𝑑(𝑥 − 1)(𝑥 + 1) เมื่อ 𝑑 เป็ นจานวนจริง …(∗)
= 𝑑(𝑥 2 − 1)
= 𝑑𝑥 2 − 𝑑
𝑑𝑥 3
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥) จะได้ 𝑓(𝑥) = 3
− 𝑑𝑥 +𝑒 เมื่อ 𝑒 เป็ นจานวนจริง …(∗∗)
3
𝑑(0 )
แทน 𝑥 = 0 : 𝑓(0) = 3
− 𝑑(0) + 𝑒
3 = 𝑒
22 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

และโจทย์กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = −𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐
เทียบสัมประสิทธิ์ของพจน์ 𝑥 3 กับ 𝑓(𝑥) ใน (∗∗) จะได้ 𝑑3 = −1
𝑑 = −3
จะเห็นว่า 𝑑 เป็ นลบ ทาให้เครือ่ งหมายของ 𝑓 ใน (∗) เป็ นดังรูป
′ (𝑥) − + −

จะได้ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1 และ ต่าสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = 1 ตรงตามที่โจทย์กาหนด −1 1

−3(13 )
แทน 𝑥=1, 𝑒=3 และ 𝑑 = −3 ใน (∗∗) จะได้ 𝑓(1) = 3
− (−3)(1) + 3 = 5

23. ให้ 𝐴 แทนความยาวของส่วนโค้งของวงกลมทีว่ ดั จากจุด (2, 0) ไปยังจุด (−√3, 𝑦) โดยที่ 𝑦 > 0


และมุมที่จดุ ศูนย์กลางของวงกลมมีขนาด 𝛼 เรเดียน ดังรูปที่ 1
ให้มมุ ทีจ่ ดุ ศูนย์กลางของวงกลมหนึง่ หน่วย ที่รองรับด้วยส่วนโค้งที่ยาว 𝐴 หน่วย มีขนาด 𝛽 เรเดียน ดังรูปที่ 2
𝑌 𝑌

(−√3, 𝑦)
𝐴

𝛼 𝛽
𝑋 𝑜 𝑋
𝑜 (2,0) (1,0)

รูปที่ 1 รูปที่ 2
cos 𝛼 + sin 𝛽 เท่ากับเท่าใด
1 √3 1 √3
1. −√3 2. −2 − 2
3. 2
− 2
4. 1 5. √3
ตอบ 1
2
ระยะจาก (0, 0) ไป (−√3, 𝑦) จะเท่ากับรัศมีวงกลม → √(−√3 − 0) + (𝑦 − 0)2 = 2
3 + 𝑦2 = 4
𝑦 = 1 (โจทย์ให้ 𝑦 > 0)

จากนิยาม ฟังก์ชนั ตรีโกณฯ จะหาได้ตรงๆ บนวงกลม 1 หน่วย 𝑌


𝐴
ดังนัน้ จะย่อรูปที่ 1 ลงครึง่ หนึง่ รอบจุดกาเนิดก่อน √3 1
2
(− , )
ซึง่ จะทาให้พกิ ดั และระยะต่างๆ ลดลงครึง่ หนึง่ แต่มมุ 𝛼 ยังเท่าเดิม ดังรูป 2 2
𝛼
𝑋
𝑜 (1,0)
1 √3
จากนิยาม จะได้ sin 𝛼 = และ cos 𝛼 =2
…(∗) −
2
𝐴
และจากนิยามการวัดมุมในหน่วยเรเดียน ในรูปที่ยอ่ แล้ว จะสรุปได้วา่ 𝛼=2
และเมื่อพิจารณารูปที่ 2 จะได้วา่ 𝛽=𝐴 เมื่อใช้ 𝐴 เป็ นตัวเชื่อม จะได้ 𝛽 = 2𝛼
จะได้ sin 𝛽 = sin(2𝛼) = 2 sin 𝛼 cos 𝛼 จาก (∗)
1 √3 √3
= 2 ( 2 )( − 2
) = − 2
√3 √3
ดังนัน้ cos 𝛼 + sin 𝛽 = −
2
+ −
2
= −√3
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 23

24. ให้ 𝑎𝑛 เป็ นลาดับซึง่ 𝑎1 = 1 , 𝑎2 = 3 และ 𝑎𝑛+1 = 𝑎𝑛 + 𝑎𝑛−1 เมื่อ 𝑛 ∈ { 2, 3, 4, … }


