You are on page 1of 43

PAT 1 (ก.พ.

62) 1
29 Dec 2020

PAT 1 (ก.พ. 62)


รหัสวิชา 71 วิชา ความถนัดทางคณิตศาสตร์ (PAT 1)
วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 13.00 - 16.00 น.

ตอนที่ 1 ข้อ 1 - 30 ข้อละ 6 คะแนน


1. กาหนดให้ 𝑃 แทน 267 < 530 และ 𝑄 แทน 269 > 531
ประพจน์ (𝑄 ↔ ~𝑃) → 𝑄 มีคา่ ความจริงตรงกับค่าความจริงของประพจน์ในข้อใดต่อไปนี ้
1. (𝑄 ∧ 𝑃) → 𝑃 2. (𝑃 ↔ 𝑄) → (𝑃 ∧ 𝑄) 3. (~𝑄 → 𝑃) → 𝑄
4. (𝑃 ↔ ~𝑄) ∧ 𝑃 5. 𝑃 ↔ (~𝑄 ∧ 𝑃)

2. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ประพจน์ ∃𝑥[4𝑥 + 2𝑥 = 72] มีคา่ ความจริงเป็ นจริง


เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็ นเซตในข้อใดต่อไปนี ้
1. { 𝑥 ∈ ℝ | |2𝑥 − 3| ≤ 7 } 2. { 𝑥 ∈ ℝ | |3𝑥 − 2| > 7 } 3. { 𝑥 ∈ ℝ | 𝑥 2 + 8 = 6𝑥 }
4. { 𝑥 ∈ ℝ | |𝑥 − 3| > 1 } 5. { 𝑥 ∈ ℝ | |𝑥 + 1| < 3 }

3. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนเต็มทัง้ หมดที่สอดคล้องกับอสมการ |𝑥 2 − 2𝑥| − 𝑥 ≤ 4


จานวนสมาชิกของเพาเวอร์เซตของ 𝐴 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4 2. 8 3. 16 4. 32 5. 64
2 PAT 1 (ก.พ. 62)

4. เซตคาตอบของอสมการ 22𝑥+1 + 32𝑥+1 ≤ 5(6𝑥 ) เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี ้


1. (−∞, −3) ∪ (3, ∞) 2. (−∞, −3) ∪ (−1, 3) 3. (−5, −1) ∪ (0, 5)
4. (−3, 0) ∪ (1, ∞) 5. (−2, 1) ∪ (3, ∞)

5. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง
ให้ 𝑓 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑦 + 𝑥 = |𝑥| } และ 𝑔 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑦 − 𝑥 = |𝑥| }
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) 𝑔 ∘ (𝑓 ∘ 𝑔) = (𝑓 ∘ 𝑔) ∘ 𝑔
(ข) (𝑔 ∘ 𝑓) − 𝑓 = (𝑓 ∘ 𝑔) + 𝑓
(ค) 𝑓 ∘ (𝑓 ∘ 𝑔) = 𝑓𝑔
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

6. ค่าของ arccos (sin 17𝜋


7
10𝜋
) − arcsin (sin ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
7
1. − 5𝜋14
2. 𝜋
14
3. 2𝜋
7
4. 𝜋2 5. 3𝜋
2
PAT 1 (ก.พ. 62) 3

7. ถ้า 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับสมการต่อไปนี ้


2
(𝑥 + 𝑦)3𝑦−𝑥 =
9
และ 2 log 2(𝑥 + 𝑦) = 𝑥 − 𝑦
แล้วค่าของ 𝑥 + 𝑦 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2 2

1. 4 2. 8 3. 9 4. 10 5. 16

8. ให้พาราโบลารูปหนึง่ มีสมการ 𝑦 = 𝑥 2 + 1 สร้างรูปสามเหลีย่ ม ABC โดยที่จดุ A เป็ นจุดยอดของพาราโบลา


จุด B(𝑥, 𝑦) และจุด C(2, 5) เป็ นจุดบนพาราโบลา ถ้ามุม AB̂C เป็ นมุมฉาก แล้วพืน้ ที่ของรูปสามเหลีย่ ม ABC
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 2√2 ตารางหน่วย 2. 3 ตารางหน่วย 3. 3√2 ตารางหน่วย
4. 4 ตารางหน่วย 5. 4√3 ตารางหน่วย

(𝑎+𝑏)2
9. กาหนดให้ 𝑎 = cos 15° + cos 50° และ 𝑏 = sin 15° + sin 50° ค่าของ 𝑎 2 +𝑏2
ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1 + cos 25° 2. 1 + cos 35° 3. 1 + cos 65°
4. 1 + cos 75° 5. 1 + cos 85°
4 PAT 1 (ก.พ. 62)

10. ให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นเส้นโค้งผ่านจุด (0, 1) และจุด (1, 1) และเส้นสัมผัสของเส้นโค้งที่จดุ (𝑥, 𝑦) ใดๆ มีความชัน
เท่ากับ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑓 ′ (0) = 1 และ 𝑓 ′′(1) = 2 แล้วฟั งก์ชนั 𝑓 มี
ค่าสูงสุดสัมพัทธ์เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1127
2. 13
27
3. 31
27
4. 34 27
5. 43 27

11. กล่องใบหนึง่ มีลกู บอลขนาดเดียวกัน 3 สี สีละ 𝑛 ลูก เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวก สุม่ หยิบลูกบอล 3 ลูกจากกล่องนี ้
โดยหยิบทีละลูก แบบไม่ใส่กลับคืนลงในกล่อง ถ้าความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู บอลสีละลูก เท่ากับ 25 แล้วความน่าจะ
เป็ นที่จะได้ลกู บอล 3 ลูกโดยมีเพียง 2 สีเท่านัน้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2 4 7 8
1. 15 2. 15 3. 15 4. 15 5. 159

12. เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนเต็มบวกที่แตกต่างกันและสอดคล้องกับอสมการต่อไปนี ้


(ก) log 2 𝑎 < log 2 𝑏
(ข) 2𝑏 × 3𝑑 > 2𝑑 × 3𝑏
(ค) 6𝑎 − 9𝑐 > 3𝑐 (2𝑎 − 3𝑎 )
ผลบวกในข้อใดต่อไปนี ้ ที่มีคา่ มากที่สดุ
1. 𝑎 + 𝑏 2. 𝑏 + 𝑑 3. 𝑎+𝑐 4. 𝑐+𝑑 5. 𝑎+𝑑
PAT 1 (ก.พ. 62) 5

13. ลูกอมรสนม ราคาเม็ดละ 5 บาท และลูกอมรสนา้ ผึง้ ราคาเม็ดละ 7 บาท ต้องการซือ้ ลูกอมทัง้ สองรสเป็ นเงิน
ทัง้ สิน้ 287 บาท (โดยมีลกู อมรสนมอย่างน้อย 1 เม็ดและลูกอมรสนา้ ผึง้ อย่างน้อย 1 เม็ด) พิจารณาข้อความต่อไ่ ปนี ้
(ก) จานวนวิธีที่ได้ลกู อมทัง้ สองรส มีทงั้ หมด 9 วิธี
(ข) ได้จานวนลูกอมทัง้ สองรส อย่างน้อย 43 เม็ด
(ค) ได้ลกู อมทัง้ สองรส มีจานวนมากที่สดุ 57 เม็ด
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ

14. วงกลมวงหนึง่ มีสมการเป็ น 𝑥 2 + 𝑦 2 − 4𝑥 − 2𝑦 + 1 = 0 และสัมผัสกับแกน 𝑦 ที่จดุ P


ให้ L เป็ นเส้นตรงผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมและขนานกับเส้นตรง 2𝑥 − 2𝑦 = 1
ระยะระหว่างจุด P กับเส้นตรง L เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
√2 3√2
1. √5
5
2. 2
3. √2 4. 2
5. √5

15. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรู ปสามเหลีย่ ม โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶


เท่ากับ 𝑎 หน่วย 𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลาดับ ถ้า 𝑏 = 𝑎(√3 − 1) และมุม 𝐶 มีขนาด 30°
แล้วค่าของ sin 3𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
√3 √2 √2 √3
1. − 2
2. − 2
3. 1 4. 2
5. 2
6 PAT 1 (ก.พ. 62)

16. กาหนดให้ H เป็ นไฮเพอร์โบลา ซึง่ มีสมการเป็ น 𝑥 2 − 3𝑦 2 − 3 = 0 และให้ F เป็ นโฟกัสของไฮเพอร์โบลา H ที่
อยูท่ างขวาของจุด (0, 0) ให้ E เป็ นวงรีทมี่ ีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (0, 0) และโฟกัสอยูท่ ี่ F โดยที่จดุ (0, 0) และจุด F อยู่
ทางซ้ายของจุดศูนย์กลางของวงรี E ถ้าผลต่างของความยาวแกนเอกและความยาวแกนโท เท่ากับ 2 แล้วความ
เยือ้ งศูนย์กลางของวงรี E ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.5 5. 0.6

