You are on page 1of 32

PAT 1 (มี.ค.

57) 1
30 Mar 2015

PAT 1 (มี.ค. 57)


รหัสวิชา 71 วิชา ความถนัดทางคณิตศาสตร์ (PAT 1)
วันเสาร์ ที่ 8 มีนาคม 2557 เวลา 13.00 - 16.00 น.

ตอนที่ 1: แบบปรนัย 4 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบที่ถกู ต้ องที่สดุ จานวน 30 ข้ อ (ข้ อ 1 – 30) ข้ อละ 6 คะแนน
1. ให้ 𝐴′ แทนคอมพลีเมนต์ของเซต 𝐴 และ 𝑛(𝐴) แทนจานวนสมาชิกของเซต 𝐴 กาหนดให้ 𝒰 แทนเอกภพสัมพัทธ์
ถ้ า 𝐴 และ 𝐵 เป็ นสับเซตใน 𝒰 โดยที่ 𝑛(𝐴′ ∪ 𝐵) = 30 , 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵′) = 18 , 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) = 3
และ 𝑛(𝐴′ − 𝐵) = 8 แล้ วจานวนสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ์ 𝒰 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 29 2. 30 3. 37 4. 42

2. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ ง โดยที่ 𝑎𝑏 > 0


ให้ 𝑝 แทนประพจน์ “ถ้ า 𝑎 < 𝑏 แล้ ว 𝑎1 > 𝑏1 ” และ 𝑞 แทนประพจน์ “√𝑎𝑏 = √𝑎√𝑏 ”
ประพจน์ในข้ อใดต่อไปนี ้มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
1. (𝑝 ⇒ 𝑞) ∨ (𝑞 ∧ ~𝑝) 2. (~𝑞 ⇒ ~𝑝) ∧ (~𝑞 ∨ 𝑝)
3. (𝑝 ∧ ~𝑞) ∧ (𝑞 ⇒ 𝑝) 4. (~𝑝 ⇒ 𝑞) ⇒ (𝑝 ∧ 𝑞)

3. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 และ 𝑠 เป็ นประพจน์ใดๆ พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(ก) ถ้ าประพจน์ (𝑝 ∨ 𝑞) ⇔ (𝑟 ∧ 𝑠) และประพจน์ 𝑝 มีคา่ ความจริ งเป็ นจริง
แล้ วสรุปได้ วา่ ประพจน์ 𝑠 มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
(ข) ประพจน์ (𝑝 ∧ 𝑞) ⇒ (𝑟 ∧ 𝑠) สมมูลกับ ประพจน์ [𝑞 ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑟)] ∧ [𝑝 ⇒ (𝑞 ⇒ 𝑠)]
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
2 PAT 1 (มี.ค. 57)

4. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ถ้ า 𝐴 = { 𝑥 ∈ ℝ | 𝑥 2 + √𝑥 2 − 3𝑥 + 4 > 3𝑥 + 2}


แล้ วเซต 𝐴 เป็ นสับเซตของข้ อใดต่อไปนี ้
1. (−∞,2) ∪ (3,4) 2. (−∞,0) ∪ (3,∞) 3. (−∞,−1) ∪ (4,∞) 4. (−1,∞)

5. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ งบวก และ 𝑎 < 𝑏


เซตคาตอบของสมการ |𝑥 − 𝑎| − |𝑥 − 𝑏| = 𝑏 − 𝑎 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
𝑎+𝑏
1. {𝑏} 2. (𝑎, 𝑏] 3. [𝑏, ∞) 4. (
2
, ∞)

6. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริ ง ถ้ า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตจานวนจริ ง


2
โดยที่ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 𝑥+1
+4𝑥+4
เมื่อ 𝑥 ≠ −1 แล้ วเรนจ์ของฟังก์ชนั 𝑓 เป็ นสับเซตของข้ อใดต่อไปนี ้
1. { 𝑥 ∈ ℝ |𝑥 2 + 6𝑥 − 7 ≥ 0 } 2. { 𝑥 ∈ ℝ |𝑥 2 + 3𝑥 − 10 ≥ 0 }
3. { 𝑥 ∈ ℝ |𝑥 2 + 𝑥 − 12 ≥ 0 } 4. { 𝑥 ∈ ℝ |𝑥 2 − 6𝑥 − 16 ≥ 0 }
PAT 1 (มี.ค. 57) 3

7. กาหนดให้ 𝐴 = [10 −2 −1
], I=[
1 0
0 1
] และ 𝐵 เป็ นเมทริ กซ์ใดๆ มีมิติ 2 × 2
ให้ 𝑥 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้ องกับ det(𝐴2 + 𝑥I) = 0 พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) det(𝐴 + 𝑥I) = 0
(ข) det(𝐴2 + 𝑥I − 𝐵) = det(𝐵𝑡 )
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

8. กาหนดให้ L เป็ นเส้ นตรงมีสมการเป็ น 𝑎𝑥 + 𝑦𝑏 = 1 เมื่อ 𝑎, 𝑏 > 0 และให้ C1 และ C2 เป็ นวงกลมสองวงทีต่ า่ งกัน
โดยทีม่ ีรัศมีเท่ากันและวงกลมทังสองวงต่
้ างสัมผัสกับเส้ นตรง L ทีจ่ ดุ เดียวกัน ถ้ าวงกลม C1 มีจดุ ศูนย์กลางทีจ่ ดุ
(0, 0) แล้ วสมการของวงกลม C2 คือข้ อใดต่อไปนี ้
1. (𝑎2 + 𝑏2 )2(𝑥 2 + 𝑦 2 ) − 4𝑎𝑏(𝑎2 + 𝑏2 )(𝑏𝑥 + 𝑎𝑦) + 3𝑎2 𝑏2 = 0
2. (𝑎2 + 𝑏2 )(𝑥 2 + 𝑦 2 ) − 4𝑎𝑏(𝑏𝑥 + 𝑎𝑦) + 3𝑎2 𝑏2 = 0
3. (𝑎2 + 𝑏2 )2(𝑥 2 + 𝑦 2 ) − 4𝑎𝑏(𝑎2 + 𝑏2 )(𝑏𝑥 + 𝑎𝑦) + 5𝑎2 𝑏2 = 0
4. (𝑎2 + 𝑏2 )(𝑥 2 + 𝑦 2 ) − 4𝑎𝑏(𝑏𝑥 + 𝑎𝑦) + 5𝑎2 𝑏2 = 0
4 PAT 1 (มี.ค. 57)

9. กาหนดให้ ไฮเพอร์ โบลารูปหนึ่งมีสมการเป็ น 𝑥 2 − 𝑦 2 − 2𝑥 = 0 ถ้ าพาราโบลามีโฟกัสเป็ นจุดกึ่งกลางของส่วน


ของเส้ นตรงทีเ่ ชื่อมระหว่างจุดตัดของเส้ นตรง 𝑦 = 2𝑥 กับเส้ นกากับของไฮเพอร์ โบลา และมีเส้ นไดเรกตริ กซ์เป็ น
เส้ นตรงที่ผา่ นจุดยอดทังสองของไฮเพอร์
้ โบลา แล้ วสมการของพาราโบลาคือข้ อใดต่อไปนี ้
1. 9𝑥 2 + 12𝑥 + 12𝑦 − 3 = 0 2. 9𝑥 2 + 12𝑥 + 12𝑦 + 8 = 0
3. 9𝑥 2 + 6𝑥 − 12𝑦 − 3 = 0 4. 9𝑥 2 + 6𝑥 + 12𝑦 + 5 = 0

10. พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(ก) ให้ P(𝑥, 𝑦) เป็ นจุดใดๆ ในระนาบ ถ้ าผลบวกของระยะทางจากจุด P(𝑥, 𝑦) ไปยังจุด (0, –2)
และระยะทางจากจุด P(𝑥, 𝑦) ไปยังจุด (2, –2) เท่ากับ 2√5 แล้ ว
เซตของจุด P(𝑥, 𝑦) คือ { (𝑥, 𝑦) | 4𝑥 2 + 5𝑦 2 − 8𝑥 + 20𝑦 − 12 = 0 }
(ข) จุด (1, 1) เป็ นจุดบนพาราโบลา 𝑦 = 𝑥 2 อยูใ่ กล้ กบั เส้ นตรง 𝑦 = 2𝑥 – 4 มากที่สดุ
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
PAT 1 (มี.ค. 57) 5

11. กาหนดให้ 𝜃 เป็ นจานวนจริงใดๆ พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(ก) 16 sin3 𝜃 cos2 𝜃 = 2 sin 𝜃 + sin 3𝜃 − sin 5𝜃
(ข) sin 3𝜃 = (sin 2𝜃 + sin 𝜃)(2 cos 𝜃 − 1)
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

2 1+√6
12. cot (arccos √3 − arccos 2√3
) มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
2 1 1+√6
1. √
3
2. √
3
3. 2√3
4. √3

13. กาหนดให้ 𝑢̅ , 𝑣̅ และ 𝑤̅ เป็ นเวกเตอร์ ใดๆในสามมิติ พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(ก) 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤̅) = 𝑤̅ ∙ (𝑢̅ × 𝑣̅ )
(ข) ถ้ า |𝑢̅| = |𝑤̅| , |𝑢̅ − 𝑣̅ | = |𝑣̅ + 𝑤̅| และเวกเตอร์ 𝑢̅ ตังฉากกั
้ บเวกเตอร์ 𝑣̅
แล้ วเวกเตอร์ 𝑣̅ ตังฉากกั
้ บเวกเตอร์ 𝑤̅
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
6 PAT 1 (มี.ค. 57)

14. กาหนดให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦i เป็ นจานวนเชิงซ้ อน เมื่อ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้ องกับสมการ


3
𝑥(3 + 5i) + 𝑦(1 − i) = 3 + 7i พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) Im iz  = −Re(i𝑧)
(ข) 1𝑧 = 8−6i 7
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

15. ในคนกลุม่ หนึง่ ประกอบด้ วยชาย 6 คน และหญิงจานวนหนึง่ ความน่าจะเป็ นที่เลือกกรรมการ 2 คน เป็ นชายทังสอง

1
เท่ากับ 8 ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะเลือกกรรมการ 5 คนเป็ นชายไม่น้อยกว่า 3 คน เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 171
728
2. 2291
3. 175
728
4. 43
91

16. ต้ องการสร้ างจานวนสามหลัก โดยทีม่ ีตวั เลข 5 อย่างน้ อย 1 หลัก แต่ไม่มีตวั เลข 7 ในหลักใดเลย มีจานวนวิธีสร้ าง
จานวนสามหลักเท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 128 2. 136 3. 153 4. 200
PAT 1 (มี.ค. 57) 7

𝑥 2 + 𝑎𝑥 + 𝑏 , 𝑥<2
17. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ ง และให้ 𝑓(𝑥) = { √𝑥 − 1 , 2≤𝑥≤5
𝑎𝑥 + 𝑏 , 𝑥>5
ถ้ า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริง แล้ ว 𝑎 − 𝑏 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 8 3. 11 4. 12

2
𝑎
18. ถ้ า  |𝑥 2 − 7𝑥 + 6| 𝑑𝑥 =
𝑏
เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มที่ 𝑏≠0 และ ห.ร.ม. ของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับ 1
2

แล้ วค่าของ 𝑎+𝑏 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้


1. 33 2. 69 3. 102 4. 104

34𝑥
19. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥6−3𝑥 3 +64 เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริ งบวกใดๆ พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้

(ก) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มบนช่วง (0, 3)


4
(ข) ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ากับ 13
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
8 PAT 1 (มี.ค. 57)

20. กาหนดให้ 𝑎𝑛 = √𝑛2 + 16𝑛 + 3 − √𝑛2 + 2 เมื่อ 𝑛 = 1, 2, 3, … ค่าของ nlim



√𝑎𝑛 เท่ากับเท่าใด
3

1. 0 2. 1 3. 2 4. 8

21. ให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม ถ้ า 𝐴 = { (𝑥, 𝑦) ∈ I × I | 𝑥𝑦 − 21 = 𝑦 − 4𝑥 }


แล้ วจานวนสมาชิกของเซต 𝐴 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 4 3. 3 4. 2

22. จานวนประชากรในจังหวัดหนึง่ ตังแต่


้ พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2554 มีดงั นี ้
พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554
จานวนประชากร (แสนคน) 1.2 2.6 𝑎 5.4 6.3

ถ้ าจานวนประชากรสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั กับเวลา (พ.ศ.) เป็ นเส้ นตรง และทานายว่าในปี พ.ศ. 2557 จะมีประชากร
1,028,000 คน แล้ วใน พ.ศ. 2552 จะมีประชากรกี่คน
1. 204,000 คน 2. 272,000 คน 3. 340,000 คน 4. 408,000 คน
PAT 1 (มี.ค. 57) 9

23. ถ้ า 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริ งที่สอดคล้ องกับสมการ 3 sin(𝑥 − 𝑦) = 2 sin(𝑥 + 𝑦)