∞ 𝑎𝑛
ค่าของ Σ
𝑛=2 𝑎𝑛−1 ∙ 𝑎𝑛+1
เท่ากับเท่าใด
3
1. หาผลบวกไม่ได้ เพราะอนุกรมนีเ้ ป็ นอนุกรมลูอ่ อก 2. 4
4
3. 1 4. 3
5. 2
ตอบ 4
𝑎𝑛
จะเขียน 𝑎𝑛−1 ∙ 𝑎𝑛+1
ให้เป็ นผลลบ โดยหวังว่าจะตัดข้ามพจน์ได้
𝑎𝑛+1 − 𝑎𝑛−1
จาก 𝑎𝑛+1 = 𝑎𝑛 + 𝑎𝑛−1 จะได้ 𝑎 𝑎∙𝑛𝑎 =
𝑎𝑛−1 ∙ 𝑎𝑛+1
𝑛−1 𝑛+1
𝑎𝑛+1 − 𝑎𝑛−1 = 𝑎𝑛 𝑎𝑛+1 𝑎
= 𝑎𝑛−1 ∙ 𝑎𝑛+1
− 𝑎 𝑛−1
𝑛−1 ∙ 𝑎𝑛+1
1 1
= 𝑎𝑛−1
− 𝑎𝑛+1
𝑘 𝑎𝑛 𝑘 1 1
ดังนัน้ Σ
𝑛=2 𝑎𝑛−1 ∙ 𝑎𝑛+1
= Σ
𝑛=2 𝑎𝑛−1
−𝑎
𝑛+1
1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
= 𝑎1
−𝑎 + 𝑎 −𝑎 + 𝑎3
−𝑎 + 𝑎4
−𝑎 + 𝑎5
−𝑎 + … + 𝑎𝑘−1
−𝑎
3 2 4 5 6 7 𝑘+1

จะเห็นว่าตัวลบ หักกับตัวตัง้ ของ 2 พจน์ถดั ไปได้ → สุดท้ายจะเหลือตัวตัง้ 2 ตัวแรก กับตัวลบ 2 ตัวสุดท้าย


→ เมื่อ 𝑘 เข้าใกล้ ∞ จะได้ 2 ตัวสุดท้าย เข้าใกล้ 0 จึงตัดทิง้ ได้
∞ 𝑎𝑛 1 1 1 1 4
ดังนัน้ Σ
𝑛=2 𝑎𝑛−1 ∙ 𝑎𝑛+1
=
𝑎1
+
𝑎2
=
1
+
3
=
3

25. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง ซึง่ 𝑓(0) = 10 , 𝑓(3) = 9


และ 𝑓 ′ (𝑥) = {𝑥 2+ 𝑎𝑥 เมื่อ 𝑥 < 1 โดยที่ 𝑎 เป็ นจานวนจริง
2

𝑥 + 𝑎 เมื่อ 𝑥 ≥ 1
𝑎 เท่ากับเท่าใด
1. 4 2. 2 3. 0 4. −2 5. −4
ตอบ 5
𝑥3 𝑎𝑥 2
+ + 𝑐1 เมื่อ 𝑥<1
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥) ทัง้ สองเงื่อนไข จะได้ 𝑓(𝑥) = { 𝑥33 2

เมื่อ 𝑥 ≥ 1
3
+ 𝑎𝑥 + 𝑐2
(เนื่องจากแต่ละเงื่อนไขของ 𝑓(𝑥) เป็ นคนละสูตร ดังนัน้ 𝑐1 กับ 𝑐2 จึงไม่จาเป็ นต้องเท่ากัน)
แทน 𝑥 = 0 : (0 < 1 → ใช้สตู รบน) แทน 𝑥 = 3 : (3 ≥ 1 → ใช้สตู รล่าง)
03 𝑎(02 ) 33
จะได้ 𝑓(0) = 3
+ 2
+ 𝑐1 จะได้ 𝑓(3) = 3 + 3𝑎 + 𝑐2
10 = 𝑐1 …(1) 9 = 9 + 3𝑎 + 𝑐2
−3𝑎 = 𝑐2 …(2)