17. กาหนดให้ 𝐴 = [1 5] , 𝐵 = [−2 0 2


0
] และ 𝐶 เป็ นเมทริกซ์ทม
ี่ ีมิติ 2 × 2 ที่สอดคล้องกับ 𝐶𝐴 = 𝐴𝐵
1 1
ถ้า 𝑥 เป็ นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ det(𝐶 2 + 𝑥𝐵) = −20
แล้วค่าของ 𝑥 2 + 𝑥 + 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 3 2. 7 3. 13 4. 21 5. 31

18. ให้ 𝑛(𝑆) แทนจานวนสมาชิกของเซต 𝑆 ถ้า 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นเซต โดยที่ 𝑛(𝐴) = 10 , 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) = 4 ,
𝑛(𝐴 ∩ 𝐶) = 3 และ 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶) = 18 แล้ว ค่ามากที่สดุ ที่เป็ นไปได้ของ 𝑛(𝐵 ∪ 𝐶) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 10 2. 12 3. 13 4. 14 5. 15
PAT 1 (ก.พ. 62) 7

19. ให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์บนระนาบ โดยที่ 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅ และ มุมระหว่างเวกเตอร์ 𝑎̅ กับ 𝑏̅ เท่ากับ 60°
ถ้าขนาดของเวกเตอร์ 𝑎̅ และเวกเตอร์ 𝑏̅ เท่ากับ 2 หน่วย และ 1 หน่วย ตามลาดับ
แล้วมุมระหว่างเวกเตอร์ 𝑏̅ กับเวกเตอร์ 𝑐̅ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
𝜋 2 3 𝜋 3
1. 2
+ arccos
√7
2. 𝜋 − arcsin √
7
3. 2
+ arcsin √
7
√3 2𝜋 √3
4. 𝜋− arccot 2 5. 3
+ arctan 2

20. ให้ 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้อน โดยที่ |𝑧 − 2 + 𝑖| = |𝑧 + 2 − 2𝑖| และ |𝑧 + 1| = |𝑧 + 𝑖|


เมื่อ |𝑧| แทนค่าสัมบูรณ์ของ 𝑧 ค่าของ |2𝑧|2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 10 2. 12 3. 15 4. 18 5. 32

21. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับเรขาคณิตของจานวนจริง โดยที่ มีผลบวก 5 พจน์แรกเป็ น 275


 
1
ถ้า  𝑎𝑛 = 243 แล้วค่าของ  2 𝑛−1 𝑎𝑛 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n 1 n 1

1. 0 2. 60.75 3. 121.5 4. 303.75 5. 607.5


8 PAT 1 (ก.พ. 62)

22. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นพหุนามกาลังสอง ซึง่ มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจานวนจริง ถ้าเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่านจุด (2, 2)
2
และมีจดุ สูงสุดสัมพัทธ์ที่จดุ (1, 3) แล้วค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1
16
1. 7 2. 6 3. 3
4.14
3
5. 8
3

23. ให้ 𝑎̅ และ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วย ถ้า 𝑎̅ + 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วย
แล้วขนาดของเวกเตอร์ 𝑎̅ × 𝑏̅ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 √2 √3
1. 0 2. 2
3. 2
4. 2
5. 1

24. ผลการสอบของนักเรียนห้องหนึง่ มีการแจกแจงความถี่ ดังนี ้


คะแนน ความถี่
เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็มบวก 30 – 39 2
ถ้าควอร์ไทล์ที่ 1 (𝑄1) ของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 54.5 40 – 49 5
50 – 59 8
แล้วนักเรียนทัง้ หมดในห้องนี ้ มีจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ 60 – 69 7
1. 36 คน 2. 40 คน 70 – 79 𝑎
80 – 89 𝑏
3. 44 คน 4. 48 คน 90 – 99 𝑐
5. 52 คน
PAT 1 (ก.พ. 62) 9

25. กาหนดข้อมูลของประชากรชุดหนึง่ ดังนี ้ 2 , 2 + 𝑑 , 2 + 2𝑑 , 2 + 3𝑑 , … , 2 + 30𝑑


เมื่อ 𝑑 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้าความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับ 320 แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนี ้
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 24.5 2. 32 3. 39.5 4. 47 5. 54.5

26. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ทีม่ ีอนุพนั ธ์และสอดคล้องกับ
𝑓(𝑥 + ℎ) − 𝑓(𝑥) = 2ℎ + (6𝑥 + 1)ℎ2 + 2𝑥(3𝑥 + 1)ℎ สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 และ ℎ
3

ถ้าค่าต่าสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ากับ 4 แล้วค่าของ 𝑓(2) + 𝑓(− 12) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 28 2. 32 3. 34 4. 36 5. 40

27. กาหนดให้ 𝕀 แทนเซตของจานวนเต็ม ถ้า 𝑓 : 𝕀 → 𝕀 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(5) = 16


𝑓(𝑛 − 2) + 2𝑛 เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนคี่
และ 𝑓(𝑛) = {
𝑓(𝑛 + 1) − 𝑛 เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนคู่
3
แล้วค่าของ  𝑓(𝑛) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n3

1. 8 2. 10 3. 12 4. 15 5. 24
10 PAT 1 (ก.พ. 62)

28. กาหนดตารางแสดงพืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง 𝑧 ดังนี ้


𝑧 1.30 1.40 1.50 1.60 1.70
พืน้ ที่ไต้เส้นโค้ง 0.4032 0.4192 0.4332 0.4452 0.4545

ความสูงของนักเรียนกลุม่ หนึง่ มีการแจกแจงปกติ โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 162 เซนติเมตร


ถ้านักเรียนที่มีความสูงน้อยกว่า 155 เซนติเมตรมีอยู่ 8.08% แล้วนักเรียนทีม่ ีความสูง
ในช่วง 155 – 170 เซนติเมตร มีจานวนคิดเป็ นร้อยละเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 82.24 2. 83.84 3. 85.24 4. 86.44 5. 87.46

29. กาหนดให้สมการจุดประสงค์ 𝑃 = 𝑎𝑥 + 𝑏𝑦 เมื่อ 0 < 𝑎 < 𝑏 ≤ 2𝑎 และอสมการข้อจากัด ดังนี ้


𝑥 + 3𝑦 ≤ 12
𝑥+𝑦 ≥ 4
3𝑦 − 𝑥 ≥ 6
และ 𝑥 ≥ 0 , 𝑦≥0
ถ้าค่ามากที่สดุ ของ 𝑃 เท่ากับ 15 และค่าน้อยที่สดุ ของ 𝑃 เท่ากับ 10.5
แล้วค่าของ 𝑎2 + 𝑏2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 10 3. 13 4. 20 5. 25
PAT 1 (ก.พ. 62) 11

30. จากการสอบถามพนักงานบริษัทแห่งหนึง่ จานวน 𝑛 คน ที่มีเงินเดือนตัง้ แต่ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท
เกี่ยวกับเงินออมต่อเดือน ดังนี ้
พนักงาน เงินเดือน (หมื่นบาท) เงินออม (พันบาท)
คนที่ (𝑎) (𝑏)
1 𝑎1 𝑏1
2 𝑎2 𝑏2
3 𝑎3 𝑏3
⋮ ⋮ ⋮
𝑛 𝑎𝑛 𝑏𝑛

โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตของเงินเดือนเท่ากับ 64,000 บาท ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของเงินออมเท่ากับ 2,000 บาท


และความสัมพันธ์ระหว่างเงินเดือนและเงินออมเป็ นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั แบบเส้นตรง
ถ้าพนักงานมีเงินออม เดือนละ 1,000 บาท ประมาณได้วา่ พนักงานคนนีม้ เี งินเดือน 26,000 บาท
แล้วถ้าพนักงานมีเงินออม เดือนละ 1,500 บาท จะประมาณได้วา่ เขามีเงินเดือนเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 39,000 บาท 2. 45,000 บาท 3. 52,000 บาท
4. 58,000 บาท 5. 65,000 บาท

ตอนที่ 2 ข้อ 31 - 45 ข้อละ 8 คะแนน


2𝑥+3 𝑥−2
31. ให้ 𝐴 แทนเซตของจานวนจริงทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ √
𝑥−2
+ 3√2𝑥+3 = 4
ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่นอ้ ยสุดในเซต 𝐴 และ 𝑏 เป็ นจานวนที่มากที่สดุ ในเซต 𝐴
แล้ว 𝑎2 + 𝑏2 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
12 PAT 1 (ก.พ. 62)

32. คนกลุม่ หนึง่ มีผชู้ าย 10 คนและผูห้ ญิง 7 คน โดยมีนาย ก. และนาย ข. รวมอยูด่ ว้ ย จะมีกี่วิธีในการเลือก
คณะกรรมการ 6 คน จากคนกลุม่ นี ้ ประกอบด้วย ผูช้ ายอย่างน้อย 2 คน และผูห้ ญิงอย่างน้อย 3 คน โดยมีเงื่อนไขว่า
นาย ก. และ นาย ข. จะเป็ นกรรมการพร้อมกันไม่ได้

33. ให้ 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับเลขคณิตของจานวนจริงบวก โดยมีผลบวก 𝑛 พจน์แรกของลาดับ


เท่ากับ 3𝑛2 + 2𝑛 สาหรับ 𝑛 = 1, 2, 3, … ถ้า 12 𝑎2 + 212 𝑎22 + 213 𝑎23 + … + 2110 𝑎210 = 𝑚
แล้วจานวนเต็มบวกที่มากที่สดุ ทีน่ อ้ ยกว่า 𝑚 เท่ากับเท่าใด

34. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก โดยที่มมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก และมุม A สอดคล้องกับสมการ
2 cos 2𝐴 − 8 sin 𝐴 + 3 = 0 ให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶
ตามลาดับ ถ้า 𝑎 + 𝑐 = 30 แล้วค่าของ 𝑎 sin 𝐴 + 𝑏 sin 𝐵 เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (ก.พ. 62) 13

35. กาหนดให้ และให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นสับเซตของ 𝑈 โดยที่


𝑈 = { 1, 2, 3, … , 10 } 𝐴 ∩ 𝐵 = { 1, 9 } ,
(𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴) = { 2, 3, 4, 5, 8, 10 } และ 𝑈 − 𝐴 = { 3, 5, 6, 7 }
จานวนสมาชิกของเซต 𝐴 × 𝐵 เท่ากับเท่าใด

36. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓:ℝ→ℝ และ 𝑔 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชน



𝑥−2 ; 𝑥≤4 𝑥+2 ; 𝑥<1
โดยที่ 𝑓(𝑥) = {
3𝑥 − 10 ; 𝑥 > 4
และ 𝑔(𝑥) = {1
(𝑥 + 5) ; 𝑥 ≥ 1
2
ถ้า (𝑓 ∘ 𝑔−1 )(𝑥) = 2 แล้ว 𝑥 เท่ากับเท่าใด

37. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนจริงบวก 𝑥 ทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ (log 3 9𝑥)2 − 3 log √3 𝑥 − 7 = 0


ผลคูณของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝐴 เท่ากับเท่าใด
14 PAT 1 (ก.พ. 62)

38. กาหนดให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ที่นยิ ามโดย 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 𝑥 + 𝑎 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 + 𝑏𝑥 สาหรับทุก
จานวนจริง 𝑥 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม ถ้า (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
แล้ว 𝑓(𝑏) + 𝑔(𝑎) เท่ากับเท่าใด


𝑥 𝑥+√1+𝑥
39. ค่าของ lim 3
x0 √8+𝑥 − 2
เท่ากับเท่าใด

40. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจานวนจริงจัดเรียงกันเป็ นลาดับเรขาคณิต โดยที่ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 14


และ 𝑎 , 𝑏 + 3 , 𝑐 + 4 จัดเรียงกันเป็ นลาดับเลขคณิต ค่าของ 𝑎2 + 𝑏2 + 𝑐 2 เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (ก.พ. 62) 15

41. กาหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงผลทดสอบของนักเรียนห้องหนึง่ ดังนี ้ คะแนน จานวนนักเรียน (คน)


0 𝑎−2
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนเต็มบวก 1 𝑎
2 𝑎2
ถ้าคะแนนเฉลีย่ เลขคณิตของผลทดสอบเท่ากับ 2.8 3 (𝑎 + 1)2
4 2𝑎
แล้วจานวนนักเรียนห้องนีเ้ ท่ากับเท่าใด 5 𝑎+1

42. ให้ ℝ เป็ นเซตของจานวนจริงให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั


2
𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 + 4 ;𝑥 ≥ 0
โดยที่ 𝑓(𝑥) = { เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง
4𝑥 + 𝑐 ;𝑥 < 0
1
9
ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริงและสอดคล้องกับ 𝑓 ′ (3) + 𝑓(3) = 45 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =
2
0

แล้วค่าของ 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑏) + 𝑓(𝑐) เท่ากับเท่าใด

43. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเซตของลาดับเลขคณิต 1, 4, 7, 10, …


ให้ 𝑓(𝑥) = 5𝑥 + 3 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 + 4 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
𝑓(𝑥) ; 𝑥∈𝐴
ถ้า ℎ(𝑥) = { −1 แล้วค่าของ ℎ(ℎ(ℎ(100))) เท่ากับเท่าใด
𝑔 (𝑥) ; 𝑥 ∉ 𝐴
16 PAT 1 (ก.พ. 62)

44. กล่องใบหนึง่ มีลกู บอลสีแดง ลูกบอลสีเขียวและลูกบอลสีเหลือง โดยมีจานวนลูกบอลสีแดงคิดเป็ นร้อยละ 30 และมี


จานวนลูกบอลสีเขียวคิดเป็ นร้อยละ 20 ถ้าเพิ่มจานวนลูกบอลสีเหลืองอีก 20 ลูก ใส่ลงในกล่องใบนี ้ พบว่าจานวน
ลูกบอลสีเหลืองคิดเป็ นร้อยละ 60 จงหาว่าในกล่องใบนีม้ ีจานวนลูกบอลสีแดงทัง้ หมดกี่ลกู

1
𝑎 2 −1 3
0 0
45. กาหนดให้ 𝐵=[ 3 𝑏 2] เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง และ 𝐶 = [0 1
−2 0]
−1 3 𝑐
0 0 1
4𝑎 + 1 1
ถ้า 𝐴 เป็ นเมทริกซ์ที่มมี ิติ 3 × 3 โดยที่ 𝐴𝐵 = 𝐶 และ 𝐴 [5𝑏 + 2] = [−2]
4𝑐 + 3 3
แล้ว ค่าของ 𝑎+𝑏+𝑐 เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (ก.พ. 62) 17

เฉลย
1. 3 11. 5 21. 4 31. 34 41. 60
2. 1 12. 2 22. 2 32. 5460 42. 76
3. 5 13. 3 23. 4 33. 59 43. 2498
4. 5 14. 3 24. 3 34. 20 44. 24
5. 4 15. 4 25. 2 35. 24 45. 23
6. 4 16. 5 26. 1 36. 4.5
7. 1 17. 3 27. 1 37. 9
8. 2 18. 5 28. 4 38. 2
9. 1 19. 2 29. 3 39. 12
10. 3 20. 4 30. 2 40. 84

แนวคิด
1. กาหนดให้ 𝑃 แทน 267 < 530 และ 𝑄 แทน 269 > 531
ประพจน์ (𝑄 ↔ ~𝑃) → 𝑄 มีคา่ ความจริงตรงกับค่าความจริงของประพจน์ในข้อใดต่อไปนี ้
1. (𝑄 ∧ 𝑃) → 𝑃 2. (𝑃 ↔ 𝑄) → (𝑃 ∧ 𝑄) 3. (~𝑄 → 𝑃) → 𝑄
4. (𝑃 ↔ ~𝑄) ∧ 𝑃 5. 𝑃 ↔ (~𝑄 ∧ 𝑃)
ตอบ 3
ไล่หาว่า 5𝑛 อยูร่ ะหว่าง 2𝑚 อะไรบ้าง เพื่อยกกาลังเพิม่ ให้ใกล้กบั 267 หรือ 530 แล้วดูวา่ ส่วนทีเ่ หลือไปต่อได้หรือไม่
กรณี 22 < 51 < 23 : 22 < 51 ยกกาลัง 30 51 < 23 ยกกาลัง 20
260 < 530 520 < 260
(ไปต่อไม่ได้ 27 ≮ 50) (ไปต่อไม่ได้ 510 ≮ 27)
กรณี 24 < 52 < 25 : 24 < 52 52 < 25 ยกกาลัง 13
(สัดส่วนเลขชีก้ าลัง ซา้ กรณีบน) 526 < 265
(ไปต่อไม่ได้ 54 ≮ 22)
กรณี 26 < 53 < 27 : 26 < 53 53 < 27 ยกกาลัง 9
(สัดส่วนเลขชีก้ าลัง ซา้ กรณีบน) 527 < 263
(ไปต่อไม่ได้ 53 ≮ 24)
กรณี 29 < 54 < 210 : 29 < 54 ยกกาลัง 7
263 < 528
เนื่องจาก 24 < 52 คูณอสมการ
ดังนัน้ 267 < 530 → 𝑃 จริง
เนื่องจาก 22 < 51 คูณอสมการ
ดังนัน้ 269 < 531 → 𝑄 เท็จ
แทน 𝑃 ≡ T และ 𝑄 ≡ F ในโจทย์ จะได้ (F ↔ ~T) → F ≡ T → F ≡ F
1. (F ∧ T) → T ≡ T 2. (T ↔ F) → (T ∧ F) ≡ T 3. (~F → T) → F ≡ F
4. (T ↔ ~F) ∧ T ≡ T 5. T ↔ (~F ∧ T) ≡ T
18 PAT 1 (ก.พ. 62)

2. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ประพจน์ ∃𝑥[4𝑥 + 2𝑥 = 72] มีคา่ ความจริงเป็ นจริง


เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็ นเซตในข้อใดต่อไปนี ้
1. { 𝑥 ∈ ℝ | |2𝑥 − 3| ≤ 7 } 2. { 𝑥 ∈ ℝ | |3𝑥 − 2| > 7 } 3. { 𝑥 ∈ ℝ | 𝑥 2 + 8 = 6𝑥 }
4. { 𝑥 ∈ ℝ | |𝑥 − 3| > 1 } 5. { 𝑥 ∈ ℝ | |𝑥 + 1| < 3 }
ตอบ 1
แก้สมการ 4𝑥 + 2𝑥 = 72
22𝑥 + 2𝑥 − 72 = 0
𝑥 𝑥
(2 + 9)(2 − 8) = 0
2𝑥 = −9 , 8
2𝑥 = 23
𝑥 = 3 → ดูวา่ ตัวเลือกข้อไหนมี 3 เป็ นสมาชิก โดยดูวา่ ข้อไหนที่แทน 𝑥 = 3 แล้วเป็ นจริง
1. |2(3) − 3| ≤ 7 จริง 2. |3(3) − 2| > 7 เท็จ 3. 32 + 8 = 6(3) เท็จ
4. |3 − 3| > 1 เท็จ 5. |3 + 1| < 3 เท็จ

3. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนเต็มทัง้ หมดที่สอดคล้องกับอสมการ |𝑥 2 − 2𝑥| − 𝑥 ≤ 4


จานวนสมาชิกของเพาเวอร์เซตของ 𝐴 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4 2. 8 3. 16 4. 32 5. 64
ตอบ 5
|𝑥 2 − 2𝑥| − 𝑥 ≤ 4
|𝑥 2 − 2𝑥| ≤ 4+𝑥
−(4 + 𝑥) ≤ 𝑥 2 − 2𝑥 ≤ 4 + 𝑥 เมื่อ 4+𝑥 ≥ 0
−(4 + 𝑥) ≤ 𝑥 2 − 2𝑥 และ 𝑥 2 − 2𝑥 ≤ 4 + 𝑥 และ 4+𝑥 ≥ 0
0 ≤ 𝑥2 − 𝑥 + 4 𝑥 2 − 3𝑥 − 4 ≤ 0 𝑥 ≥ −4
ลองแยกตัวประกอบดู จะพบว่า แยกไม่ได้ (𝑥 + 1)(𝑥 − 4) ≤ 0
เพราะ 𝑏 2 − 4𝑎𝑐 = (−1)2 − 4(1)(4) + − +
= −15 เป็ นลบ
−1 4
เนื่องจาก สปส หน้า 𝑥 เป็ นบวก
2

ดังนัน้ อสมการนีจ้ ะจริงเสมอ (𝑥 เป็ นอะไรก็ได้)

จะได้ 𝑥 ที่ทาให้ทงั้ 3 เงื่อนไขเป็ นจริง คือ [−1 , 4] ซึง่ จะมีจานวนเต็มอยู่ 4 − (−1) + 1 = 6 จานวน
ดังนัน้ เพาเวอร์เซตของ 𝐴 จะมีสมาชิก 26 = 64 ตัว

4. เซตคาตอบของอสมการ 22𝑥+1 + 32𝑥+1 ≤ 5(6𝑥 ) เป็ นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี ้


1. (−∞, −3) ∪ (3, ∞) 2. (−∞, −3) ∪ (−1, 3) 3. (−5, −1) ∪ (0, 5)
4. (−3, 0) ∪ (1, ∞) 5. (−2, 1) ∪ (3, ∞)
ตอบ 5
22𝑥+1 + 32𝑥+1 ≤ 5(6𝑥 )
2𝑥 1 𝑥 2𝑥 1
2 ∙ 2 − 5(2 ∙ 3) + 3 ∙ 3 ≤ 0
2(22𝑥 ) − 5(2𝑥 )(3𝑥 ) + 3(32𝑥 ) ≤ 0 2 𝑥
2(22𝑥 ) 5(2𝑥 )(3𝑥 ) 3(32𝑥 ) ÷ 32𝑥 ตลอด เพื่อจัดรูปตัวแปรให้เป็ น ( )
3
− + ≤ 0
32𝑥 32𝑥 32𝑥
2 2𝑥 2 𝑥
2( ) − 5( ) + 3 ≤ 0
3 3
PAT 1 (ก.พ. 62) 19

2 𝑥 2 𝑥
(2 (3) − 3) ((3) − 1) ≤ 0

2 𝑥 3
+ − + 1 ≤ (3) ≤ 2 เปลี่ยนเป็ นฐาน 23
3 2 0 2 𝑥 2 −1
1
2
(3) ≤ (3) ≤ (3) ตัดฐานตลอด
2
0 ≥ 𝑥 ≥ −1 < 1 ต้องกลับน้อยกว่าเป็ นมากกว่า
3
เป็ นสับเซตของข้อ 5.

5. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง
ให้ 𝑓 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑦 + 𝑥 = |𝑥| } และ 𝑔 = { (𝑥, 𝑦) ∈ ℝ × ℝ | 𝑦 − 𝑥 = |𝑥| }
พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
(ก) 𝑔 ∘ (𝑓 ∘ 𝑔) = (𝑓 ∘ 𝑔) ∘ 𝑔
(ข) (𝑔 ∘ 𝑓) − 𝑓 = (𝑓 ∘ 𝑔) + 𝑓
(ค) 𝑓 ∘ (𝑓 ∘ 𝑔) = 𝑓𝑔
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 4
𝑓 : 𝑦 + 𝑥 = |𝑥| 𝑔 : 𝑦 − 𝑥 = |𝑥|
𝑦 = |𝑥| − 𝑥 𝑦 = |𝑥| + 𝑥 𝑥 , 𝑥≥0
𝑥−𝑥 , 𝑥≥0 𝑥+𝑥 , 𝑥≥0 |𝑥| = {
={ ={ −𝑥 , 𝑥<0
−𝑥 − 𝑥 , 𝑥<0 −𝑥 + 𝑥 , 𝑥<0
0 , 𝑥≥0 2𝑥 , 𝑥≥0
={ ={
−2𝑥 , 𝑥<0 0 , 𝑥<0

0 , 𝑥≥0 2𝑥 , 𝑥≥0
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = {
−2𝑥 , 𝑥<0
และ 𝑔(𝑥) = {
0 , 𝑥<0

(ก) (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑔(𝑥)) ใช้สตู รของ 𝑔(𝑥)


𝑓(2𝑥) , 𝑥 ≥ 0 → เมื่อ 𝑥 ≥ 0 จะได้ 2𝑥 ≥ 0 ด้วย → 𝑓(2𝑥) = 0
= {
𝑓(0) , 𝑥 < 0 → จะได้ 𝑓(0) = 0
= 0 ในทุกๆ กรณี
ฝั่งซ้าย : (𝑔 ∘ (𝑓 ∘ 𝑔))(𝑥) = 𝑔((𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥)) = 𝑔(0) = 2(0) = 0
ฝั่งขวา : ((𝑓 ∘ 𝑔) ∘ 𝑔)(𝑥) = (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑔(𝑥)) = 0 ( 𝑓 ∘ 𝑔 อะไรก็ตาม เป็ น 0 เสมอ ) → (ก) ถูก
(ข) (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑔(𝑓(𝑥)) ใช้สตู รของ 𝑓(𝑥)
𝑔(0) , 𝑥 ≥ 0 → 𝑔(0) = 2(0) = 0
= {
𝑔(−2𝑥) , 𝑥 < 0 → เมื่อ 𝑥 < 0 จะได้ −2𝑥 > 0 → 𝑔(−2𝑥) = 2(−2𝑥) = −4𝑥
0 , 𝑥≥0
= {
−4𝑥 , 𝑥<0
20 PAT 1 (ก.พ. 62)

ฝั่งซ้าย : ((𝑔 ∘ 𝑓) − 𝑓)(𝑥) = (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) − 𝑓(𝑥)


0−0 , 𝑥≥0 0 , 𝑥≥0
= { = {
−4𝑥 − (−2𝑥) , 𝑥 < 0 −2𝑥 , 𝑥<0
ฝั่งขวา : ((𝑓 ∘ 𝑔) + 𝑓)(𝑥) = (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) + 𝑓(𝑥)
0 , 𝑥≥0
= 0 + 𝑓(𝑥) = 𝑓(𝑥) = {
−2𝑥 , 𝑥<0
→ (ข) ถูก
(ค) ฝั่งซ้าย : (𝑓 ∘ (𝑓 ∘ 𝑔))(𝑥) = 𝑓((𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥)) = 𝑓(0) = 0
ฝั่งขวา : (𝑓𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑥) ∙ 𝑔(𝑥)
0 ∙ 2𝑥 , 𝑥≥0
= {
−2𝑥 ∙ 0 , 𝑥<0
= 0 ในทุกๆ กรณี → (ค) ถูก

6. ค่าของ arccos (sin 17𝜋


7
10𝜋
) − arcsin (sin 7 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. − 5𝜋14
2. 14𝜋
3. 2𝜋7
4. 𝜋2 5. 3𝜋
2
ตอบ 4
17𝜋 3𝜋
arccos (sin 7
) = arccos (sin (2𝜋 + 7
))
3𝜋
= arccos (sin 7
) เปลี่ยนเป็ น cos ด้วยสูตรโคฟังก์ชนั
=
𝜋 3𝜋
arccos (cos ( 2 − 7 )) ให้หกั ล้างกับ arccos ได้
𝜋
= arccos (cos
14
) เรนจ์ของ arccos คือ [0, 𝜋]
=
𝜋 𝜋
14
อยูใ่ นเรนจ์นีแ้ ล้ว จึงตัด arccos กับ cos ได้
14