แล้ ว (tan3 𝑥)(cot 3 𝑦) เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 8 2. 27 3. 64 4. 125

24. พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(ก) ถ้ าข้ อมูลชุดหนึง่ มีสว่ นเบีย่ งเบนควอไทล์เท่ากับ 20 และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 23
แล้ วสรุปได้ วา่ ร้ อยละ 50 ของข้ อมูลชุดนี ้มีคา่ ระหว่าง 10 กับ 50
(ข) ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรี ยนห้ องหนึง่ มีนกั เรี ยนชาย 20 คน และนักเรี ยนหญิง 40 คน นักเรี ยน
ชายได้ คะแนนสอบคนละ 32 คะแนน ส่วนคะแนนสอบของนักเรี ยนหญิง มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตของคะแนน
สอบเท่ากับ 20 คะแนน และความแปรปรวนของคะแนนสอบเท่ากับ 90 สรุปว่าความแปรปรวนของ
คะแนนสอบของนักเรี ยนห้ องนี ้เท่ากับ 36 คะแนน
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
10 PAT 1 (มี.ค. 57)

25. เงินเดือนของพนักงานจานวน 50 คนของบริ ษัทแห่งหนึง่ มีการแจกแจงความถี่ ดังนี ้


เงินเดือน (บาท) จานวนพนักงาน (คน)
10,000 – 19,999 5
20,000 – 29,999 10
30,000 – 49,999 25
50,000 – 59,999 10

พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) ฐานนิยมของเงินเดือนเท่ากับ 39,999.50 บาท
(ข) มัธยฐานของเงินเดือนเท่ากับ 37,999.50 บาท
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

26. กาหนดให้ {𝑎𝑛 } เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยทีม่ ี 𝑎1 = 2 และ 𝑎𝑛 = 3𝑎𝑛−1 + 1 สาหรับ 𝑛 = 2, 3, 4, …


และกาหนดให้ 𝑆𝑛 = 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … + 𝑎𝑛 ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. 2𝑆𝑛 = 5(3𝑛−1 ) − 2𝑛 + 1 2. 2𝑆𝑛 = 2(3𝑛 ) + 3𝑛−1 − 𝑛 − 1
3. 4𝑆𝑛 = 4(3𝑛 ) + 3𝑛−1 − 4𝑛 − 1 4. 4𝑆𝑛 = 5(3𝑛 ) − 2𝑛 − 5

27. กาหนดให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเมทริ กซ์จตั รุ ัสมิติเท่ากัน โดยที่ det(𝐴) ≠ 0 และ det(𝐵) ≠ 0
ถ้ า det(𝐴−1 + 𝐵−1 ) ≠ 0 และ det(𝐴 + 𝐵) ≠ 0 แล้ ว (𝐴 + 𝐵)−1 ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 𝐵−1(𝐴−1 + 𝐵−1 )𝐴−1 2. 𝐵−1(𝐴−1 + 𝐵−1 )−1𝐴−1
3. 𝐵(𝐴−1 + 𝐵−1)𝐴 4. 𝐵(𝐴−1 + 𝐵−1)−1𝐴
PAT 1 (มี.ค. 57) 11

28. กาหนดให้ 𝑃 = 𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 เป็ นฟั งก์ชนั จุดประสงค์


เมื่อ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นจานวนจริ งบวกทีส่ อดคล้ องกับ 3𝐴 = 2𝐵 โดยมีอสมการข้ อจากัด ดังนี ้
𝑥 + 2𝑦 ≤ 20 , 7𝑥 + 9𝑦 ≤ 105 , 5𝑥 + 3𝑦 ≥ 15 , 𝑥 ≥ 0 และ 𝑦 ≥ 0
ถ้ า 𝑃 มีคา่ มากที่สดุ ท่ากับ 𝑀 และ 𝑃 มีคา่ น้ อยที่สดุ เท่ากับ 𝑁 แล้ ว ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. 2𝑀 = 11𝑁 2. 5𝑀 = 11𝑁 3. 2𝑀 = 𝑁 4. 5𝑀 = 𝑁

29. ถ้ า 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑, 𝑒 เป็ นจานวนเต็มบวก โดยที่ 5𝑎 = 4𝑏 = 3𝑐 = 2𝑑 = 𝑒 และ 𝑎 + 2𝑏 + 3𝑐 + 4𝑑 + 5𝑒 เป็ น


จานวนเต็มบวกที่น้อยที่สดุ แล้ วค่าของ 𝑎 + 4𝑏 + 3𝑐 + 4𝑑 + 𝑒 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 52 2. 120 3. 262 4. 312

30. ตู้นิรภัยมีรหัสเปิ ดตู้เป็ นจานวน 10 หลัก คือ ABCDEFGHIJ โดยที่


(ก) A, B, C, D, E, F, G, H, I, J ∈ {0, 1, 2, … , 9}
และ A, B, C, D, F, G, H, I, J เป็ นจานวนที่แตกต่างกันทังหมด

(ข) A, B, C, D เป็ นจานวนคี่ทเี่ รี ยงติดกันและ A > B > C > D
(ค) E, F, G เป็ นจานวนคูท่ ี่เรี ยงติดกันและ E > F > G
(ง) H > I > J และ H + I + J = 15
ค่าของ C + F + I เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 10 2. 13 3. 15 4. 17
12 PAT 1 (มี.ค. 57)

ตอนที่ 2: แบบอัตนัย ระบายคาตอบที่เป็ นตัวเลข จานวน 15 ข้ อ (ข้ อ 31 – 45) ข้ อละ 8 คะแนน


31. ถ้ า 𝑥 เป็ นจานวนจริ งที่มากที่สดุ ที่เป็ นคาตอบของสมการ √14 + 3𝑥 − 𝑥 2 − √9 + 5𝑥 − 𝑥 2 = 1
4−12𝑥 −1 +9𝑥 −2
แล้ วค่าของ | 3𝑥 −2 −2𝑥 −1
| เท่ากับเท่าใด

32. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนเชิงซ้ อนทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับสมการ 3|𝑧|2 − (28 − i)𝑧 + 4𝑧 2 = 0
และให้ 𝐵 = { |𝑧 + i| | 𝑧 ∈ 𝐴 } ผลบวกของสมาชิกทังหมดในเซต
้ 𝐵 เท่ากับเท่าใด

33. กาหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลีย่ มใดๆ โดยที่มีความยาวของด้ านตรงข้ ามมุม A มุม B และมุม C เท่ากับ 𝑎
หน่วย 𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลาดับ ถ้ ามุม A มีขนาดมากกว่า 90° มุม B มีขนาด 45°
และ √2𝑐 = (√3 − 1)𝑎 แล้ ว cos2(A − B − C) + cos 2 B + cos 2 C เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (มี.ค. 57) 13

34. กาหนดให้ 𝐴 แทนเซตคาตอบของสมการ log 3(3(2𝑥 +2𝑥) + 9) = 𝑥 2 + 𝑥 + log1 3


2

และให้ 𝐵 = { 𝑥 2 | 𝑥 ∈ 𝐴 } ผลบวกของสมาชิกทังหมดในเซต
้ 𝐵 เท่ากับเท่าใด

35. ให้ 𝐴 แทนเซตคาตอบของจานวนจริ ง 𝑥 ∈ [0, 2𝜋) ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับสมการ
(1+3 sin 𝑥) (2+sin 𝑥)
2 − 5 ∙ 22 sin 𝑥 + 2 = 1
จานวนสมาชิกของเซต 𝐴 เท่ากับเท่าใด

36. กาหนดให้ sin 𝜃 − sin 2𝜃 + sin 3𝜃 = 0 โดยที่ 0 < 𝜃 < 𝜋2


tan 𝜃−tan 2𝜃 sin 3𝜃+sin 4𝜃+sin 5𝜃
ถ้ า 𝑎 = cos 𝜃−cos 2𝜃
และ 𝑏 = cos 3𝜃+cos 4𝜃+cos 5𝜃
แล้ วค่าของ 𝑎4 + 𝑏 4 เท่ากับเท่าใด
14 PAT 1 (มี.ค. 57)

n 𝑛
𝑘 2 (6−3𝑎𝑛 )
37. กาหนดให้ 𝑎𝑛 = 
k 1 2
𝑘 เมื่อ 𝑛 = 1, 2, 3, … ค่าของ nlim
  √𝑛2 +5𝑛+1
เท่ากับเท่าใด

38. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ ง


2
ถ้ า 𝑓(1) = 2 และ (𝑓 ∘ 𝑓)(0) = 10 แล้ วค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด
1

39. สาหรับจานวนเต็มบวก 𝑛 ใดๆ ให้ 𝑆(𝑛) แทนจานวนคูอ่ นั ดับ (𝑎, 𝑏) ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับเงื่อนไขต่อไปนี ้
(1) 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก
(2) 𝑛𝑎 ∈ (0, 1] (3) 𝑎𝑏 ∈ (1,2] (4) 𝑛𝑏 ∈ (2, 3]
ค่าของ 𝑛 ที่ทาให้ 𝑆(𝑛) = 164 เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (มี.ค. 57) 15

40. ข้ อมูลชุดหนึง่ เรี ยงจากน้ อยไปหามาก ดังนี ้ 𝑎, 3, 5, 7, 𝑏


ถ้ าข้ อมูลชุดนี ้มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 7 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2√10
แล้ วค่าของ 2𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด

41. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ และวิชาภาษาอังกฤษของนักเรี ยนกลุม่ หนึง่ มีการแจกแจงปกติ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตและ


ความแปรปรวนของคะแนนแต่ละวิชามีดงั นี ้
วิชา ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (คะแนน) ความแปรปรวน (คะแนน2)
วิชาคณิตศาสตร์ 63 25
วิชาภาษาอังกฤษ 72 9

ถ้ านักเรี ยนคนหนึง่ ในกลุม่ นี ้สอบทังสองวิ


้ ชาได้ คะแนนเท่ากัน พบว่าคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของเขาเป็ นตาแหน่ง
เปอร์ เซ็นไทล์ที่ 88.49 คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษเป็ นตาแหน่งเปอร์ เซ็นไทล์เท่ากับเท่าใด
เมื่อกาหนดพื ้นที่ใต้ เส้ นโค้ งปกติ ระหว่าง 0 ถึง 𝑧 ดังตารางต่อไปนี ้
𝑍 0.9 1.0 1.1 1.2 1.3
พื ้นที่ 0.3159 0.3413 0.3643 0.3849 0.4032

42. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ถ้ า 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ 𝑓 ′′ (𝑥) = 3 + 6𝑥 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 และ
ความชันของเส้ นสัมผัสโค้ ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ณ จุด (2, 22) เท่ากับ 20 แล้ วค่าของ limx4
𝑓(𝑥) เท่ากับเท่าใด
16 PAT 1 (มี.ค. 57)

43. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 3 และ 𝑔(𝑥) = 𝑏𝑥 2 + 3𝑥 + 𝑎 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ ง


ถ้ า 𝑓(3) = 0 และ 𝑥 − 2 หาร 𝑓(𝑥) มีเศษเหลือเท่ากับ 5 แล้ วค่าของ (𝑔 ∘ 𝑓)(1) เท่ากับเท่าใด

44. หนังสือเล่มหนึง่ มี 500 หน้ า หน้ าแรกมีคาผิด 1 คา เว้ นไป 1 หน้ า หน้ าที่สามมีคาผิด 1 คา เว้ นไป 3 หน้ า หน้ าที่
เจ็ด มีคาผิด 1 คา เว้ นไป 5 หน้ า เป็ นเช่นนี ้ต่อๆไป จานวนหน้ าทีไ่ ม่มีคาผิดจะเพิม่ ขึ ้นทีละ 2 หน้ า จานวนคาผิดใน
หนังสือเล่มนี ้เท่ากับเท่าใด

45. ในกล่องใบหนึง่ บรรจุลกู บอลสีขาว ลูกบอลสีแดง และลูกบอลสีเหลือง โดยที่จานวนลูกบอลสีขาวมีจานวนไม่น้อยกว่า


จานวนลูกบอลสีแดง แต่ไม่มากกว่าหนึง่ ในสามเท่าของจานวนลูกบอลสีเหลือง และผลรวมของจานวนลูกบอลสีขาว
และสีแดงไม่น้อยกว่า 76 ลูก อยากทราบว่าผลรวมของจานวนลูกบอลสีขาวและลูกบอลสีเหลืองมีอย่างน้ อยกี่ ลกู
PAT 1 (มี.ค. 57) 17

เฉลย
1. 3 11. 1 21. 2 31. 4 41. 15.87
2. 3 12. 4 22. 3 32. 5 42. 100
3. 1 13. 1 23. 4 33. 2 43. 721
4. 2 14. 4 24. 2 34. 5 44. 22
5. 3 15. 2 25. 1 35. 3 45. 152
6. 3 16. 4 26. 4 36. 153
7. 1 17. 2 27. 2 37. 3
8. 2 18. 4 28. 1 38. 12
9. 4 19. 3 29. 4 39. 8
10. 3 20. 3 30. 2 40. 21