𝑥3 𝑎𝑥 2
+ + 10 เมื่อ 𝑥<1
แทน (1) และ (2) กลับไปใน 𝑓(𝑥) จะได้ 𝑓(𝑥) = { 𝑥33 2

3
+ 𝑎𝑥 − 3𝑎 เมื่อ 𝑥≥1
24 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

และโจทย์ให้ 𝑓 ต่อเนื่อง ดังนัน้ ทัง้ สองสูตร ต้องได้คา่ เท่ากันตรงรอยต่อระหว่างสูตร (ที่ 𝑥 = 1)


13 𝑎(12 ) 13
3
+ 2
+ 10 = 3
+ 𝑎(1) − 3𝑎
1 𝑎 1
3
+ 2 + 10 = 3
+ 𝑎 − 3𝑎
5𝑎
2
= −10
𝑎 = −4

26. ให้ 𝐿 เป็ นเส้นตรงซึง่ มีความชันเท่ากับ −2 และสัมผัสพาราโบลา 𝑦 = 17 − 𝑥 2


พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยแกน 𝑋 แกน 𝑌 และเส้นตรง 𝐿 เท่ากับกี่ตารางหน่วย
ตอบ 81
จุดที่ 𝐿 สัมผัสพาราโบลา จะเป็ นจุดที่พาราโบลามีความชันเท่ากับ 𝐿 (= −2)
ความชันของพาราโบลา จะหาได้จากการดิฟสมการพาราโบลา 𝑦 = 17 − 𝑥 2
𝑦′ = −2𝑥 หาจุดที่ความชัน = −2
−2 = −2𝑥 โดยแทน 𝑦 ′ = −2
1 = 𝑥
ซึง่ บนพาราโบลา 𝑦 = 17 − 𝑥 2 เมื่อ 𝑥 = 1 จะได้ 𝑦 = 17 − 12 = 16
ดังนัน้ จุดที่ 𝐿 สัมผัสพาราโบลาคือ (1, 16)
จากสูตร สมการเส้นตรงที่มีความชัน −2 และผ่านจุด (1, 16) คือ 𝑦−16
𝑥−1
= −2
𝑦 − 16 = −2𝑥 + 2
𝑦 = −2𝑥 + 18
พืน้ ที่ที่ปิดล้อมด้วยแกน 𝑋 แกน 𝑌 และเส้นตรง 𝐿 จะเป็ น ∆ มุมฉากที่มีจดุ มุมอยูท่ จี่ ดุ กาเนิดและจุดตัดแกน 𝑋 แกน 𝑌
จุดตัดแกน 𝑋 : แทน 𝑦 = 0 จุดตัดแกน 𝑌 : แทน 𝑥 = 0 18
0 = −2𝑥 + 18 𝑦 = −2(0) + 18
𝑥= 9 𝑦= 18
จะได้จดุ ตัดแกน 𝑋 คือ (9, 0) จะได้จดุ ตัดแกน 𝑌 คือ (0, 18) 9
1
จะได้พนื ้ ที่ = 2
× ฐาน × สูง
1
= 2
× 9 × 18 = 81

27. ให้ 𝐴 = { −2, −1, 0, 1, 2 } และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐴
โดยกาหนดค่าของฟั งก์ชนั เพียงบางค่า ดังตารางต่อไปนี ้
𝑥 𝑓(𝑥) 𝑓 −1 (𝑥)
−1 1 2
0 2 1
1 0 𝑎

50 + 5𝑎 + 𝑓(−2) เท่ากับเท่าใด
ตอบ 43
จากคอลัมน์ 𝑥 และ 𝑓 −1 (𝑥) จะได้ 𝑓 −1 (−1) = 2 , 𝑓 −1 (0) = 1 , 𝑓 −1 (1) = 𝑎
ดังนัน้ −1 = 𝑓(2) , 0 = 𝑓(1) , 1 = 𝑓(𝑎)
𝑓(2) = −1 , 𝑓(1) = 0 , 𝑓(𝑎) = 1
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64) 25

จาก 𝑓(2) = −1 จะเพิ่มแถว 𝑥 = 2 ในตาราง 𝑓(𝑥) ได้ดงั รูป 𝑥 𝑓(𝑥)