10𝜋 3𝜋
arcsin (sin 7
) = arcsin (sin (𝜋 + 7
)) เรนจ์ของ arcsin คือ [− 𝜋2 , 𝜋2 ]
=
3𝜋
arcsin (sin − 7 ) ต้องวาด 𝜋 + 3𝜋7
แล้วสะท้อนเข้าเรจน์
3𝜋 จะได้ − 3𝜋 ดังรูป 3𝜋 3𝜋
= −7 7 𝜋+
7

7

17𝜋 10𝜋 𝜋 3𝜋 7𝜋 𝜋
ดังนัน้ arccos (sin
7
) − arcsin (sin
7
) =
14
− (−
7
) =
14
=
2

7. ถ้า 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้องกับสมการต่อไปนี ้


2
(𝑥 + 𝑦)3𝑦−𝑥 =
9
และ 2 log 2(𝑥 + 𝑦) = 𝑥 − 𝑦
แล้วค่าของ 𝑥 + 𝑦 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2 2

1. 4 2. 8 3. 9 4. 10 5. 16
ตอบ 1
2
𝑥 2 log 2 (𝑥 + 𝑦) = 𝑥 − 𝑦 (𝑥 + 𝑦)3𝑦−𝑥 =
9
𝑥−𝑦 𝑥−𝑦
log 2(𝑥 + 𝑦) = 2 2 3𝑦−𝑥 =
2
2
9
𝑥−𝑦 𝑥−𝑦
𝑥+𝑦 = 2 2 2 2
=
2
3𝑥−𝑦 32
ยกกาลังสองทัง้ สองข้าง
2𝑥−𝑦 2 2
32(𝑥−𝑦)
= (32 )
2 𝑥−𝑦 2 2
2 (32 ) = (32 )
𝑥+𝑦 = 2 2

𝑥+𝑦 = 2 …(2) 𝑥−𝑦 = 2 …(1)


PAT 1 (ก.พ. 62) 21

(1) + (2) : 𝑥 + 𝑦 + 𝑥 − 𝑦 = 2 + 2
2𝑥 = 4
𝑥 = 2 → แทนใน (2) : 2+𝑦 = 2
𝑦 = 0
จะได้ 𝑥 2 + 𝑦 2 = 22 + 02 = 4

8. ให้พาราโบลารูปหนึง่ มีสมการ 𝑦 = 𝑥 2 + 1 สร้างรูปสามเหลีย่ ม ABC โดยที่จดุ A เป็ นจุดยอดของพาราโบลา


จุด B(𝑥, 𝑦) และจุด C(2, 5) เป็ นจุดบนพาราโบลา ถ้ามุม AB̂C เป็ นมุมฉาก แล้วพืน้ ที่ของรูปสามเหลีย่ ม ABC
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 2√2 ตารางหน่วย 2. 3 ตารางหน่วย 3. 3√2 ตารางหน่วย
4. 4 ตารางหน่วย 5. 4√3 ตารางหน่วย
ตอบ 2
C(2,5)
เทียบสมการพาราโบลา 𝑦 = 𝑥 2 + 1 กับรูปสมการ 𝑦 = (𝑥 − ℎ)2 + 𝑘
จะได้จดุ ยอด (ℎ, 𝑘) คือ A(0, 1) ดังรูป B(𝑥,𝑦)

AB̂C เป็ นมุมฉาก ดังนัน


้ ความชัน ̅̅̅̅
AB × ความชัน ̅̅̅̅
BC = −1 A(0,1)
𝑦−1 𝑦−5
∙ = −1 B(𝑥, 𝑦) อยูบ
่ นพาราโบลา ต้องสอดคล้อง
𝑥−0 𝑥−2
𝑥 2 +1−1 𝑥 2 +1−5 กับสมการพาราโบลา → 𝑦 = 𝑥 2 + 1
𝑥
∙ 𝑥−2
= −1
𝑥2 𝑥 2 −4
𝑥
∙ 𝑥−2
= −1
(𝑥−2)(𝑥+2) 𝑥 2 + 2𝑥 + 1 = 0
𝑥 ∙ 𝑥−2
= −1 (𝑥 + 1)2 = 0
𝑥 ∙ (𝑥 + 2) = −1 𝑥 = −1

แทน 𝑥 = −1 ในสมการพาราโบลา 𝑦 = 𝑥 2 + 1 จะได้ 𝑦 = (−1)2 + 1 = 2 → จะได้พิกดั B คือ (−1, 2)


ใช้สตู รระยะระหว่างจุด √(∆𝑥)2 + (∆𝑦)2 จะได้ AB = ระยะจาก (0, 1) ไป (−1, 2)
= √(0 − (−1))2 + (1 − 2)2 = √1 + 1 = √2
และ จะได้ BC = ระยะจาก (−1, 2) ไป (2, 5)
= √(−1 − 2)2 + (2 − 5)2 = √9 + 9 = 3√2
1 1
จะได้พนื ้ ที่ ∆ABC = 2
∙ AB ∙ BC = 2
∙ √2 ∙ 3√2 = 3

(𝑎+𝑏)2
9. กาหนดให้ 𝑎 = cos 15° + cos 50° และ 𝑏 = sin 15° + sin 50° ค่าของ 𝑎 2 +𝑏2
ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1 + cos 25° 2. 1 + cos 35° 3. 1 + cos 65°
4. 1 + cos 75° 5. 1 + cos 85°
ตอบ 1
(𝑎+𝑏)2
สังเกตว่าตัวเลือกทุกข้อ มี 1 บวกอยูข่ า้ งหน้า → จัดรูป 𝑎 2 +𝑏2
ให้มี 1 อยูข่ า้ งหน้าก่อน
(𝑎+𝑏)2 𝑎 2 +2𝑎𝑏+𝑏2 𝑎 2 +𝑏2 2𝑎𝑏
𝑎 2 +𝑏2
= 𝑎 2 +𝑏 2
= 𝑎 2 +𝑏2
+ 𝑎2 +𝑏2
2𝑎𝑏 ดึง 𝑎𝑏 ออกจากตัวส่วน เพื่อตัดกับ 𝑎𝑏 ที่เศษ
= 1 + 𝑎 𝑏
𝑎𝑏( + )
𝑏 𝑎
2
= 1 + 𝑎 𝑏 …(∗)
+
𝑏 𝑎
22 PAT 1 (ก.พ. 62)

𝑎 𝑏
เปลีย่ น 𝑎 กับ 𝑏 เป็ นผลคูณ โดยหวังว่าตอนหา 𝑏
กับ 𝑎
จะมีอะไรตัดกันได้
𝑎 = cos 15° + cos 50° 𝑏 = sin 15° + sin 50°
= cos 50° + cos 15° = sin 50° + sin 15°
50°+15° 50°−15° 50°+15° 50°−15°
= 2 cos cos = 2 sin cos
2 2 2 2
65° 35° 65° 35°
= 2 cos 2 cos 2 = 2 sin 2 cos 2
65° 65°
35° 𝑎 cos 𝑏 sin
จะเห็นว่า 𝑎 กับ 𝑏 หารกัน จะตัด 2 cos 2 ได้ → จะได้ 𝑏
= 2
65° และ 𝑎
= 2
65°
sin cos
2 2
2 2
แทนใน (∗) จะได้ = 1+ 65°
cos 2
65°
sin 2
= 1+ 65°
cos2 2 + sin2 2
65°

65° + 65° 65° 65°


sin cos sin cos
2 2 2 2 sin2 𝜃 + cos 2 𝜃 = 1
2
= 1+ 1
65° 65°
sin cos
2 2
65° 65°
= 1 + 2 sin 2
cos 2
sin 2𝜃 = 2 sin 𝜃 cos 𝜃
65°
= 1+ sin 2 ( 2 )
= 1+ sin 65°
โคฟังก์ชนั
= 1+ cos 25°

10. ให้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นเส้นโค้งผ่านจุด (0, 1) และจุด (1, 1) และเส้นสัมผัสของเส้นโค้งที่จดุ (𝑥, 𝑦) ใดๆ มีความชัน
เท่ากับ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑓 ′ (0) = 1 และ 𝑓 ′′(1) = 2 แล้วฟั งก์ชนั 𝑓 มี
ค่าสูงสุดสัมพัทธ์เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 1127
2. 13
27
3. 31
27
4. 34 27
5. 43
27
ตอบ 3
ความชัน คือ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 แสดงว่า 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 ซึง่ จะได้ 𝑓 ′′(𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏
แทน 𝑥 = 0 แทน 𝑥 = 1
′ (0) 2) ′′ (1)
𝑓 = 𝑎(0 + 𝑏(0) + 𝑐 𝑓 = 2𝑎(1) + 𝑏
1 = 𝑐 2 = 2𝑎 + 𝑏
2 − 2𝑎 = 𝑏
แทนค่า 𝑏 , 𝑐 ใน 𝑓 ′(𝑥) จะได้ 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎𝑥 2 + (2 − 2𝑎)𝑥 + 1
𝑎𝑥 3 (2−2𝑎)𝑥 2 อินทิเกรต
𝑓(𝑥) = 3
+ 2
+𝑥+𝑑