แนวคิด
1. 3
วาดได้ 4 รูป 𝑛(𝐴′ ∪ 𝐵) = 30 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵′) = 18 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) = 3 𝑛(𝐴′ − 𝐵) = 8

30 – (3 + 8) = 19
เอารูปแรก หักด้ วย (รูปที่สามกับสีร่ วมกัน) จะเหลือ

เอารูปที่ห้าทีเ่ พิ่งได้ รวมกับรูปที่สอง จะได้ ครบทุกส่วนพอดี ดังนัน้ ทุกส่วน = 19 + 18 = 37

2. 3
𝑝: จาก 𝑎 < 𝑏 เนื่องจาก 𝑎𝑏 > 0 เราสามารถเอา 𝑎𝑏 หารตลอด โดยไม่ต้องกลับเครื่ องหมายได้
𝑎 𝑏
จะได้ 𝑎𝑏 <
𝑎𝑏
ดังนัน้ 𝑏1 < 𝑎1 สลับข้ าง ได้ 𝑎1 > 𝑏1 ดังนัน้ 𝑝 เป็ นจริ ง
𝑞 : การที่ 𝑎𝑏 > 0 อาจมาจาก ลบ คูณ ลบ กลายเป็ นบวกก็ได้
และถ้ า 𝑎, 𝑏 เป็ นลบ เราจะหา √𝑎 กับ √𝑏 ไม่ได้ ในขณะที่ยงั หา √𝑎𝑏 ได้ อยู่
ดังนัน้ √𝑎𝑏 กับ √𝑎√𝑏 จะไม่เหมือนกันในกรณีนี ้ ดังนัน้ 𝑞 เป็ นเท็จ
แทน 𝑝 ≡ T , 𝑞 ≡ F ในแต่ละตัวเลือก จะได้ ข้อ 3 เป็ นจริง
1. (T ⇒ F) ∨ (F ∧ ~T) ≡ F ∨ F ≡ F 2. (~F ⇒ ~T) ∧ (~F ∨ T) ≡ F ∧ … ≡ F
3. (T ∧ ~F) ∧ (F ⇒ T) ≡ T ∧ T ≡ T 4. (~T ⇒ F) ⇒ (T ∧ F) ≡ T ⇒ F ≡ F

3. 1
ก) แทน 𝑝≡T จะได้ (T ∨ 𝑞) ⇔ (𝑟 ∧ 𝑠) ≡ T จะได้ 𝑟∧𝑠 ≡ T เท่านัน้ ถึงจะ ⇔ แล้ วเป็ น T
T ⇔ (𝑟 ∧ 𝑠) ≡ T
จะได้ 𝑟, 𝑠 ต้ องจริ งทังคู
้ ่ ถึงจะ ∧ กันแล้ วเป็ น T ดังนัน้ ข้ อ (ก) ถูก
ข) ทาทังสองฝั
้ ่งให้ เป็ นรูปอย่างง่าย (𝑝 ∧ 𝑞) ⇒ (𝑟 ∧ 𝑠) ≡ [𝑞 ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑟)] ∧ [𝑝 ⇒ (𝑞 ⇒ 𝑠)]
~(𝑝 ∧ 𝑞) ∨ (𝑟 ∧ 𝑠) ≡ [~𝑞 ∨ (~𝑝 ∨ 𝑟)] ∧ [~𝑝 ∨ (~𝑞 ∨ 𝑠)]
(~𝑝 ∨ ~𝑞) ∨ (𝑟 ∧ 𝑠) ≡ [~𝑞 ∨ ~𝑝 ∨ 𝑟] ∧ [~𝑝 ∨ ~𝑞 ∨ 𝑠]
≡ (~𝑞 ∨ ~𝑝) ∨ [𝑟 ∧ 𝑠]
ทังสองฝั
้ ่ง จัดรูปได้ เหมือนกัน จึงสมมูลกัน ดังนัน้ ข้ อ (ข) ถูก
18 PAT 1 (มี.ค. 57)

4. 2
ย้ ายข้ าง ได้ อสมการคือ 𝑥 2 − 3𝑥 − 2 + √𝑥 2 − 3𝑥 + 4 > 0
เปลีย่ นตัวแปร ให้ √𝑥 2 − 3𝑥 + 4 = 𝑎 แล้ วจัดรูป 𝑥 อื่นๆที่เหลือให้ กลายเป็ น 𝑎 จะได้ 𝑥 2 − 3𝑥 + 4 = 𝑎2
𝑥 2 − 3𝑥 = 𝑎2 − 4
ดังนัน้ อสมการจะกลายเป็ น 𝑎2 − 4 − 2 + 𝑎 > 0
𝑎2 + 𝑎 − 6 > 0 + − +
(𝑎 + 3)(𝑎 − 2) > 0 −3 2
แต่ 𝑎 คือค่ารูท เป็ นลบไม่ได้ จะได้ 𝑎 > 2 เท่านัน้
แทนค่า 𝑎 กลับไป จะได้ √𝑥 2 − 3𝑥 + 4 > 2
𝑥 2 − 3𝑥 + 4 > 4
𝑥 2 − 3𝑥 > 0 + − +
𝑥(𝑥 − 3) > 0 ซึง่ จะเป็ นสับเซตของข้ อ 2 เท่านัน้
0 3

5. 3
เนื่องจาก มี 𝑥 − 𝑎 และ 𝑥 − 𝑏 ในค่าสัมบูรณ์ และ 𝑎 < 𝑏 (2)
(3)
(1)
วาดเส้ นจานวน จะแบ่งเป็ น 3 กรณี ดังรูป
กรณี (1) 𝑥 < 𝑎 : จะได้ ทงั ้ 𝑥 − 𝑎 และ 𝑥 − 𝑏 เป็ นลบ 𝑎 𝑏
ถอดเครื่ องหมายค่าสัมบูรณ์ ได้ (−(𝑥 − 𝑎)) − (−(𝑥 − 𝑏)) = 𝑏−𝑎
−𝑥 + 𝑎 + 𝑥 − 𝑏 = 𝑏−𝑎
𝑎−𝑏 = 𝑏−𝑎
เนื่องจาก 𝑎 < 𝑏 ดังนัน้ ฝั่งซ้ ายติดลบ แต่ฝั่งขวาเป็ นบวก สมการเป็ นเท็จโดยไม่ขึ ้นกับค่า 𝑥 → กรณีนี ้ ไม่มีคาตอบ
กรณี (2) 𝑎 ≤ 𝑥 < 𝑏 : จะได้ 𝑥 − 𝑎 ≥ 0 แต่ 𝑥 − 𝑏 เป็ นลบ
ถอดเครื่ องหมายค่าสัมบูรณ์ ได้ (𝑥 − 𝑎) − (−(𝑥 − 𝑏)) = 𝑏 − 𝑎
𝑥−𝑎+𝑥−𝑏 = 𝑏−𝑎
2𝑥 = 2𝑏
𝑥 = 𝑏
แต่ 𝑥 = 𝑏 ไม่อยูใ่ นเงื่อนไข 𝑎 ≤ 𝑥 < 𝑏 ดังนัน้ กรณีนี ้ ไม่มีคาตอบ
กรณี (3) 𝑥 ≥ 𝑏 : จะได้ ทงั ้ 𝑥 − 𝑎 และ 𝑥 − 𝑏 ≥ 0
ถอดเครื่ องหมายค่าสัมบูรณ์ ได้ (𝑥 − 𝑎) − (𝑥 − 𝑏) = 𝑏 − 𝑎
𝑥−𝑎−𝑥+𝑏 = 𝑏−𝑎
−𝑎 + 𝑏 = 𝑏−𝑎
จะได้ สมการเป็ นจริงเสมอ ดังนัน้ 𝑥 ทุกค่าในกรณีนี ้ จะทาให้ สมการเป็ นจริ ง → ได้ คาตอบคือ [𝑏, ∞)

6. 3
2𝑥 2 +4𝑥+4
𝑦 =
𝑥+1 หาเรนจ์ ต้ องจัดรูปสมการให้ เป็ น “𝑥 = ก้ อนของ 𝑦”
𝑥𝑦 + 𝑦 = 2𝑥 2 + 4𝑥 + 4
แต่ข้อนี ้ 𝑥 เป็ นกาลังสอง ต้ องจัดในรูป 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0
0 = 2𝑥 2 + 4𝑥 − 𝑥𝑦 + 4 − 𝑦
−𝑏±√𝑏2 −4𝑎𝑐
0 = 2𝑥 2 + (4 − 𝑦)𝑥 + (4 − 𝑦) แล้ วใช้ สตู ร 𝑥= 2𝑎
−(4−𝑦)±√(4−𝑦)2 −4(2)(4−𝑦)
𝑥 =
2(2)
PAT 1 (มี.ค. 57) 19

ใน √ ต้ อง ≥ 0 ดังนัน้ (4 − 𝑦)2 − 4(2)(4 − 𝑦) ≥ 0


16 − 8𝑦 + 𝑦 2 − 32 + 8𝑦 ≥ 0
𝑦 2 − 16 ≥ 0 + − +
(𝑦 + 4)(𝑦 − 4) ≥ 0 −4 4
ได้ เรนจ์ คือ (−∞, −4] ∪ [4, ∞) ถัดมา ต้ องแก้ อสมการในตัวเลือก
1. (𝑥 + 7)(𝑥 − 1) ≥ 0 → (−∞, −7] ∪ [1, ∞) 2. (𝑥 + 5)(𝑥 − 2) ≥ 0 → (−∞, −5] ∪ [2, ∞)
3. (𝑥 + 4)(𝑥 − 3) ≥ 0 → (−∞, −4] ∪ [3, ∞) 4. (𝑥 + 2)(𝑥 − 8) ≥ 0 → (−∞, −2] ∪ [8, ∞)
จะเห็นว่า ข้ อ 3 จะคลุม (−∞, −4] ∪ [4, ∞) ได้ ดังนัน้ ตอบข้ อ 3

7. 1
1 −2 1 −2 1 0 1 0 𝑥 0 𝑥+1 0
𝐴2 + 𝑥I = [ ][ ]+𝑥[ ] = [ ]+[ ] = [ ]
0 −1 0 −1 0 1 0 1 0 𝑥 0 𝑥+1
แต่จาก det(𝐴2 + 𝑥I) = 0 จะได้ (𝑥 + 1)2 = 0 ดังนัน้ 𝑥 = −1
ก) 𝐴 + 𝑥I = [10 −2 −1
] + (−1) [
1 0
0 1
] = [
0 −2
0 −2
] → det ได้ (0)(–2) – (0)(–2) = 0 → (ก) ถูก
ข) จากทีเ่ คยทาเรามี 𝐴2 + 𝑥I = [𝑥 + 0
1 0
𝑥+1
] แทน 𝑥 = −1 จะได้ 𝐴2 + 𝑥I = [
0 0
0 0
] = 0
ดังนัน้ ฝั่งซ้ าย det(𝐴2 + 𝑥I − 𝐵) = det(0 − 𝐵) = det(−𝐵) = (−1)2 det 𝐵 = det 𝐵
และฝั่งขวา det(𝐵𝑡 ) = det 𝐵 ด้ วย → (ข) ถูก