จาก 𝑓(1) = 0 มีแถว 𝑥 = 1 ในตารางอยูแ่ ล้ว จึงไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไร −1 1
0 2
จาก 𝑓(𝑎) = 1 จะเห็นว่าในตารางมีแถว 𝑓(−1) = 1 อยู่ 1 0
เนื่องจาก 𝑓 เป็ นหนึง่ ต่อหนึง่ จึงสรุปได้วา่ 𝑎 = −1 2 −1
สุดท้าย สังเกตว่ามีคา่ ทีย่ งั ไม่ถกู จับคูอ่ ยู่ คือ 𝑥 = −2 และ 𝑓(𝑥) = −2
เนื่องจาก 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐴 ดังนัน้ ค่าที่ยงั ไม่ถกู จับคู่ จะต้องถูกจับคู่ → จะได้ 𝑓(−2) = −2
ดังนัน้ 50 + 5𝑎 + 𝑓(−2) = 50 + 5(−1) + −2 = 43

28. ให้ 𝑝. 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี ้

ก) ถ้า 𝑝 ↔ 𝑞 มีคา่ ความจริงเป็ นจริง (15)


แล้ว [(𝑝 ↔ 𝑞) ∨ (𝑝 → 𝑟)] ↔ [𝑟 → (𝑝 ∨ ~𝑞)]
มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
ข) (𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑞 → 𝑟) สมมูลกับ (𝑝 ∧ 𝑞) → 𝑟 (30)

จากข้อความ ก) และ ข) ข้างต้น


ผลบวกของจานวนที่อยูใ่ นวงเล็บทางขวามือของทุกข้อความทีถ่ กู ต้องเท่ากับเท่าใด
(หากข้อความทัง้ สองไม่ถกู ต้อง ให้ถือว่าผลบวกเท่ากับ 0)
ตอบ 15
ก) 𝑝 ↔ 𝑞 เป็ นจริง แสดงว่า 𝑝 กับ 𝑞 มีคา่ ความจริงเหมือนกัน ดังนัน้ แทน 𝑞 ทุกตัวด้วย 𝑝 ได้
จะได้ [(𝑝 ↔ 𝑞) ∨ (𝑝 → 𝑟)] ↔ [𝑟 → (𝑝 ∨ ~𝑞)]
≡ [(𝑝 ↔ 𝑝) ∨ (𝑝 → 𝑟)] ↔ [𝑟 → (𝑝 ∨ ~𝑝)]
≡ [ T ∨ (𝑝 → 𝑟)] ↔ [𝑟 → T ]
≡ T ↔ T ≡ T ดังนัน้ ก) ถูก
ข) (𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑞 → 𝑟) ≡? (𝑝 ∧ 𝑞) → 𝑟
(~𝑝 ∨ 𝑞) ∧ (~𝑞 ∨ 𝑟) ≡? ~(𝑝 ∧ 𝑞) ∨ 𝑟
(~𝑝 ∨ 𝑞) ∧ (~𝑞 ∨ 𝑟) ≡? ~𝑝 ∨ ~𝑞 ∨ 𝑟
จะเห็นว่าจัดรูปให้เหมือนกันไม่ได้ง่ายๆ จึงน่าจะไม่สมมูลกัน จะพยายามหา 𝑝, 𝑞, 𝑟 ที่ทาให้สองฝั่งไม่เหมือนกันดู
ฝั่งซ้าย คือการ “และ” กันของ ~𝑝 ∨ 𝑞 กับ ~𝑞 ∨ 𝑟 ซึง่ “และ” จะเป็ นเท็จง่าย ขอแค่มีตวั หนึง่ เป็ นเท็จ
ฝั่งขวา คือการ “หรือ” กันของ ~𝑝 , ~𝑞 กับ 𝑟 ซึง่ “หรือ” จะเป็ นจริงง่าย ขอแค่มตี วั หนึง่ เป็ นจริง
จะเห็นว่า ถ้า ~𝑝 ∨ 𝑞 เป็ นเท็จ (คือ 𝑝 ≡ T , 𝑞 ≡ F) ฝั่งซ้ายจะเป็ นเท็จ
ไม่เหมือนกัน
และถ้าให้ 𝑟 ≡ T ฝั่งขวาจะเป็ นจริง
ดังนัน้ 𝑝 ≡ T , 𝑞 ≡ F , 𝑟 ≡ T จะเป็ นตัวอย่างหนึง่ ที่ทาให้ (𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑞 → 𝑟) ไม่เหมือนกับ (𝑝 ∧ 𝑞) → 𝑟
จึงสรุปได้วา่ (𝑝 → 𝑞) ∧ (𝑞 → 𝑟) ไม่สมมูลกับ (𝑝 ∧ 𝑞) → 𝑟 ดังนัน้ ข) ผิด
จะได้ผลบวกจานวนหลังข้อความที่ถกู (ก ถูกข้อความเดียว) = 15
26 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (เม.ย. 64)