แทน 𝑥 = 0 : แทน 𝑥 = 1 :
( 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่าน (0, 1) แสดงว่า 𝑓(0) = 1 ) ( 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่าน (1, 1) แสดงว่า 𝑓(1) = 1 )
𝑎(0)3 (2−2𝑎)(0)2 𝑎(1)3 (2−2𝑎)(1)2
𝑓(0) = 3
+ 2
+0+𝑑 𝑓(1) = + +1+𝑑
3 2
1 = 𝑑 𝑎
1 = 3
+ 1−𝑎 +1+1
2
𝑎 = 2
3
𝑎 = 3
3𝑥 3 (2−2(3))𝑥 2
แทนค่า 𝑑 , 𝑎 จะได้ 𝑓(𝑥) =
3
+
2
+𝑥+1
= 𝑥 3 − 2𝑥 2 + 𝑥 + 1 ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ จะเกิดเมื่อ
𝑓 ′ (𝑥)
= 3𝑥 2 − 4𝑥 + 1 𝑓 ′ (𝑥) เปลี่ยนจากบวกเป็ นลบ
= (3𝑥 − 1)(𝑥 − 1)
+ − +
→ สูงสุดสัมพัทธ์ เมื่อ 𝑥 = 13
1
1
3
PAT 1 (ก.พ. 62) 23

1 1 1 3 1 2 1
แทน 𝑥=3 จะได้ ค่าสูงสุดสัมพัทธ์ 𝑓 (3) = (3) − 2 (3) + (3) + 1
1 2 1 1−6+9+27 31
= 27
− 9
+ 3
+1 = 27
= 27

11. กล่องใบหนึง่ มีลกู บอลขนาดเดียวกัน 3 สี สีละ 𝑛 ลูก เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวก สุม่ หยิบลูกบอล 3 ลูกจากกล่องนี ้
โดยหยิบทีละลูก แบบไม่ใส่กลับคืนลงในกล่อง ถ้าความน่าจะเป็ นที่จะได้ลกู บอลสีละลูก เท่ากับ 25 แล้วความน่าจะ
เป็ นที่จะได้ลกู บอล 3 ลูกโดยมีเพียง 2 สีเท่านัน้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
2 4 7 8
1. 15 2. 15 3. 15 4. 15 5. 159
ตอบ 5
หาความน่าจะเป็ นที่หยิบได้สลี ะลูกในรูปของ 𝑛 แล้วจับมาเท่ากับ 25 เพื่อแก้สมการหา 𝑛
จานวนแบบทัง้ หมด : มีลกู บอล 3𝑛 ลูก จะหยิบได้ (3𝑛)(3𝑛 − 1)( 3𝑛 − 2) แบบ
จานวนแบบที่ได้สลี ะลูก : ลูกแรก หยิบลูกไหนก็ได้ → จะหยิบได้ 3𝑛 แบบ
ลูกที่สอง ต้องหยิบ 2 สีที่ไม่ซา้ สีกบั ลูกแรก → จะหยิบได้ 2𝑛 แบบ
ลูกที่สาม ต้องหยิบสีสดุ ท้ายที่ยงั ไม่ถกู หยิบ → จะหยิบได้ 𝑛 แบบ
จะได้จานวนแบบ = (3𝑛)(2𝑛)(𝑛) แบบ
(3𝑛)(2𝑛)(𝑛) (2𝑛)(𝑛)
จะได้ความน่าจะเป็ น = (3𝑛)(3𝑛−1)( 3𝑛−2)
=
(3𝑛−1)( 3𝑛−2)
ดังนัน้ (3𝑛−1)(
(2𝑛)(𝑛)
3𝑛−2)
=
2
5
5𝑛2 = (3𝑛 − 1)(3𝑛 − 2)
0 = 4𝑛2 − 9𝑛 + 2
0 = (4𝑛 − 1)(𝑛 − 2)
1
𝑛 = 4, 2

แต่ 𝑛 เป็ นจานวนเต็มบวก → เหลือ 𝑛 = 2 ค่าเดียว นั่นคือ มีลกู บอลสีละ 2 ลูก (มี 3 สี = 6 ลูก)
โจทย์ถาม ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ 2 สี → จะคิดจากเหตุการณ์ตรงข้าม = 1 − 𝑃(ได้สเี ดียว) − 𝑃(ได้ 3 สี)
 ได้สเี ดียวกันทัง้ 3 ลูก จะเป็ นไปไม่ได้ (เพราะมีสล
ี ะ 2 ลูก) → 𝑃(ได้สเี ดียว) = 0
 ได้ 3 สี คือได้สล ี ะลูก → โจทย์กาหนดให้เท่ากับ 25
จะได้ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ 2 สี = 1 − 0 − 25 = 35 = 159
หมายเหตุ : ถ้าไม่คดิ เหตุการณ์ตรงข้าม → เลือกสีที่มี 2 ลูก ได้ 3 แบบ (ต้องใช้ทงั้ 2 ลูกจากสีน)ี ้
→ เลือก 1 ลูก จากทีเ่ หลือ 2 สี สีละ 2 ลูก ได้ 2 × 2 = 4 แบบ
→ สลับที่ลกู ทัง้ 3 ลูก ได้ 3! แบบ จะได้ความน่าจะเป็ น = (3)(4)(3!)
(6)(5)(4)
=
3
5

12. เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนเต็มบวกที่แตกต่างกันและสอดคล้องกับอสมการต่อไปนี ้


(ก) log 2 𝑎 < log 2 𝑏
(ข) 2𝑏 × 3𝑑 > 2𝑑 × 3𝑏
(ค) 6𝑎 − 9𝑐 > 3𝑐 (2𝑎 − 3𝑎 )
ผลบวกในข้อใดต่อไปนี ้ ที่มีคา่ มากที่สดุ
1. 𝑎 + 𝑏 2. 𝑏 + 𝑑 3. 𝑎+𝑐 4. 𝑐+𝑑 5. 𝑎+𝑑
ตอบ 2
(ก) ตัด log ทัง้ สองฝั่ง จะได้ 𝑎<𝑏 (ไม่ตอ้ งกลับเครือ่ งหมาย เพราะฐาน 2 > 1)
24 PAT 1 (ก.พ. 62)

(ข) 2𝑏 × 3𝑑 > 2𝑑 × 3𝑏 (ค) 6𝑎 − 9𝑐 > 3𝑐 (2𝑎 − 3𝑎 )


2𝑏 2𝑑 3𝑏 , 3𝑑 เป็ นบวก
> (2 ∙ 3)𝑎 − (32 )𝑐 > 2𝑎 3𝑐 − 3𝑎 3𝑐
3𝑏 3𝑑
2𝑎 3𝑎 + 3𝑎 3𝑐 > 2𝑎 3𝑐 + 32𝑐
2 𝑏 2 𝑑 2
(3) > (3) <1→ ต้อง 3𝑎 (2𝑎 + 3𝑐 ) > 3𝑐 (2𝑎 + 3𝑐 )
3 2𝑎 + 3𝑐 เป็ นบวก
𝑏 < 𝑑 กลับเครืองหมาย 3𝑎 > 3𝑐
𝑎 > 𝑐

เรียงจากน้อยไปมาก จะได้ 𝑐<𝑎<𝑏<𝑑 → คูท่ ี่มากที่สดุ คือ 𝑏+𝑑

13. ลูกอมรสนม ราคาเม็ดละ 5 บาท และลูกอมรสนา้ ผึง้ ราคาเม็ดละ 7 บาท ต้องการซือ้ ลูกอมทัง้ สองรสเป็ นเงิน
ทัง้ สิน้ 287 บาท (โดยมีลกู อมรสนมอย่างน้อย 1 เม็ดและลูกอมรสนา้ ผึง้ อย่างน้อย 1 เม็ด) พิจารณาข้อความต่อไ่ ปนี ้
(ก) จานวนวิธีที่ได้ลกู อมทัง้ สองรส มีทงั้ หมด 9 วิธี
(ข) ได้จานวนลูกอมทัง้ สองรส อย่างน้อย 43 เม็ด
(ค) ได้ลกู อมทัง้ สองรส มีจานวนมากที่สดุ 57 เม็ด
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. ข้อ (ก) และ ข้อ (ข) ถูก แต่ ข้อ (ค) ผิด 2. ข้อ (ก) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ข) ผิด
3. ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูก แต่ ข้อ (ก) ผิด 4. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ถูกทัง้ สามข้อ
5. ข้อ (ก) ข้อ (ข) และ ข้อ (ค) ผิดทัง้ สามข้อ
ตอบ 3
ให้ซือ้ รสนม 𝑎 เม็ด (เป็ นเงิน 5𝑎 บาท) และซือ้ รสนา้ ผึง้ 𝑏 เม็ด (เป็ นเงิน 7𝑏 บาท) → จะได้ 5𝑎 + 7𝑏 = 287
287−7𝑏
𝑎 = 5
เนื่องจาก 𝑎 ต้องเป็ นจานวนเต็ม → 287 − 7𝑏 ต้องหารด้วย 5 ลงตัว
→ 287 และ 7𝑏 ต้องหารด้วย 5 เหลือเศษเท่ากัน
→ เนื่องจาก 287 ÷ 5 เหลือเศษ 2 ดังนัน ้ 7𝑏 ÷ 5 ต้องเหลือเศษ 2 ด้วย
การหาเศษเหลือ สามารถกระจายในการคูณได้ → 7 ÷ 5 เหลือเศษ 2
→ สมมติให้ 𝑏 ÷ 5 เหลือเศษ 𝑘 (เมื่อ 𝑘 = 0, 1, 2, 3, 4)
→ จะได้ 7𝑏 ÷ 5 เหลือเศษเท่ากับ 2𝑘 ÷ 5
ลองแทน 𝑘 = 0, 1, 2, 3, 4 จะได้ 2𝑘 ÷ 5 เหลือเศษ 2 เมื่อ 𝑘 = 1 เท่านัน้
𝑎 ต้องเป็ นบวก ดังนัน้
นั่นคือ 287−7𝑏
5
ลงตั
ว เมื อ
่ 𝑏 ÷ 5 เหลื
อ เศษ 1 → 𝑏 = 1, 6, 11, 16, … , 36 287 − 7𝑏 > 0
41 > 𝑏