8. 2
วาดรูปเส้ นตรง L ก่อน จะเห็นว่าถ้ าแทน 𝑥 = 0 จะได้ 𝑦 = 𝑏 และถ้ าแทน 𝑦 = 0 จะได้ 𝑥 = 𝑎 𝑏
ดังนัน้ L เป็ นเส้ นตรงทีต่ ดั แกน 𝑦 ที่ 𝑏 และตัดแกน 𝑥 ที่ 𝑎 เนื่องจาก 𝑎, 𝑏 > 0 จะวาดได้ ดงั รูป
วาด C1 กับ C2 ตามข้ อมูลที่โจทย์ให้ จะได้ ดงั รูป 𝑎
C2 𝑥 𝑦
E 𝑟 = ระยะจากจุด (0,0) ถึงเส้ นตรง + = 1 (จัดรู ปได้ เป็ น 𝑏𝑥 + 𝑎𝑦 − 𝑎𝑏 = 0)
𝑎 𝑏
B 𝑟 |0+0−𝑎𝑏| 𝑎𝑏
= 2 2 → เนื่องจาก 𝑎, 𝑏 > 0 จะถอดค่าสัมบูรณ์ได้ 𝑟 = 2 2
√𝑎 +𝑏 √𝑎 +𝑏
𝑟
จะเห็นว่า ∆EOD ~ ∆ABO เพราะมีมมุ ฉากเท่ากัน และ OÊD = BÂO (เพราะต่างก็
O D A
บวกกับ EÔA ได้ 90°) ดังนัน้ EOAB
OD
= BO = OA
DE
C1
จาก OA = 𝑎 , OB = 𝑏 พีทากอรัสจะได้ AB = √𝑎2 + 𝑏2
2𝑎𝑏2 2𝑎 2 𝑏
และจาก EO = 2𝑟 = √𝑎2𝑎𝑏
2 +𝑏 2
จะได้ EO
OD = AB × BO = 𝑎2 +𝑏2 และ EO
DE = AB × OA = 𝑎2 +𝑏2
2 2 2 2 2
2𝑎𝑏2 2𝑎 2 𝑏
ดังนัน้ C2 มี ศก (𝑎2𝑎𝑏 2𝑎 𝑏 𝑎𝑏
2 +𝑏 2 , 𝑎 2 +𝑏2 ) และ 𝑟 = √𝑎 2 +𝑏 2 → สมการคือ (𝑥 − 𝑎2 +𝑏2 ) + (𝑦 − 𝑎2 +𝑏2 ) = (
𝑎𝑏
√𝑎 2 +𝑏2
)
4𝑎𝑏2 𝑥 4𝑎 2 𝑏4 4𝑎 2 𝑏𝑦 4𝑎 4 𝑏2 𝑎2 𝑏2
จัดรูป 𝑥 2 − 𝑎2 +𝑏2 + (𝑎2 +𝑏2 )2 + 𝑦 2 − 𝑎2 +𝑏2 + (𝑎2 +𝑏2 )2 = 𝑎 2 +𝑏2
4𝑎𝑏2 𝑥 4𝑎 2 𝑏𝑦 4𝑎 2 𝑏4 4𝑎 4 𝑏2 𝑎2 𝑏2
𝑥 2 + 𝑦 2 − 𝑎2 +𝑏2 − 𝑎2 +𝑏2 + (𝑎2 +𝑏2 )2 + (𝑎2 +𝑏2 )2 = 𝑎 2 +𝑏2
4𝑎𝑏(𝑏𝑥+𝑎𝑦) 4𝑎 2 𝑏2 (𝑏2 +𝑎2 ) 𝑎2 𝑏2
𝑥2 + 𝑦2 − + =
𝑎 2 +𝑏2 (𝑎 2 +𝑏2 )2 𝑎 2 +𝑏2
4𝑎𝑏(𝑏𝑥+𝑎𝑦) 4𝑎 2 𝑏2 𝑎2 𝑏2
𝑥2 + 𝑦2 − 𝑎 2 +𝑏2
+ 𝑎 2 +𝑏2
= 𝑎 2 +𝑏2
4𝑎𝑏(𝑏𝑥+𝑎𝑦) 3𝑎 2 𝑏2
𝑥2 + 𝑦2 − 𝑎 2 +𝑏2
+ 𝑎 2 +𝑏2
= 0

คูณตลอดด้ วย 𝑎2 + 𝑏 2 จะได้ (𝑎2 + 𝑏 2 )(𝑥 2 + 𝑦 2 ) − 4𝑎𝑏(𝑏𝑥 + 𝑎𝑦) + 3𝑎2 𝑏2 = 0


20 PAT 1 (มี.ค. 57)

9. 4
จัดรูปไฮเพอร์ โบลา ได้ เป็ น (𝑥 − 1)2 − 𝑦 2 = 1 จะได้ เส้ นกากับคือ (𝑥 − 1)2 − 𝑦 2 = 0 …(1)
แก้ ระบบสมการ กับ 𝑦 = 2𝑥 …(2) เพื่อหาจุดตัด → แทน 𝑦 = 2𝑥 จะได้ (𝑥 − 1)2 − (2𝑥)2 = 0
(𝑥 − 1 − 2𝑥)(𝑥 − 1 + 2𝑥) = 0
(−𝑥 − 1)(3𝑥 − 1) = 0
1
แทนใน (2) จะได้ 𝑦 = −2 , 2
→ จุดตัดคือ (−1, −2) , (3 , 3)
1 2 𝑥 = −1 ,
3
3
1 2
−1+ −2+ 1 2
จะได้ จดุ กึ่งกลางจุดตัด คือ ( 2
3
, 2
3
) = (− 3 , − 3) = โฟกัสของพาราโบลา Y
จากไฮเพอร์ โบลา (𝑥 − 1) − 𝑦 = 1 เป็ นแนวนอน มี ศก ที่ (1, 0)
2 2
ไดเรกตริกซ์ X
(1,0)
ดังนัน้ เส้ นตรงที่ผา่ นจุดยอดทังสอง
้ จะผ่าน (1, 0) ในแนวนอนด้ วย 1 2
F(− , − )
จะได้ ไดเรกตริกซ์ ของพาราโบลา คือ แกน 𝑥 นัน่ เอง ซึง่ จะวาดพาราโบลาได้ ดงั รูป 3 3

จุดยอด V จะอยูต่ รงกลางระหว่าง F และเส้ นไดเรกตริ กซ์ = (− 13 , − 13) = (ℎ, 𝑘)


1 2 1 1
และ 𝑐 = ระยะจาก V ถึง F = 13 แทน (ℎ, 𝑘) และ 𝑐 ใน พาราโบลาควา่ จะได้ (𝑥 + 3) = −4 (3) (𝑦 + 3)
2𝑥 1 4𝑦 4
𝑥2 + + = − −
3 9 3 9
2
9𝑥 + 6𝑥 + 1 = −12𝑦 − 4
9𝑥 2 + 6𝑥 + 12𝑦 + 5 = 0

10. 3
ก. จะสอดคล้ องกับสมบัติของวงรี ที่มี (0, −2) และ (2, −2) เป็ นจุดโฟกัส และมีแกนเอกยาว 2√5
โฟกัส เรี ยงตามแนวนอน จะได้ เป็ นวงรี แนวนอน โดยจุดศูนย์กลาง (ℎ, 𝑘) = (0+1
2
, −2) = (1, −2)
2√5
ระยะโฟกัส 𝑐=2–1=1 และ 𝑎= 2
= √5 ดังนัน้ 𝑏 = √𝑎2 − 𝑐 2 = √5 − 1 = 2
(𝑥−ℎ)2 (𝑦−𝑘)2 (𝑥−1)2 (𝑦+2)2
จะได้ วงรี คือ 𝑎2
+ 𝑏2
= 1 → 2 + 22
= 1
√5
𝑥 2 −2𝑥+1 𝑦 2 +4𝑦+4
5
+ 4
= 1
2 2
4𝑥 − 8𝑥 + 4 + 5𝑦 + 20𝑦 + 20 = 20
4𝑥 2 + 5𝑦 2 − 8𝑥 + 20𝑦 + 4 = 0 → ก. ผิด

ข. B 𝑦 = 2𝑥 − 4 วาดคร่าวๆได้ ดงั รูป


𝑦 = 𝑥2
A จะเห็นว่า จุดบนพาราโบลา ที่ใกล้ เส้ นตรงมากสุด คือจุด A
C ซึง่ จะมีสมบัตวิ า่ ความชันเส้ นสัมผัส ณ จุด A ต้ องเท่ากับความชันเส้ นตรง
ความชันของพาราโบลาคือ 𝑦 ′ = 2𝑥 จะได้ ความชัน ณ จุด (1, 1) คือ 2(1) = 2
และ เส้ นตรง 𝑦 = 2𝑥 + 4 จะมีความชัน = 2 → ข. ถูก

11. 1
3𝜃+5𝜃 3𝜃−5𝜃
ก. ฝั่งขวา = 2 sin 𝜃 + 2 cos
2
sin
2
= 2 sin 𝜃 + 2 cos 4𝜃 sin(−𝜃)
= 2 sin 𝜃 − 2 cos 4𝜃 sin 𝜃
= 2 sin 𝜃 (1 − cos 4𝜃) = 4 sin 𝜃 sin2 2𝜃
= 2 sin 𝜃 (1 − (1 − 2 sin2 2𝜃)) = 4 sin 𝜃 (2 sin 𝜃 cos 𝜃)2
= 2 sin 𝜃 ( 2 sin2 2𝜃) = 16 sin3 𝜃 cos2 𝜃 → ก. ถูก
PAT 1 (มี.ค. 57) 21

ข. sin 3𝜃 = (sin 2𝜃 + sin 𝜃)(2 cos 𝜃 − 1)


3 sin 𝜃 − 4 sin3 𝜃 = (2 sin 𝜃 cos 𝜃 + sin 𝜃)(2 cos 𝜃 − 1)
sin 𝜃 (3 − 4 sin2 𝜃) = sin 𝜃 (2 cos 𝜃 + 1)(2 cos 𝜃 − 1)
= sin 𝜃 (4 cos 2 𝜃 − 1)
= sin 𝜃 (4(1 − sin2 𝜃) − 1)
= sin 𝜃 (4 − 4 sin2 𝜃 − 1)
= sin 𝜃 (3 − 4 sin2 𝜃) → ข. ถูก

12. 4
เราจะเปลีย่ น arccos ให้ เป็ น arccot แล้ วค่อยกระจาย cot เข้ าไปด้ วยสูตร cot(𝐴 − 𝐵) = cot 𝐵 cot 𝐴 + 1
cot 𝐵−cot 𝐴
เนื่องจาก ตัวเลขหลัง arc เป็ นบวก จึงใช้ สามเหลีย่ มได้ โดยไม่ต้องระวังเรื่ อง Quadrant
2 ชิด √2 1+√6 ชิด 1+√6
arccos √ → = arccos → =
3 ฉาก √3 2√3 ฉาก 2√3

1+√6 2√3 2
√3 2 2 arccos = √(2√3) − (1 + √6)2
arccos √
2
= √√3 − √2 2√3
3
= 1 1 + √6 = √12 − (1 + 2√6 + 6)
√2
= √5 − 2√6 = √3 − √2
ดังนัน้ cot (arccos √23) = ข้ชิาดม = √2 = √2
1 ชิด
ดังนัน้ cot (arccos 1+√6
2√3
)= =
1+√6
ข้ าม √3−√2
2
ดังนัน้ arccos √3 = arccot √2
ดังนัน้ arccos 1+√6
2√3
= arccot
1+√6
√3−√2

2 1+√6
ดังนัน้ cot (arccos √3 − arccos 2√3
) = cot (arccot √2 − arccot
1+√6
√3−√2
)
1+√6
cot(arccot ) cot(arccot √2) + 1
√3−√2
= 1+√6
cot(arccot ) − cot(arccot √2)
√3−√2
1+√6 (1+√6)(√2) + √3−√2
∙ √2 + 1
√2+2√3+√3−√2 3√3
cot กับ arccot จะตัดกันเหลือ = √3−√2
= √3−√2
1+√6 − (√2)(√3−√2)
= = = √3
1+√6
− √2 1+√6−√6+2 3
√3−√2 √3−√2

13. 1
ก. จากสมบัตใิ นเรื่ องปริ มาตรของทรงสีเ่ หลีย่ มหน้ าขนาน จะได้
𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤
̅) = 𝑣̅ ∙ (𝑤
̅ × 𝑢̅) = 𝑤
̅ ∙ (𝑢̅ × 𝑣̅ )
𝑢̅ ∙ (𝑤
̅ × 𝑣̅ ) = 𝑤
̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑢̅) = 𝑣̅ ∙ (𝑢̅ × 𝑤
̅) และมีคา่ เป็ นลบของประโยคบน → ก. ถูก
ข. จะได้ |𝑢̅ − 𝑣̅ |2 = |𝑣̅ + 𝑤̅|2 ใช้ สตู รได้ เป็ น |𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 − 2𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑣̅ |2 + |𝑤̅|2 + 2𝑣̅ ∙ 𝑤̅
แต่ |𝑢̅| = |𝑤̅| → ตัดตัวที่เท่ากันได้ เหลือ −2𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = 2𝑣̅ ∙ 𝑤̅
แต่ 𝑢̅ ⊥ 𝑣̅ จะได้ 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = 0 ดังนัน้ 𝑣̅ ∙ 𝑤̅ = 0 ด้ วย จะได้ 𝑣̅ ⊥ 𝑤̅ (ถ้ า |𝑣̅ | , |𝑤̅| ≠ 0) → ข. ถูก

14. 4
ใช้ สตู รกาลังสามสมบูรณ์ จะได้ (1 − i)3 = 1 − 3i + 3i2 − i3 = 1 − 3i − 3 + i = −2 − 2i
จะได้ ฝั่งซ้ าย คือ 𝑥(3 + 5i) + 𝑦(−2 − 2i) = (3𝑥 − 2𝑦) + (5𝑥 − 2𝑦)i
เทียบกับฝั่งขวา จะได้ 3𝑥 − 2𝑦 = 3 …(1) และ 5𝑥 − 2𝑦 = 7 …(2)
3−6 3 3
(2) – (1): 2𝑥 = 4 → 𝑥 = 2 แทนใน (1) ได้ 𝑦 = −2 = 2 → 𝑧 = 2 + 2i
22 PAT 1 (มี.ค. 57)

ก. i𝑧 = 2i − 32 ดังนัน้ ฝั่งซ้ าย = Im(−2i − 32) = −2 , ฝั่งขวา = − (− 32) = 32 → ก. ผิด


ข. คูณไขว้ ได้ 7 = 𝑧(8 − 6i) = (2 + 32 i) (8 − 6i) = (2 + 32 i) (2)(4 − 3i) = (4 + 3i)(4 − 3i)
เข้ าสูตรผลต่างกาลังสอง ได้ 42 − (−32) = 25 → ข. ผิด