29. นักเรียนห้องหนึง่ มีจานวน 50 คน ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ มีนกั เรียนเข้าสอบทัง้ หมด 49 คน ขาดสอบ 1 คน


โดยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบของนักเรียน 49 คน เท่ากับ 10 คะแนน ต่อมา นักเรียนที่ขาดสอบได้
ขอสอบในภายหลัง เมื่อนาคะแนนของนักเรียนทีข่ าดสอบมาคานวณค่าเฉลีย่ เลขคณิตด้วย พบว่า ค่าเฉลีย่ เลขคณิต
ไม่มีการเปลีย่ นแปลง ความแปรปรวนของคะแนนสอบของนักเรียนทัง้ 50 คน เท่ากับกี่คะแนน2
ตอบ 98
ให้คา่ เฉลีย่ ของ 49 คนแรก คือ 𝑥̅ ดังนัน้ ผลรวมคะแนนของ 49 คนแรก คือ 49𝑥̅
ให้นกั เรียนที่ขาดสอบ ได้คะแนน = 𝑘 จะได้ผลรวมคะแนน 50 คน คือ 49𝑥̅ + 𝑘
ค่าเฉลีย่ 50 คน ได้เท่าเดิม → 49𝑥̅ +𝑘 = 𝑥̅
50
49𝑥̅ + 𝑘 = 50𝑥̅
𝑘 = 𝑥̅ แสดงว่านักเรียนคนสุดท้าย ได้คะแนน = 𝑥̅

(หมายเหตุ : จะท่องว่า ถ้าเพิ่มหรือลดข้อมูล แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิตไม่เปลีย่ น แสดงว่าข้อมูลที่เพิม่ หรือลด มีคา่ เท่ากับ
ค่าเฉลีย่ เดิมก็ได้)
49
∑ (𝑥𝑖 −𝑥̅ )2
𝑠 ของ 49 คน = 10 คะแนน จะได้ความแปรปรวน = 102 = 100 คะแนน2 ดังนัน้ 𝑖=1
49
= 100
49
∑ (𝑥𝑖 − 𝑥̅ )2 = 4900
𝑖=1

เนื่องจากคนที่ 50 ได้คะแนน = 𝑥̅ ทาให้ (𝑥50 − 𝑥̅ )2 = (𝑥̅ − 𝑥̅ )2 = 0


50
ดังนัน้ ถ้าเพิ่มคนที่ 50 เข้าไป จะได้ ∑ (𝑥𝑖 − 𝑥̅ )2 = 4900 + 0 = 4900 เท่าเดิม
𝑖=1
50
∑ (𝑥𝑖 −𝑥̅ )2
4900
จะได้ความแปรปรวนของ 50 คน คือ 𝑖=1
50
=
50
= 98 คะแนน2

30. จานวนจริง 𝑥 ที่มีคา่ น้อยที่สดุ ซึง่ เป็ นคาตอบของสมการ


(2 log3 𝑥) − 4 1 2
𝑥
log3 ( )
= log 3 (𝑥 7 ) − (
log𝑥 3
) −8 เท่ากับเท่าใด
9
ตอบ 243
(2 log3 𝑥) − 4 1 2
𝑥 = log 3 (𝑥 7 ) − (log 3) − 8
log3 ( ) 𝑥
9
(2 log3 𝑥) − 4
= 7 log 3 𝑥 − (log 3 𝑥)2 − 8
log3 𝑥 − log3 9
ให้ log 3 𝑥 = 𝑎 𝑎2 − 7𝑎 + 10 = 0
2𝑎 −4 (𝑎 − 2)(𝑎 − 5) = 0
= 7 𝑎 − 𝑎2 −8
𝑎 − 2 𝑎=2, 5
2(𝑎 − 2) log 3 𝑥 = 5
𝑎 − 2
= 7 𝑎 − 𝑎2 −8
2
𝑎≠2 𝑥 = 35 = 243
2 = 7 𝑎 − 𝑎 −8

เครดิต
ขอบคุณ อ. ปิ๋ ง GTRmath สาหรับเฉลยวิธีทาแบบละเอียด
ขอบคุณ คุณ Piyapan Sujarittham
และ คุณ Chonlakorn Chiewpanich ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารครับ

You might also like