จะมีคา่ 𝑏 ที่เป็ นไปได้ทงั้ หมด 36−1


5
+ 1 = 8 แบบ → (ก) ผิด
จะได้ลกู อมน้อย ถ้าซือ้ ลูกอมราคาแพง (รสนา้ ผึง้ ) เยอะๆ → ซือ้ 𝑏 เต็มแม็ก = 36 เม็ด
287−7(36)
→ จะได้ 𝑎 = 5
= 7 เม็ด
→ ได้ลกู อมน้อยสุด = 36 + 7 = 43 เม็ด → (ข) ถูก
จะได้ลกู อมเยอะ ถ้าซือ้ ลูกอมราคาแพง (รสนา้ ผึง้ ) น้อยๆ → ซือ้ 𝑏 น้อยสุด = 1 เม็ด
287−7(1)
→ จะได้ 𝑎 = 5
= 56 เม็ด
→ ได้ลกู อมเยอะสุด = 1 + 56 = 57 เม็ด → (ค) ถูก
PAT 1 (ก.พ. 62) 25

14. วงกลมวงหนึง่ มีสมการเป็ น 𝑥 2 + 𝑦 2 − 4𝑥 − 2𝑦 + 1 = 0 และสัมผัสกับแกน 𝑦 ที่จดุ P


ให้ L เป็ นเส้นตรงผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมและขนานกับเส้นตรง 2𝑥 − 2𝑦 = 1
ระยะระหว่างจุด P กับเส้นตรง L เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
√2 3√2
1. √5
5
2. 2
3. √2 4. 2
5. √5
ตอบ 3
จัดรูปวงกลม : 𝑥 2 + 𝑦 2 − 4𝑥 − 2𝑦 + 1 = 0
𝑥 2 − 4𝑥 + 𝑦 2 − 2𝑦 = −1
𝑥 2 − 4𝑥 + 4 + 𝑦 2 − 2𝑦 + 1 = −1 + 4 + 1
(𝑥 − 2)2 + (𝑦 − 1)2 = 4
เทียบกับรูป (𝑥 − ℎ)2 + (𝑦 − 𝑘)2 = 𝑟 2
จะได้จดุ ศูนย์กลาง (ℎ, 𝑘) = (2, 1) และรัศมี 𝑟 = 2 → วาดได้ดงั รูป
(2,1)
จะเห็นว่าวงกลม สัมผัสแกน 𝑦 ที่ P(0, 1) P(0,1)

เส้นตรง L ขนานกับเส้นตรง 2𝑥 − 2𝑦 = 1
2𝑥 − 1 = 2𝑦
1
𝑥−2 = 𝑦 เทียบกับรูป 𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑐 จะได้ความชัน 𝑚 = 1

ดังนัน้ L จะมีความชัน = 1 ด้วย
𝑦−1
L ผ่านจุดศูนย์กลางวงกลม (2 ,1) และมีความชัน = 1 → จะได้สมการ L คือ = 1
𝑥−2
𝑦−1 = 𝑥−2
0 = 𝑥−𝑦−1

จะได้ระยะจากจุด P(0, 1) ไปยังเส้นตรง L: 𝑥−𝑦−1=0 ระยะจากจุด (𝑎, 𝑏) ไปยังเส้นตรง


คือ |(1)(0)+(−1)(1)
√12 +(−1)2
−1| 2
= 2 = √2

𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝐶 = 0 คือ
|𝐴𝑎+𝐵𝑏+𝐶|
√𝐴2 +𝐵2

15. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ ม โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶


เท่ากับ 𝑎 หน่วย 𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลาดับ ถ้า 𝑏 = 𝑎(√3 − 1) และมุม 𝐶 มีขนาด 30°
แล้วค่าของ sin 3𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
√3 √2 √2 √3
1. −
2
2. −
2
3. 1 4. 2
5. 2
ตอบ 4
จากกฏของ sin จะได้ 𝑎
=
𝑏
sin 𝐴 sin 𝐵 จาก ∆ จะได้ 𝐴 = 180° − 𝐵 − 𝐶
𝑎 𝑎(√3−1)
= = 180° − 𝐵 − 30°
sin(150°−𝐵) sin 𝐵 = 150° − 𝐵
sin 𝐵 = (√3 − 1) sin(150 − 𝐵)
sin 𝐵 = (√3 − 1)(sin 150° cos 𝐵 − cos 150° sin 𝐵)
1 √3
sin 𝐵 = (√3 − 1) ( cos 𝐵 + sin 𝐵)
2 2
√3 3 1 √3
sin 𝐵 = 2
cos 𝐵 + 2 sin 𝐵 − 2
cos 𝐵 − 2 sin 𝐵
√3 1 √3 1
2
sin 𝐵 − 2 sin 𝐵 = 2
cos 𝐵 − 2 cos 𝐵
√3 1 √3 1
( 2 − 2) sin 𝐵 = ( 2 − 2) cos 𝐵
sin 𝐵 = cos 𝐵
𝐵 = 45°
มุมใน ∆ จะมีคา่ ระหว่าง 0° และ 180°
26 PAT 1 (ก.พ. 62)

√2
จะได้ sin 3𝐵 = sin 3(45°) = sin 135° = 2

16. กาหนดให้ H เป็ นไฮเพอร์โบลา ซึง่ มีสมการเป็ น 𝑥 2 − 3𝑦 2 − 3 = 0 และให้ F เป็ นโฟกัสของไฮเพอร์โบลา H ที่
อยูท่ างขวาของจุด (0, 0) ให้ E เป็ นวงรีทมี่ ีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (0, 0) และโฟกัสอยูท่ ี่ F โดยที่จดุ (0, 0) และจุด F อยู่
ทางซ้ายของจุดศูนย์กลางของวงรี E ถ้าผลต่างของความยาวแกนเอกและความยาวแกนโท เท่ากับ 2 แล้วความ
เยือ้ งศูนย์กลางของวงรี E ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.5 5. 0.6
ตอบ 5
จัดรูป H หาโฟกัส : 𝑥 2 − 3𝑦 2 − 3 = 0
𝑥 2 − 3𝑦 2 = 3
𝑥2 𝑦2
3
− 1
= 1

จะได้ระยะโฟกัส 𝑐 = √3 + 1 = 2 → จะได้จดุ โฟกัส คือ (±2, 0)


→ จุดที่อยูท่ างขวาของ (0, 0) คือ F(2, 0)
ดังนัน้ วงรี E มีจดุ ยอด V(0, 0) และจุดโฟกัส F(2, 0) อยูท่ างซ้ายจุดศูนย์กลาง 𝑎
V และ F อยูห ่ า่ งกัน 2 หน่วย → จะได้ 𝑎 − 𝑐 = 2 ดังรูป
𝑎 − 2 = 𝑐 …(1) V(0,0) 𝑐

โจทย์ให้แกนเอกกับแกนโทยาวต่างกัน 2 → จะได้ 2𝑎 − 2𝑏 = 2 F(2,0)


𝑎−𝑏 = 1
𝑎 − 1 = 𝑏 …(2)
จากสูตรระยะโฟกัสวงรี : 𝑐2 = 𝑎2 − 𝑏 2
จาก (1) และ (2)
(𝑎 − 2)2 = 𝑎2 − (𝑎 − 1)2
𝑎2 − 4𝑎 + 4 = 𝑎2 − (𝑎2 − 2𝑎 + 1)
𝑎2 − 6𝑎 + 5 = 0
(𝑎 − 1)(𝑎 − 5) = 0
𝑎 = 1, 5
แต่ 𝑎 = 1 แทนใน (1) จะได้ 𝑐 ติดลบ จึงใช้ไม่ได้ → เหลือ 𝑎 = 5 ค่าเดียว
แทน 𝑎 = 5 ใน (1) จะได้ 𝑐 = 5 − 2 = 3 → จะได้ความเยือ้ ง = 𝑎𝑐 = 3
5
= 0.6