15. 2
ให้ มีคนทังหมด
้ 𝑛 คน จะได้ จานวนวิธีเลือกสองคน = (𝑛2) , จานวนวิธีเลือก ชายสองคน = (62)
(62) 1 6∙5 𝑛(𝑛−1)
ดังนัน้ (𝑛
=8 → 8∙ 2
= 2
→ 240 = 𝑛(𝑛 − 1)
2)
แยก 240 เป็ นสองตัวติดกันคูณกัน ได้ 16 ∙ 15 → 𝑛 = 16 → มี ญ = 16 – 6 = 10 คน
เลือก 5 คน เป็ นชายไม่น้อยกว่า 3 คือ เป็ น ชาย 3 หญิง 2 หรื อ ชาย 4 หญิง 1 หรื อ ชาย 5 ญ 0
(63)(10 6 10 6 10
2 )+(4)( 1 )+(5)( 0 ) 20∙45 + 15∙10 + 6 1056 88 22
จะได้ ความน่าจะเป็ น =
(16
= 16∙15∙14∙13∙12 =
2∙14∙13∙12
=
2∙14∙13
=
91
5) 5∙4∙3∙2

16. 4
จะใช้ วิธีนบั แบบตรงข้ าม : พิจารณาเฉพาะในกลุม่ เลขที่ “ไม่มี 7” ในหลักใดเลย จะแบ่งเป็ น มี 5 กับ ไม่มี 5
ดังนัน้ จานวนเลขที่ไม่มี 7 = จานวนเลขที่ไม่มี 7 และมี 5 + จานวนเลขที่ไม่มี 7 และไม่มี 5
จานวนเลขที่ไม่มี 7 → หลักแรกห้ ามเป็ น 0, 7 จะเหลือ 8 แบบ และสองหลักที่เหลือห้ ามเป็ น 7 จะเหลือ 9 แบบ
ได้ = 8 × 9 × 9 = 648 แบบ
ไม่มี 7 และไม่มี 5 → หลักแรกห้ ามเป็ น 0, 5, 7 จะเหลือ 7 แบบ และสองหลักที่เหลือห้ ามเป็ น 5 กับ 7 จะเหลือ 8 แบบ
ได้ = 7 × 8 × 8 = 448 แบบ
ดังนัน้ จานวนเลขที่ไม่มี 7 และมี 5 = 648 – 448 = 200

17. 2
ต่อเนื่อง แสดงว่าบริ เวณรอยต่อ คือ 𝑥 = 2 และ 𝑥 = 5 ต้ องได้ คา่ 𝑓(𝑥) เท่ากัน
ที่ 𝑥 = 2 : 22 + 𝑎(2) + 𝑏 = √2 − 1 → 2𝑎 + 𝑏 = −3 …(1)
ที่ 𝑥 = 5 : √5 − 1 = 𝑎(5) + 𝑏 → 5𝑎 + 𝑏 = 2 …(2)
หา 𝑎 − 𝑏 จาก (2) – 2(1) ได้ 2 − 2(−3) = 8 ก็ได้
หรื อถ้ าจะทาตรงๆ (2) – (1) จะได้ 3𝑎 = 5 → 𝑎 = 53 แทนใน (1) ได้ 𝑏 = −3 − 10 3
19
=− 3
จะได้ 𝑎 − 𝑏 = 53 − (− 193) = 24 3
=8

18. 4
เราต้ องดูวา่ 𝑥 2 − 7𝑥 + 6 เป็ นลบเป็ นบวกในช่วงไหนบ้ าง
𝑎 , 𝑎≥0
จะได้ กาจัดเครื่ องหมายค่าสัมบูรณ์ตามสมบัติ |𝑎| = {−𝑎 , 𝑎<0
ได้
+ − +
แยกตัวประกอบได้ 𝑥 2 − 7𝑥 + 6 = (𝑥 − 1)(𝑥 − 6) ซึง่ เขียนเส้ นจานวนได้ ดงั รูป
1 6
อินทิเกรต ตังแต่
้ −2 ถึง 2 ดังนัน้ จะผ่านการเปลีย่ นเครื่ องหมาย 1 ครัง้ ที่ 𝑥 = 1
−2 ถึง 1 เป็ นบวก → จะได้ |𝑥 2 − 7𝑥 + 6| = 𝑥 2 − 7𝑥 + 6
1 ถึง 2 เป็ นลบ → จะได้ |𝑥 2 − 7𝑥 + 6| = −(𝑥 2 − 7𝑥 + 6)
เราจะแบ่งอินทิเกรตเป็ น 2 ช่วง เพื่อกาจัดเครื่ องหมายค่าสัมบูรณ์ ดังนี ้
PAT 1 (มี.ค. 57) 23

2 1 2
 |𝑥 2 − 7𝑥 + 6| 𝑑𝑥 =  𝑥 2 − 7𝑥 + 6 𝑑𝑥 +  −(𝑥 2 − 7𝑥 + 6) 𝑑𝑥
2 2 1
1 2
=  𝑥 2 − 7𝑥 + 6 𝑑𝑥 −  𝑥 2 − 7𝑥 + 6 𝑑𝑥
2 1
𝑥3 7𝑥 2
1 𝑥3 7𝑥 2 2
= (3 − 2
+ 6𝑥 | ) − ( 3 − 2 + 6𝑥 | )
−2 1
1 7 8 28 8 28 1 7
= (( − + 6) − (− − − 12)) − (( − + 12) − ( − + 6))
3 2 3 2 3 2 3 2
1 7 8 28 8 28 1 7 2 101
= − +6+ + + 12 − + − 12 + − + 6 = + 21 + 12 =
3 2 3 2 3 2 3 2 3 3
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = 101 + 3 = 104

19. 3
ก. ฟั งก์ชนั เพิม่ ต้ องดูจาก 𝑓 ′ (𝑥) เป็ นบวก
(𝑥 6 −3𝑥 3 +64)(12𝑥 2 )−(4𝑥 3 )(6𝑥 5 −9𝑥 2 ) −12𝑥 2 [𝑥 6 −64]
𝑓 ′ (𝑥) = (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2
= (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2
(𝑥 6 −3𝑥 3 +64)(12𝑥 2 )−(12𝑥 3 )(2𝑥 5 −3𝑥 2 ) −12𝑥 2 (𝑥 3 −8)(𝑥 3 +8)
= (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2
= (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2
12𝑥 2 [(𝑥 6 −3𝑥 3 +64)−(𝑥)(2𝑥 5 −3𝑥 2 )] −12𝑥 2 (𝑥−2)(𝑥 2 +2𝑥+4)(𝑥+2)(𝑥 2 −2𝑥+4)
= (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2
= (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2
12𝑥 2 [𝑥 6 −3𝑥 3 +64−2𝑥 6 +3𝑥 3 ] −12𝑥 2 (𝑥−2)(𝑥 2 +2𝑥+1+3)(𝑥+2)(𝑥 2 −2𝑥+1+3)
= (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2
= (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2
12𝑥 2 [−𝑥 6 +64] −12𝑥 2 (𝑥−2)((𝑥+1)2 +3)(𝑥+2)((𝑥−1)2 +3)
= (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2
= (𝑥 6 −3𝑥 3 +64)2

จะเห็นว่า (𝑥 + 1)2 + 3 , (𝑥 − 1)2 + 3 และ (𝑥 6 − 3𝑥 3 + 64)2 เป็ นบวกได้ เท่านัน้ ไม่มีผลกับเครื่ องหมาย
𝑥 2 เป็ นบวกหรื อศูนย์ได้ เท่านัน้ ดังนันจะมี
้ 0 อยูบ่ นเส้ นจานวน แต่ไม่มีการกลับเครื่ องหมาย
𝑥 − 2 และ 𝑥 + 2 พล็อตเส้ นจานวนได้ ตามปกติ − + + −
และ −12 ที่คณ ู อยู่ จะทาให้ ชว่ งขวาสุด เริ่มด้ วย – ดังรูป −2 0 2
จะเห็นว่า ช่วง (0, 3) คลุมช่วง (2, 3) ที่ 𝑓 ′(𝑥) เป็ นลบด้ วย → ก. ผิด
ข. ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ จะเกิดที่ 𝑓 ′ (𝑥) = 0 โดย 𝑓 ′(𝑥) รอบๆ ต้ องเปลีย่ นจาก + → 0 → − ได้ แก่ 𝑥 = 2 นัน่ เอง
4(2 ) 3
ดังนัน้ ค่าสูงสุดสัมฟั ทธ์ = 𝑓(2) = 26−3(2 3 )+64
+ 0 −
4 4
ตัด 2 ทังเศษและส่
3
้ วน ได้ = 23−3+8 = 13 → ข. ถูก 2

20. 3
ต้ องทา 𝑎𝑛 ให้ อยูใ่ นรูปเศษส่วนก่อน ค่อยหาลิมิตของลาดับ
√𝑛2 +16𝑛+3+√𝑛2 +2
คูณคอนจูเกต จะได้ 𝑎𝑛 = (√𝑛2 + 16𝑛 + 3 − √𝑛2 + 2) ×
√𝑛2 +16𝑛+3+√𝑛2 +2
(𝑛2 +16𝑛+3)−(𝑛2 +2) 16𝑛+1
= =
√𝑛2 +16𝑛+3+√𝑛2 +2 √𝑛2 +16𝑛+3+√𝑛2 +2
16𝑛 16𝑛 16𝑛
หา nlim

𝑎𝑛 ในรู ปเศษส่วน เราสามารถตัดตัวดีกรี น้อยที่บวกลบอยูไ่ ด้ → เหลือ √𝑛2 +√𝑛2
= 𝑛+𝑛 = 2𝑛
=8

ดังนัน้ nlim

3 3
√𝑎𝑛 = √8 = 2
24 PAT 1 (มี.ค. 57)

21. 2
สมการจานวนเต็ม ต้ องจัดฝั่งหนึง่ เป็ นตัวเลข และแยกตัวประกอบอีกฝั่ง → 𝑥𝑦 − 𝑦 + 4𝑥 = 21
เติม −4 ทังสองฝั
้ ่ง เพื่อให้ ฝั่งซ้ ายแยกตัวประกอบได้ 𝑥𝑦 − 𝑦 + 4𝑥 − 4 = 21 – 4
𝑦(𝑥 − 1) + 4(𝑥 − 1) = 17
(𝑦 + 4)(𝑥 − 1) = 17
จะเห็นว่า 17 แยกเป็ นจานวนเต็ม 2 จานวนคูณกันได้ แค่ (1)(17) , (–1)(–17) , (17)(1) , (–17)(–1)
ทังหมด
้ 4 แบบ และแต่ละแบบจับเท่ากับ (𝑦 + 4)(𝑥 − 1) จะได้ คา่ 𝑥 กับ 𝑦 ทังหมด ้ 4 ชุด
เนื่องจากข้ อนี ้ ไม่ได้ ถามค่า 𝑥, 𝑦 แต่ถามจานวน (𝑥, 𝑦) ดังนัน้ จะได้ คาตอบคือ 4

22. 3
ทานายเกี่ยวกับเวลา และมีข้อมูล 5 ชุด เราจะให้ ตรงกลางเป็ น 0 𝑥 −2 −1 0 1 2
𝑦 1.2 2.6 𝑎 5.4 6.3
ให้ สมการการทานายคือ 𝑦̂ = 𝑐 + 𝑚𝑥
(โจทย์ใช้ ตวั แปร 𝑎 ไปแล้ ว จึงต้ องเปลีย่ นไปใช้ ตวั แปรชื่ออื่น) ดังนัน้ ∑ 𝑦 = 𝑛𝑐 + 𝑚 ∑ 𝑥
∑ 𝑥𝑦 = 𝑐 ∑ 𝑥 + 𝑚 ∑ 𝑥 2
และในการทานายเกี่ยวกับเวลา จะได้ ∑ 𝑥 = 0 เสมอ (เช่น (−2) + (−1) + 0 + 1 + 2 = 0)
จะเหลือระบบสมการคือ ∑ 𝑦 = 𝑛𝑐 …(1)
∑ 𝑥𝑦 = 𝑚 ∑ 𝑥 2 …(2)
∑ 𝑦 จะหาไม่ได้ เพราะไม่ร้ ู 𝑎 แต่ตวั อืน่ ใน (2) จะหาได้ เพราะ 𝑎 จะคูณกับ 0 แล้ วกลายเป็ น 0
จะได้ ∑ 𝑥𝑦 = (−2)(1.2) + (−1)(2.6) + (0)(𝑎) + (1)(5.4) + (2)(6.3)
= (−2.4) + (−2.6) + 0 + 5.4 + 12.6 = 13
∑ 𝑥 2 = (−2)2 + (−1)2 + 02 + 12 + 22 = 4 + 1 + 0 + 1 + 4 = 10

แทนใน (2) จะได้ 13 = 𝑚(10) → 𝑚 = 1.3


จากที่โจทย์ให้ พ.ศ. 2557 จะมี 𝑥 = 2557 – 2552 = 5 และ 1,028,000 = 10.28 แสนคน
ดังนัน้ 10.28 = 𝑐 + 𝑚𝑥 = 𝑐 + 1.3(5) จะได้ 𝑐 = 10.28 – 1.3(5) = 10.28 – 6.5 = 3.78
แทน 𝑐 = 3.78 กลับไปใน (1) โดย 𝑛 = 5 จะได้ ∑ 𝑦 = 5(3.78) = 18.9
ดังนัน้ 𝑎 = 18.9 – (1.2 + 2.6 + 5.4 + 6.3) = 18.9 – 15.5 = 3.4 แสนคน

23. 4
3(sin 𝑥 cos 𝑦 − cos 𝑥 sin 𝑦) = 2(sin 𝑥 cos 𝑦 + cos 𝑥 sin 𝑦)
3sin 𝑥 cos 𝑦 − 3 cos 𝑥 sin 𝑦 = 2 sin 𝑥 cos 𝑦 + 2 cos 𝑥 sin 𝑦
sin 𝑥 cos 𝑦 = 5 cos 𝑥 sin 𝑦
sin 𝑥 cos 𝑦
cos 𝑥 sin 𝑦
= 5
tan 𝑥 cot 𝑦 = 5
tan3 𝑥 cot 3 𝑦 = 53 = 125

24. 2
ก. สบบ.ควอไทล์ = Q3−Q
2
1
= 20 ดังนัน้ Q 3 − Q1 = 40 …(1)
และ สปส.สบบ.ควอไทล์ = Q +Q = 23 แทนค่าจาก (1) จะได้ Q 40
Q3 −Q1
+Q
=3
2
ดังนัน้ Q 3 + Q1 = 60 …(2)
3 1 3 1
(1)+(2)
2
จะได้ Q 3 = 50 แทนใน (2) จะได้ Q1 = 10
PAT 1 (มี.ค. 57) 25

ดังนัน้ มีข้อมูลระหว่าง Q1 (=10) กับ Q3 (=50) อยู่ 2 ควอเตอร์ ซึง่ คิดเป็ น 50% → ก. ถูก
ข. ผลรวมคะแนนชาย = (20)(32) = 640 , ผลรวมคะแนนหญิง = (40)(20) = 800
640+800 ∑(𝑥 −24) 2
มีคนทังหมด
้ 20 + 40 = 60 คน ดังนัน้ 𝑥̅รวม = 60 = 24 ดังนัน้ ความแปรปรวนรวม = 𝑖60 …(∗)
เราจะแยกหา ∑(𝑥𝑖 − 24)2 ของกลุม่ ชาย กับ หญิง แล้ วค่อยเอามาบวกกัน
กลุม่ ชาย : ทัง้ 20 คน ได้ 32 หมดทุกคน → ∑ช(𝑥𝑖 − 24)2 = 20(32 − 24)2 = 20(64) = 1280
2
∑ญ(𝑥𝑖 −𝑥̅ญ ) ∑ญ(𝑥𝑖 −20)2
กลุม่ หญิง : ความแปรปรวนหญิง = 90 ดังนัน้ 𝑁ญ
= 40
= 90 → ∑ญ(𝑥𝑖 − 20)2 = 3600
เนื่องจากเราต้ องหา ∑ญ(𝑥𝑖 − 24)2 มารวมกับของกลุม่ ชาย เพื่อแทนใน (∗) เราจะกระจาย ∑ญ(𝑥𝑖 − 20)2 และจัด
รูปให้ เป็ นตัวที่เราต้ องการ ดังนี ้
เติมทัง้ 2 ฝั่ง ให้ ฝั่งซ้ ายจัดรูปได้ ตวั ที่เราต้ องการ
∑ญ(𝑥𝑖2 − 2(20)𝑥𝑖 + 202 ) = 3600
∑ญ(𝑥𝑖2 − 2(24)𝑥𝑖 + 242 ) = 3600 − ∑ญ 2(4)𝑥𝑖 − ∑ญ 202 + ∑ญ 242
∑ญ(𝑥𝑖 − 24)2 = 3600 − 8∑ญ 𝑥𝑖 + ∑ญ(242 − 202 )
∑ญ 𝑥𝑖 = ผลรวมคะแนนกลุม่ หญิง = 800
และ ∑ญ(242 − 202 ) = ∑ญ(24 − 20)(24 + 20) = ∑ญ(4)(44) = 40(4)(44) (เพราะมี ญ 40 คน)
ดังนัน้ ∑ญ(𝑥𝑖 − 24)2 = 3600 − 8(800) + 40(4)(44) = 3600 − 6400 + 7040 = 4240
รวมกับ 1280 ของกลุม่ ชาย แทนใน (∗) จะได้ 𝑆รวม = 1280+4240
60
=
5520
60
= 92 → ข. ผิด
2
𝑁ช (𝑆ช2 +(𝑥̅ช −𝑥̅รวม )2)+𝑁ญ (𝑆ญ
2 +(𝑥̅ −𝑥̅ ) )
ญ รวม
หมายเหตุ : จะใช้ สตู ร 2
𝑆รวม = 𝑁ช +𝑁ญ
ก็ได้
20(0+(32−24)2 )+40(90+(20−24)2 ) 1280+4240
กลุม่ ชาย ทุกคนเท่ากัน ดังนัน้ 𝑆ช2 = 0 จะได้ 2
𝑆รวม = 20+40
= 60
= 92

25. 1
จานวนคน
ก. ความกว้ างชันไม่
้ เท่ากัน ต้ องใช้ ความกว้ างชัน้
เป็ นตัววัดระดับความหนาแน่น ว่าชันไหนได้
้ รับความนิยมสูงสุด
เงิน คน ขอบล่าง ขอบบน กว้ าง ความนิยม
10,000 – 19,999 5 9,999.5 19,999.5 10,000 5/10,000 = 0.0005
20,000 – 29,999 10 19,999.5 29,999.5 10,000 10/10,000 = 0.0010
30,000 – 49,999 25 29,999.5 49,999.5 20,000 25/20,000 = 0.00125
ลบกัน = 𝑑1
50,000 – 59,999 10 49,999.5 59,999.5 10,000 10/10,000 = 0.0010 ลบกัน = 𝑑2

ชัน้ 3 หนาแน่นสุด ดังนัน้ ฐานนิยมอยูช่ นั ้ 3 ฐานนิยม = 𝐿 + (𝑑 𝑑+𝑑


1
)𝐼
1 2
และจะได้ 𝑑1 = 0.00125 – 0.0010 = 0.00025 0.00025
= 29999.5 + (0.00025+0.00025) (20000)
𝑑2 = 0.00125 – 0.0010 = 0.00025 1
= 29999.5 + (2) (20000)
= 39999.5 → ก. ถูก
50
ข. มัธยฐาน อยูต่ าแหน่งที่ 25=
2 เงินเดือน (บาท) จานวนพนักงาน (คน) 𝐹
สร้ างช่องความถี่สะสม (𝐹) → เกิน 25 (= 40) ทีช่ นที
ั้ ่ 3 10,000 – 19,999 5 5
ดังนัน้ มัธยฐานอยูช่ นที
ั้ ่ 3 20,000 – 29,999 10 15
30,000 – 49,999 25 40
มัธยฐาน = 𝐿 + (ตาแหน่𝑓 ง−𝐹𝐿 ) 𝐼 50,000 – 59,999 10 50
𝑚
25−15
= 29999.5 + ( 25
) (49999.5 − 29999.5)
10
= 29999.5 + (25) (20000) = 37999.5 → ข. ถูก
26 PAT 1 (มี.ค. 57)

26. 4
จะได้ 𝑎2 = 3𝑎1 + 1 = 3(2) + 1
𝑎3 = 3𝑎2 + 1 = 3(3(2) + 1) + 1 = 2(32 ) + 3 + 1
𝑎4 = 3𝑎3 + 1 = 3(2(32 ) + 3 + 1) + 1 = 2(33 ) + 32 + 3 + 1
𝑎5 = 3𝑎4 + 1 = 3(2(3 ) + 3 + 3 + 1) + 1 = 2(34 ) + 33 + 32 + 3 + 1
3 2

จะเห็นว่า 𝑎𝑖 = 2(3𝑖−1) + 3𝑖−2 + 3𝑖−3 + … + 3 + 1


1
3𝑖−2 −(1)( ) 𝑎1 −𝑎𝑛 𝑟
= 2(3 𝑖−1
)+ 1
3 อนุกรมเรขา = 1−𝑟
1−
3
3𝑖−1 −1 5(3𝑖−1 )−1
= 2(3𝑖−1 ) + 2
= 2
5(3𝑖−1 )−1 5 ∑ 3𝑖−1 −∑ 1
จะได้ 𝑆𝑛 = ∑ 𝑎𝑖 = ∑ 2
= 2
…(∗)
1−(3 𝑛−1 )(3) 3𝑛 −1
โดยที่ ∑ 3𝑖−1 = 1 + 3 + … + 3𝑛−1 = 1−3
= 2
และ ∑ 1 = (1)(𝑛) = 𝑛
3𝑛 −1
5( )−𝑛
แทนใน (∗) จะได้ 𝑆𝑛 =
2
2
→ คูณ 4 ตลอด ได้ 4𝑆𝑛 = 5(3𝑛 ) − 5 − 2𝑛 → ตอบข้ อ 4

27. 2
ต้ องจัดรูป (𝐴 + 𝐵)−1 ให้ มี 𝐴−1 กับ 𝐵−1 ในลักษณะคล้ ายๆตัวเลือกทัง้ 4 โดยจะต้ องทาให้ ดงึ ตัวร่วมได้
โดยจะใช้ สมบัตวิ า่ 𝑋 = 𝑋𝐼 = 𝐼𝑋 และ 𝐴𝐴 −1
= 𝐼 = 𝐴−1 𝐴 , 𝐵𝐵−1 = 𝐼 = 𝐵−1 𝐵 ดังนี ้

(𝐴 + 𝐵)−1 = ( 𝐴 𝐼 + 𝐼 𝐵 )−1 (สมบัติของ 𝐼)


= (𝐴(𝐵−1 𝐵) + (𝐴𝐴−1 )𝐵)−1 (สมบัติของอินเวอร์ ส)
= (𝐴𝐵−1 𝐵 + 𝐴𝐴−1 𝐵)−1 (เมทริ กซ์เปลีย่ นกลุม่ การคูณได้ )
−1
= (𝐴(𝐵−1 𝐵 + 𝐴−1 𝐵)) (ดึงตัวร่วม 𝐴 ทางซ้ าย)
= (𝐴(𝐵−1 + 𝐴−1 )𝐵)−1 (ดึงตัวร่วม 𝐵 ทางขวา)
= 𝐵−1 (𝐵−1 + 𝐴−1 )−1 𝐴−1 (กระจายอินเวอร์ ส ต้ องสลับตาแหน่ง)
เมทริ กซ์สลับที่การบวกได้ → จะได้ ตรงกันกับข้ อ 2

28. 1
หาจุดตัดแกน 7𝑥+9𝑦 = 105 ..(2)
และวาดกราฟคร่าวๆ จะได้ ดงั รูป 𝑥+2𝑦 = 20 ..(1) 11 กว่าๆ 7(20)−105 35
7(1) – (2) : 𝑦 = = =7
หาจุดมุม → แก้ (1) กับ (2) 5𝑥+3𝑦 = 15 ..(3) 10 7(2)−9
แทนใน (1) : 𝑥 = 20 – 2(7) = 6
5

จะได้ จดุ มุมคือ (6,7) , (0,5) , (0,10) , 5


(3,0) , (15,0) 3 15 20
2
จาก 3𝐴 = 2𝐵 → 𝐴 = 3
𝐵
ดังนัน้ 𝑃 = (23 𝐵) 𝑥 + 𝐵𝑦 = (2𝑥
3
+ 𝑦) 𝐵 → เอาแต่ละจุดไปแทน แล้ วดูวา่ มากสุด, น้ อยสุด ได้ เท่าไหร่
(6,7) → 𝑃 = (4+7)𝐵 = 11𝐵
(0,5) → 𝑃 = (0+5)𝐵 = 5𝐵
(0,10) → 𝑃 = (0+10)𝐵 = 10𝐵 เนื่องจาก 𝐵 เป็ นบวก ดังนัน้ มากสุด 𝑀 = 11𝐵 , น้ อยสุด 𝑁 = 2𝐵
(3,0) → 𝑃 = (2+0)𝐵 = 2𝐵
(15,0) → 𝑃 = (10+0)𝐵 = 10𝐵
จะได้ 𝑀𝑁 = 11𝐵
2𝐵
11
= 2 → คูณไขว้ จะได้ 2𝑀 = 11𝑁 → ตอบ 1
PAT 1 (มี.ค. 57) 27

29. 4
จะได้ วา่ 𝑒 ต้ องหารด้ วย 5, 4, 3, 2 ลงตัว → 𝑒 น้ อยสุด = ค.ร.น. ของ 5, 4, 3, 2 = 60
แทนค่า 𝑒 = 60 ใน 5𝑎 = 4𝑏 = 3𝑐 = 2𝑑 = 𝑒 จะได้ 𝑎 = 12 , 𝑏 = 15 , 𝑐 = 20 , 𝑑 = 30
เนื่องจาก สปส ในสมการเป็ นบวกหมด ดังนัน้ ถ้ า 𝑒 มากกว่านี ้ จะทาให้ ได้ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ที่มากกว่านี ้ ซึง่ จะทาให้ 𝑎 + 2𝑏 +
3𝑐 + 4𝑑 + 5𝑒 มากยิง่ ขึ ้น ดังนัน้ 𝑒 = 60 จะได้ ผลบวกดังกล่าวน้ อยที่สดุ
ดังนัน้ 𝑎 + 4𝑏 + 3𝑐 + 4𝑑 + 𝑒 = 12 + 4(15) + 3(20) + 4(30) + 60 = 312

30. 2
A, B, C, D จะใช้ เลขคี่ไป 4 ตัว และ E, F, G จะใช้ เลขคูไ่ ป 3 ตัว ดังนัน้ จะเหลือ คี่ 1 ตัว กับ คู่ 2 ตัว ให้ H, I, J
เนื่องจาก A, B, C, D ต้ องเรียงติดกันด้ วย → เลขคี่ที่เหลือให้ H, I, J จะเป็ นได้ แค่ 1 หรื อ 9 เท่านัน้
E, F, G ต้ องเรียงติดกันด้ วย → เลขคูท่ ี่เหลือให้ H, I, J จะเป็ นได้ แค่ 0, 2 หรื อ 6, 8 หรื อ 0, 8 เท่านัน้
จับกลุม่ H, I, J ที่บวกกันได้ 15 จะมีแค่ 1 + 6 + 8 เท่านัน้
จะได้ (H, I, J) = (8, 6, 1) และ (A, B, C, D) = (9, 7, 5, 3) และ (E, F, G) = (4, 2, 0)
ดังนัน้ C + F + I = 5 + 2 + 6 = 13

31. 4

√14 + 3𝑥 − 𝑥 2 = 1 + √9 + 5𝑥 − 𝑥 2 4 − 4𝑥 + 𝑥 2 = 9 + 5𝑥 − 𝑥 2
2
14 + 3𝑥 − 𝑥 2 = 1 + 2√9 + 5𝑥 − 𝑥 2 + 9 + 5𝑥 − 𝑥 2 2𝑥 − 9𝑥 − 5 = 0
4 − 2𝑥 = 2√9 + 5𝑥 − 𝑥 2 (2𝑥 + 1)(𝑥 − 5) = 0
1
2−𝑥 = √9 + 5𝑥 − 𝑥 2 𝑥=− , 5
2

1 3 1 5 1 7 5
ตรวจคาตอบ 𝑥 = − : √14 − − − √9 − −
2 2 4 2 4
=
2

2
= 1 → จริ ง
𝑥 = 5 : √14 + 15 − 25 − √9 + 25 − 25 = 2 − 3 = −1 → ไม่จริ ง
แทนในที่โจทย์ถาม จะได้ = |4+24+36
12+4
|
64
= |16| = 4

32. 5
จากสมบัติของ 𝑧̅ จะได้ 𝑧 ∙ 𝑧̅ = |𝑧|2
ถ้ าแทน |𝑧|2 ในสมการด้ วย 𝑧 ∙ 𝑧̅ จะดึง 𝑧 เป็ นตัวร่วมได้ 3𝑧 ∙ 𝑧̅ − (28 − i)𝑧 + 4𝑧 2 = 0
𝑧(3𝑧̅ − 28 + i + 4𝑧) = 0
จะได้ 𝑧=0 หรื อ3𝑧̅ − 28 + i + 4𝑧 = 0 ให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦i จะได้ 𝑧̅ = 𝑥 − 𝑦i
3(𝑥 − 𝑦i) − 28 + i + 4(𝑥 + 𝑦i) = 0
3𝑥 − 3𝑦i − 28 + i + 4𝑥 + 4𝑦i = 0
(7𝑥 − 28) + (𝑦 + 1)i = 0
𝑥 = 4 และ 𝑦 = −1
จะได้ คาตอบสองค่า คือ 𝑧 = 0 , 4 − i
จะได้ 𝑧+i = i, 4 ดังนัน้ |𝑧 + i| = 1 , 4 ดังนัน้ ผลบวกสมาชิกใน 𝐵 = 1 + 4 = 5
28 PAT 1 (มี.ค. 57)

33. 2
จาก A + B + C = 180° และ B = 45° จะเหลือ A + C = 135° ดังนัน้ A = 135° − C …(∗)

จาก √2𝑐 = (√3 − 1)𝑎 จะได้ 𝑎𝑐 = √3−1 √2


…(1)
แต่จากกฎของ sin จะได้ 𝑎𝑐 = sin
sin C
A
sin C sin C
= sin(135°−C) = sin 135° cos C − cos 135° sin C = √2
sin C
√2
cos C + sin C
2 2
sin C 2
ดึงตัวร่วม ให้ sin C มาตัดกัน จะได้ = √2 cos C
=
√2(cot C + 1)
…(2)
sin C( +1)
2 sin C

ใช้ 𝑎𝑐 เป็ นตัวเชื่อม (1) กับ (2) จะได้√3−1


√2
=
2
√2(cot C + 1)
→ cot C + 1 =
2
√3−1
2 2−√3+1 3−√3 √3(√3−1)
ดังนัน้ cot C = √3−1 −1=
√3−1
ดึง จากเศษ จะได้ = √3−1 = √3
= 3−1 →

√3
เนื่องจาก 0 < C < 180° และ cot C = √3 จะได้ C = 30° แทนใน (∗) จะได้ A = 105°
แทนในที่โจทย์ถาม จะได้ = cos2 30° + cos2 45° + cos 2 30° = 34 + 24 + 34 = 2

34. 5
1
เปลีย่ นตัวแปรก่อน ให้ 𝑥 2 + 𝑥 = 𝑘 จะได้ 2𝑥 2 + 2𝑥 = 2𝑘 → สมการกลายเป็ น log 3 (32𝑘 + 9) = 𝑘 + log 3
และ log1 3 = log1 3 = log 3 10 จะได้ log 3(32𝑘 + 9) = 𝑘 + log 3 10
10
32𝑘 + 9 = 3𝑘 + log3 10 32𝑘 − 10 ∙ 3𝑘 + 9 = 0
32𝑘 + 9 = 3𝑘 ∙ 3log3 10 (3𝑘 − 9)(3𝑘 − 1) = 0
32𝑘 + 9 = 3𝑘 ∙ 10 𝑘=2, 0
ตรวจคาตอบ จะได้ วา่ ทัง้ 2 และ 0 ทาให้ หลัง log เป็ นบวก และได้ สมการทีเ่ ป็ นจริ ง
แทนกลับไปหา 𝑥 จะได้ 𝑥2 + 𝑥 = 2 𝑥2 + 𝑥 = 0
𝑥2 + 𝑥 − 2 = 0 (𝑥)(𝑥 + 1) = 0
(𝑥 + 2)(𝑥 − 1) = 0 𝑥 = 0 , −1
𝑥 = −2 , 1
ดังนัน้ 𝐵 = {4, 1, 0, 1} → ซ ้าคิดเป็ นสมาชิกแค่ตวั เดียว → {4, 1, 0} → ตอบ 4+1+0=5

35. 3

21 ∙ 23 sin 𝑥 − 5 ∙ 22 sin 𝑥 + 22 ∙ 2sin 𝑥 − 1 = 0


2(2sin 𝑥 )3 − 5(2sin 𝑥 )2 + 4(2sin 𝑥 ) − 1 = 0 เปลี่ยนตัวแปร ให้ 𝑘 = 2sin 𝑥
2𝑘 3 − 5𝑘 2 + 4𝑘 − 1 = 0
1
แยกตัวประกอบด้ วยทฤษฎีเศษ แทน 𝑘 = ±1 , ± 2 จะเห็นว่า 𝑘 = 1 จะได้ 2 − 5 + 4 − 1 = 0
1 2 −5 4 −1 หารสังเคราะห์ จะแยกได้ (𝑘 − 1)(2𝑘 2 − 3𝑘 + 1) = 0
2 −3 1 (𝑘 − 1)(2𝑘 − 1)(𝑘 − 1) = 0
2 −3 1 0 1
𝑘 = 1,
2

แทนค่า 𝑘 กลับไปเป็ น 𝑥 ∈ [0, 2𝜋) จะได้ 2sin 𝑥 = 1 2sin 𝑥 = 2


1

sin 𝑥 = 0 sin 𝑥 = −1
𝑥 = 0,𝜋 3𝜋
𝑥 = 2
ดังนัน้ 𝐴 มีสมาชิก 3 ตัว
PAT 1 (มี.ค. 57) 29

36. 153
sin 𝜃 − 2 sin 𝜃 cos 𝜃 + 3 sin 𝜃 − 4 sin3 𝜃 = 0 sin 𝜃 (2 − cos 𝜃 − 2(1 − cos2 𝜃)) = 0
4 sin 𝜃 − 2 sin 𝜃 cos 𝜃 − 4 sin3 𝜃 = 0 sin 𝜃 (2 − cos 𝜃 − 2 + 2 cos2 𝜃) = 0
2 sin 𝜃 − sin 𝜃 cos 𝜃 − 2 sin3 𝜃 = 0 sin 𝜃 (2 cos2 𝜃 − cos 𝜃) = 0
2
sin 𝜃 (2 − cos 𝜃 − 2 sin 𝜃) = 0 sin 𝜃 (cos 𝜃)(2 cos 𝜃 − 1) = 0
𝜋
เนื่องจาก 0<𝜃<2 ดังนัน้ sin 𝜃 กับ cos 𝜃 จะไม่มีทางเป็ น 0 ได้ ดังนัน้ 2 cos 𝜃 − 1 = 0
1 tan 60°−tan 120° √3 − (−√3)
จะได้ cos 𝜃 = 2 → 𝜃 = 60° ดังนัน้ 𝑎 = cos 60°−cos 120° = 1 1
− (− )
= 2√3
2 2
√3 √3
sin 180°+sin 240°+sin 300° 0 + (− ) + (− ) −√3
2 2
𝑏= cos 180°+cos 240°+cos 300°
= 1 1 =
−1
= √3
(−1) + (− ) +
2 2
4 4
ดังนัน้ 4 4
𝑎 + 𝑏 = (2√3) + (√3) = 144 + 9 = 153

37. 3
จะได้ 𝑎𝑛 = 211 + 222 + 233 + … + 2𝑛𝑛 → เป็ นอนุกรมเรขาดัดแปลง ต้ องใช้ เอาตัวมันเองมาหักกับตัวมันเอง ดังนี ้
1 2 3 𝑛−1 𝑛
𝑎𝑛 = 21
+ 22 + 23 + … + 2𝑛−1 + 2𝑛 …(1) คูณ 2 ตลอด และเลื่อนให้
2 3 4 𝑛
2𝑎𝑛 = 1 + 21 + + 23 + … + 2𝑛−1 …(2) ตัวส่วนตรงกับสมการแรก
22
1 1 1 1 𝑛
(2) – (1) : 𝑎𝑛 = 1 + 21 + 22
+ 23 + … + 2𝑛−1 − 2𝑛
(1 𝑛)
(1)(1 − 𝑛 )
1
𝑛
อนุกรมเรขา = 𝑎1 1 −−𝑟𝑟
2
𝑎𝑛 = 1 − 2𝑛
1−
2
2 𝑛
𝑎𝑛 = 2 − 2𝑛 − 2𝑛
2 𝑛 6 3𝑛
จะได้ 2𝑛 (6 − 3𝑎𝑛 ) = 2𝑛 (6 − 3 (2 −
2𝑛

2𝑛
)) = 2𝑛 (6 − 6 +
2𝑛
+
2𝑛
)= 6 + 3𝑛
2𝑛 (6−3𝑎
𝑛) 6+3𝑛 3𝑛
ดังนัน้ nlim
  √𝑛2 +5𝑛+1
= lim
n   √𝑛2 +5𝑛+1
= lim
n   √𝑛2
= lim 3 = 3
n

38. 12
จะได้ 𝑓(1) = 1 + 𝑎 + 𝑏 และจาก 𝑓(1) = 2 จะได้ 1 + 𝑎 + 𝑏 = 2 → 𝑎 + 𝑏 = 1 …(∗)
จะได้ (𝑓 ∘ 𝑓)(0) = 𝑓(𝑓(0)) = 𝑓(0 + 0 + 𝑏) = 𝑓(𝑏) = 𝑏2 + 𝑎𝑏 + 𝑏 = 𝑏(𝑏 + 𝑎) + 𝑏
= 𝑏( 1 ) + 𝑏 = 2𝑏
และจาก (𝑓 ∘ 𝑓)(0) = 10 จะได้ 2𝑏 = 10 → 𝑏 = 5 แทนใน (∗) จะได้ 𝑎 = −4
2 2
𝑥3 2
ดังนัน้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =  𝑥 2 − 4𝑥 + 5 𝑑𝑥 =
3
− 2𝑥 2 + 5𝑥 |
1 1 −1
8 1
= (3 − 8 + 10) − (− 3 − 2 − 5) = 12
30 PAT 1 (มี.ค. 57)

39. 8
จาก (2) : 𝑛𝑎 ∈ (0, 1] จะได้ 0 < 𝑛𝑎 ≤ 1 คูณ 𝑎 ตลอด ได้ 0 < 𝑛 ≤ 𝑎 …(5)
จาก (3) : 𝑎𝑏 ∈ (1, 2] จะได้ 1 < 𝑎𝑏 ≤ 2 คูณ 𝑏 ตลอด ได้ 𝑏 < 𝑎 ≤ 2𝑏 …(6)
จาก (4) : 𝑛𝑏 ∈ (2, 3] จะได้ 2 < 𝑛𝑏 ≤ 3 คูณ 𝑛 ตลอด ได้ 2𝑛 < 𝑏 ≤ 3𝑛 …(7)
จะเห็นว่า ถ้ า (6) กับ (7) จริ ง จะทาให้ (5) จริ งเสมออยูแ่ ล้ ว
เพราะ จาก (7) จะได้ 2𝑛 < 𝑏 และ จาก (6) จะได้ 𝑏 < 𝑎 ดังนัน้ 2𝑛 < 𝑎 แต่ 𝑛 < 2𝑛 ดังนัน้ 𝑛<𝑎
ซึง่ ทาให้ เงื่อนไข (5) จริ งเสมอ ดังนัน้ เราทาให้ (6) กับ (7) จริ งก็พอ ไม่ต้องสนใจ (5)
ปลาย−ต้ น
จาก (6) ค่า 𝑎 จะเป็ นได้ ตงแต่
ั้ 𝑏 + 1 , 𝑏 + 2 , 𝑏 + 3 , … , 2𝑏 ซึง่ มีทงหมด
ั้ = ห่าง
+1
2𝑏−(𝑏+1)
= 1
+ 1 =𝑏 แบบ
ดังนัน้ 𝑏 แต่ละค่า จะมี 𝑎 ที่สอดคล้ องอยู่ 𝑏 แบบ ….(∗)
จาก (7) ค่า 𝑏 จะเป็ นไปได้ ตงแต่
ั ้ 2𝑛 + 1 , 2𝑛 + 2 , 2𝑛 + 3 , … , 3𝑛
จาก (∗) : ถ้ า 𝑏 = 2𝑛 + 1 จะมี 𝑎 ที่สอดคล้ อง = 2𝑛 + 1 แบบ
ถ้ า 𝑏 = 2𝑛 + 2 จะมี 𝑎 ที่สอดคล้ อง = 2𝑛 + 2 แบบ
⋮ จานวนพจน์ = ปลายห่า−ง ต้ น + 1
ถ้ า 𝑏 = 3𝑛จะมี 𝑎 ที่สอดคล้ อง = 3𝑛 แบบ =
3𝑛−(2𝑛+1)
+1
1
รวมทุกๆแบบจาก 𝑏 ในทุกๆกรณี จะได้ = (2𝑛 + 1) + (2𝑛 + 2) + … + 3𝑛 = 𝑛
𝑛
𝑛
= 2 (2𝑛 + 1 + 3𝑛) แทนในสูตร 𝑆𝑛 = (𝑎1 + 𝑎𝑛 )
2
𝑛
= (5𝑛 + 1)
2
𝑛
โจทย์ต้องการให้ จานวนแบบ = 164 ดังนัน้ 2
(5𝑛 + 1) = 164
2
5𝑛 + 𝑛 − 328 = 0
(5𝑛 + 41)(𝑛 − 8) = 0
แต่ 𝑛 ต้ องเป็ นเต็มบวก → 𝑛=8

40. 21
จาก 𝑥̅ = ∑𝑁𝑥𝑖 จะได้ 𝑎+3+5+7+𝑏
5
= 7 → 𝑎 + 𝑏 = 20 …(1)
∑ 𝑥𝑖2 𝑎 2 +32 +52 +72 +𝑏2
จาก 𝑠=√ 𝑁
− 𝑥̅ 2 จะได้ √
5
− 72 = 2√10
2
𝑎 +83+𝑏 2

5
− 49 = 40
2 2
𝑎 +𝑏 = 5(89) – 83 = 362 …(2)
จาก (1) จะได้ 𝑎 = 20 – 𝑏 แทนใน (2) จะได้ (20 − 𝑏)2 + 𝑏 2 = 362
400 − 40𝑏 + 𝑏 2 + 𝑏 2 = 362
𝑏 2 − 20𝑏 + 19 = 0
(𝑏 − 1)(𝑏 − 19) = 0
แต่ 𝑏 เรี ยงอยูห่ ลัง 7 ดังนัน้ 𝑏 > 7 ดังนัน้ 𝑏 = 19 ได้ คา่ เดียว → แทนใน (1) จะได้ 𝑎=1
ดังนัน้ 2𝑎 + 𝑏 = 2(1) + 19 = 21
PAT 1 (มี.ค. 57) 31

41. 15.87
วิชาคณิตศาสตร์ : P88.49 จะเลย P50 ไป 38.49% จะวาดได้ ดงั รูป 0.3849
เปิ ดตาราง จะได้ 𝑧 = 1.2
วิชาคณิตศาสตร์ มี 𝑥̅ = 63 , 𝑠 = √25 = 5 𝑍

แปลงกลับเป็ น 𝑥 ด้ วยสูตร 𝑥−𝑥̅ 𝑠


𝑥−63
= 𝑧 จะได้ 5 = 1.2 → 𝑥 = 6 + 63 = 69
ดังนัน้ วิชาภาษาอังกฤษ ได้ คะแนน 69 คะแนนด้ วย
ภาษาอังกฤษ มี 𝑥̅ = 72 , 𝑠 = √9 = 3 ดังนัน้ 𝑧 = 69−72 3
= −1 0.3413
𝑧 เป็ นลบ จะอยูท ่ างซ้ าย
𝑍
ต้ องเปิ ดตารางที่ 𝑧 = 1 ได้ พื ้นที่ = 0.3413 แล้ วสะท้ อนมาทางซ้ าย ดังรูป −1

จะเหลือพื ้นที่ทางฝั่งซ้ าย = 0.5 – 0.3413 = 0.1587


ดังนัน้ มีคนได้ องั กฤษน้ อยกว่านักเรี ยนคนนี ้ 15.87% → คะแนนอังกฤษของเขา = เปอร์ เซ็นไทล์ที่ 15.87

42. 100
อินทิเกรต 𝑓 ′′ (𝑥) จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = 3𝑥 + 3𝑥 2 + 𝑐 …(1)
จากความชันที่ 𝑥 = 2 คือ 20 ดังนัน้ 𝑓 ′(2) = 20 แทนใน (1) จะได้ 3(2) + 3(22 ) + 𝑐 = 20
แก้ สมการ จะได้ 𝑐 = 2 แทนใน (1) จะได้ 𝑓 ′(𝑥) = 3𝑥 + 3𝑥 2 + 2
3𝑥 2
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥) ต่ออีกรอบ ได้ 𝑓(𝑥) = 2
+ 𝑥 3 + 2𝑥 + 𝑑 …(2)
3(22 )
จาก 𝑓 ผ่านจุด (2, 22) จะได้ 𝑓(2) = 22 แทนใน (2) จะได้ 2
+ 23 + 2(2) + 𝑑 = 22
3𝑥 2
แก้ สมการ จะได้ 𝑑=4 แทนใน (2) จะได้ 𝑓(𝑥) =
2
+ 𝑥 3 + 2𝑥 + 4
3(42 )
ดังนัน้ lim
x4
𝑓(𝑥) = 2
+ 43 + 2(4) + 4 = 24 + 64 + 8 + 4 = 100

43. 721
จาก 𝑓(3) = 0 จะได้ 33 + 𝑎(32 ) + 𝑏(3) + 3 = 0 → ÷3 ตลอด แล้ วจัดรูปได้ 3𝑎 + 𝑏 + 10 = 0 …(1)
จากเศษ 5 ใช้ ทฤษฎีเศษจะได้ 𝑓(2) = 5 ดังนัน้ 23 + 𝑎(22 ) + 𝑏(2) + 3 = 5
ย้ าย 5 มาลบ , ÷2 ตลอด แล้ วจัดรูปได้ 2𝑎 + 𝑏 + 3 = 0 …(2)
(1) − (2) : 𝑎 + 7 = 0 → 𝑎 = −7 แทนใน (2) จะได้ 𝑏 = −3 − 2(−7) = 11
ดังนัน้ (𝑔 ∘ 𝑓)(1) = 𝑔(𝑓(1)) = 𝑔(13 − 7(12 ) + 11(1) + 3) = 𝑔(8) = 11(82 ) + 3(8) − 7
= 704 + 24 – 7 = 721

44. 22
หาสูตรพจน์ทวั่ ไปของหน้ าที่มคี าผิดก่อน โดยคาว่า “เว้ นไป 𝑘 หน้ า” จะเหมือนกับ “ถัดไป 𝑘 + 1 หน้ า”
ผิดคาแรกที่หน้ าที่ 1 → 𝑎1 = 1 = 1
เว้ น 1 หน้ า = ถัดไป 2 หน้ า = หน้ าที่ 1 + 2 = 3 → 𝑎2 = 1 + 2 = 1 + 2(1)
เว้ น 3 หน้ า = ถัดไป 4 หน้ า = หน้ าที่ 1 + 2 + 4 = 7 → 𝑎3 = 1 + 2 + 4 = 1 + 2(1 + 2)
เว้ น 5 หน้ า = ถัดไป 6 หน้ า = หน้ าที่ 1 + 2 + 4 + 6 = 13 → 𝑎4 = 1 + 2 + 4 + 6 = 1 + 2(1 + 2 + 3)
(𝑛−1)((𝑛−1)+1)
จะได้ 𝑎𝑛 = 1 + 2(1 + 2 + 3 + … + 𝑛 − 1) = 1 + 2( 2
) = 1 + (𝑛 − 1)(𝑛)
32 PAT 1 (มี.ค. 57)

แต่หนังสือมีแค่ 500 หน้ า เราต้ องหา 𝑛 ที่มากที่สดุ ที่ 𝑎𝑛 ≤ 500


แทนสูตร 𝑎𝑛 จะได้ 1 + (𝑛 − 1)(𝑛) ≤ 500 → (𝑛 − 1)(𝑛) ≤ 499
จะเห็นว่า 𝑛 − 1 กับ 𝑛 เป็ นสองจานวนเรี ยงติดกัน และจาก √499 ~ √500 = 10√5 ~ (10)(2.23) = 22.3
ดังนัน้ สองจานวนเรี ยงติดกันมากสุดที่คณ
ู กันแล้ ว ≤ 499 จะอยูแ่ ถวๆ 22.3
ลองคูณ (22)(23) จะได้ 506 → เกิน
(21)(22) จะได้ 462 → ใช้ ได้ ดังนัน้ (𝑛 − 1)(𝑛) คือ (21)(22) จะได้ 𝑛 = 22
ดังนัน้ 𝑛 มากสุด ที่ 𝑎𝑛 ≤ 500 คือ 𝑛 = 22 ดังนัน้ จะมีคาผิดได้ 22 คา

45. 152
ให้ มีสขี าว แดง เหลือง = W, R, Y ลูก ตามลาดับ
จากข้ อมูลที่โจทย์ให้ จะได้ W ≥ R และ W ≤ Y3 และ W + R ≥ 76 โดยโจทย์ถามว่า W + Y ≥ ?
จาก W ≥ R จะได้ W – R ≥ 0 เอามาบวกกับสมการ W + R ≥ 76 จะได้ 2W ≥ 76 → W ≥ 38
และจาก W ≤ Y3 จะได้ Y ≥ 3W ≥ 3(38) = 114 ดังนัน้ W + Y ≥ 38 + 114 = 152
และจะเห็นว่า W = 38 , Y = 114 , R = 38 สามารถทาให้ ทกุ เงื่อนไขในโจทย์เป็ นจริ งได้
ดังนัน้ สีขาวกับสีเหลืองรวมกัน ต้ องมีอย่างน้ อย 152 ลูก

เครดิต
ขอบคุณ คุณ สนธยา เสนามนตรี , คุณ พชร อูบนุ ตู้ สาหรับข้ อสอบนะครับ
ขอบคุณ คุณ Mean Sattabongkot ที่ช่วยบอกจุดผิดในข้ อสอบ
ขอบคุณ คุณ Piyapan Sujarittham และ คุณ Terasut Numwong ที่ช่วยตรวจทานและแจ้ งจุดผิดในเฉลย
ขอบคุณ เฉลยของ คุณ GTP Ping และ คุณ Oui The Tutor ที่ผมใช้ ดเู ป็ นแนวทางในการทาเฉลยด้ วย

You might also like