17. กาหนดให้ 𝐴 = [1 5] , 𝐵 = [−2 0 2


0
] และ 𝐶 เป็ นเมทริกซ์ทม
ี่ ีมิติ 2 × 2 ที่สอดคล้องกับ 𝐶𝐴 = 𝐴𝐵
1 1
ถ้า 𝑥 เป็ นจานวนจริงบวกที่สอดคล้องกับ det(𝐶 2 + 𝑥𝐵) = −20
แล้วค่าของ 𝑥 2 + 𝑥 + 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 3 2. 7 3. 13 4. 21 5. 31
ตอบ 3
จาก 𝐶𝐴 = 𝐴𝐵
1 5 −2 0 1 5 −1
จะได้ 𝐶 = 𝐴𝐵𝐴−1 = [ ][ ][ ]
1 1 0 2 1 1
−2 10 1 1 −5
= [ ] ∙ 1−5 [ ]
−2 2 −1 1
1 −1 5 1 −5
= −2[ ][ ]
−1 1 −1 1
1 −6 10 3 −5
= − [ ] = [ ]
2 −2 6 1 −3
PAT 1 (ก.พ. 62) 27

3 −5 3 −5 −2 0
ดังนัน้ 𝐶 2 + 𝑥𝐵 = [ ][ ]+𝑥[
0 2
]
1 −3 1 −3
4 0 −2𝑥 0
= [ ] + [ ]
0 4 0 2𝑥
4 − 2𝑥 0
= [ ]
0 4 + 2𝑥

จะได้ det(𝐶 2 + 𝑥𝐵) = (4 − 2𝑥)(4 + 2𝑥) − (0)(0)


−20 = 16 − 4𝑥 2
4𝑥 2 = 36
𝑥 = 3 (โจทย์กาหนดให้ 𝑥 เป็ นบวก)
ดังนัน้ 𝑥 2 + 𝑥 + 1 = 32 + 3 + 1 = 13

18. ให้ 𝑛(𝑆) แทนจานวนสมาชิกของเซต 𝑆 ถ้า 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นเซต โดยที่ 𝑛(𝐴) = 10 , 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) = 4 ,
𝑛(𝐴 ∩ 𝐶) = 3 และ 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶) = 18 แล้ว ค่ามากที่สดุ ที่เป็ นไปได้ของ 𝑛(𝐵 ∪ 𝐶) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 10 2. 12 3. 13 4. 14 5. 15
ตอบ 5
จากสูตร Inclusive – Exclusive จะได้
𝑛(𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶) = 𝑛(𝐴) + 𝑛(𝐵) + 𝑛(𝐶) − 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) − 𝑛(𝐴 ∩ 𝐶) − 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶) + 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶)
18 = 10 + 𝑛(𝐵) + 𝑛(𝐶) − 4 − 3 − 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶) + 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶)
15 = 𝑛(𝐵) + 𝑛(𝐶) − 𝑛(𝐵 ∩ 𝐶) + 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶)
ใช้สตู ร Inclusive –
15 = 𝑛(𝐵 ∪ 𝐶) + 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶)
Exclusive ที่ 𝐵 กับ 𝐶
15 − 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶) = 𝑛(𝐵 ∪ 𝐶)

ดังนัน้ 𝑛(𝐵 ∪ 𝐶) จะมีคา่ ไม่เกิน 15 (เพราะ 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶) เป็ นลบไม่ได้) 𝐴 𝐵


3 4 8
โดยจะเป็ น 15 ได้ เมื่อ 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ∩ 𝐶) = 0 300
0
ซึง่ จะแสดงให้เห็นว่าเป็ นไปได้ ด้วยตัวอย่างดังรูป 𝐶

19. ให้ 𝑎̅, 𝑏̅ และ 𝑐̅ เป็ นเวกเตอร์บนระนาบ โดยที่ 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅ และ มุมระหว่างเวกเตอร์ 𝑎̅ กับ 𝑏̅ เท่ากับ 60°
ถ้าขนาดของเวกเตอร์ 𝑎̅ และเวกเตอร์ 𝑏̅ เท่ากับ 2 หน่วย และ 1 หน่วย ตามลาดับ
แล้วมุมระหว่างเวกเตอร์ 𝑏̅ กับเวกเตอร์ 𝑐̅ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
𝜋 2 3 𝜋 3
1. 2
+ arccos
√7
2. 𝜋 − arcsin √7 3. 2
+ arcsin √7
√3 2𝜋 √3
4. 𝜋 − arccot 2
5. 3
+ arctan 2
ตอบ 2
ให้มมุ ระหว่าง 𝑏̅ กับ 𝑐̅ คือ 𝜃 → จากสูตรการดอท จะได้ 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = |𝑏̅||𝑐̅| cos 𝜃
𝑏̅ ∙ 𝑐̅ = (1)|𝑐̅| cos 𝜃
𝑏̅ ∙ 𝑐̅
|𝑐̅|
= cos 𝜃 …(∗)

จะหา 𝑏̅ ∙ 𝑐̅ และ |𝑐̅| มาแทนใน (∗) เพือ่ หา 𝜃


28 PAT 1 (ก.พ. 62)

จาก 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅ 𝑎̅ + 𝑏̅ + 𝑐̅ = 0̅
𝑐̅ = −(𝑎̅ + 𝑏̅) 𝑎̅ = −(𝑏̅ + 𝑐̅)
2 2
|𝑐̅|2 = |𝑎̅ + 𝑏̅| |𝑎̅|2 = |𝑏̅ + 𝑐̅|
2 2
|𝑐̅|2 = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| + 2 𝑎̅ ∙ 𝑏̅ |𝑎̅|2 = |𝑏̅| + |𝑐̅|2 + 2 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
2 2
|𝑐̅|2 = |𝑎̅|2 + |𝑏̅| + 2|𝑎̅||𝑏̅| cos 60° 22 = 12 + √7 + 2 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
|𝑐̅|2 = 22 + 12 + 2(2)(1)( ) = 7
1 −4 = 2 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
2
−2 = 𝑏̅ ∙ 𝑐̅
|𝑐̅| = √7
−2 2
แทนใน (∗) จะได้ cos 𝜃 =
√7
→ cos เป็ นลบ แสดงว่า 𝜃 อยูใ่ นจตุภาคที่ 2 → จะได้ 𝜃 = 𝜋 − arccos
√7
(มุมระหว่างเวคเตอร์ จะมีคา่ ได้ตงั้ แต่ 0 ถึง 𝜋)
2 3 √3
√7 → จากสามเหลีย่ ม จะได้ arccos
√7
= arcsin √ = arctan
7 2
√3
2
2 พิจารณาตัวเลือก จะเห็นว่าข้อ 2 เท่านัน้ ที่มีคา่ เท่ากับ 𝜋 − arccos
√7

20. ให้ 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้อน โดยที่ |𝑧 − 2 + 𝑖| = |𝑧 + 2 − 2𝑖| และ |𝑧 + 1| = |𝑧 + 𝑖|


เมื่อ |𝑧| แทนค่าสัมบูรณ์ของ 𝑧 ค่าของ |2𝑧|2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 10 2. 12 3. 15 4. 18 5. 32
ตอบ 4
ให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦𝑖
จาก |𝑧 + 1| = |𝑧 + 𝑖| |𝑧 − 2 + 𝑖| = |𝑧 + 2 − 2𝑖|
|𝑥 + 𝑦𝑖 + 1| = |𝑥 + 𝑦𝑖 + 𝑖| |𝑥 + 𝑦𝑖 − 2 + 𝑖| = |𝑥 + 𝑦𝑖 + 2 − 2𝑖|
|𝑥 + 1 + 𝑦𝑖| = |𝑥 + (𝑦 + 1)𝑖| |𝑥 + 𝑥𝑖 − 2 + 𝑖| = |𝑥 + 𝑥𝑖 + 2 − 2𝑖|
√(𝑥 + 1)2 + 𝑦 2 = √𝑥 2 + (𝑦 + 1)2 |𝑥 − 2 + (𝑥 + 1)𝑖| = |𝑥 + 2 + (𝑥 − 2)𝑖|
𝑥 2 + 2𝑥 + 1 + 𝑦 2 = 𝑥 2 + 𝑦 2 + 2𝑦 + 1 √(𝑥 − 2)2 + (𝑥 + 1)2 = √(𝑥 + 2)2 + (𝑥 − 2)2
2𝑥 = 2𝑦 (𝑥 + 1)2 = (𝑥 + 2)2
2
𝑥 = 𝑦 𝑥 + 2𝑥 + 1 = 𝑥 2 + 4𝑥 + 4
−3 = 2𝑥
3
−2 = 𝑥
3 3 2
จะได้ |2𝑧|2 = |2 (− − 𝑖)|
2 2
= |−3 − 3𝑖|2 = (−3)2 + (−3)2 = 18

21. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับเรขาคณิตของจานวนจริง โดยที่ มีผลบวก 5 พจน์แรกเป็ น 275


 
1
ถ้า  𝑎𝑛 = 243 แล้วค่าของ  2 𝑛−1 𝑎𝑛 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n 1 n 1

1. 0 2. 60.75 3. 121.5 4. 303.75 5. 607.5


ตอบ 4

𝑎1 𝑎1
ใช้สตู รอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ 𝑆∞ =
1−𝑟
จะได้  𝑎𝑛 =
1−𝑟
= 243 …(∗)
n 1
𝑎1 (1−𝑟 𝑛 ) 𝑎1 (1−𝑟 5 )
ใช้สตู รอนุกรมเรขาคณิต 𝑆𝑛 = 1−𝑟
จะได้ผลบวก 5 พจน์แรก 𝑆5 = 1−𝑟
= 275
𝑎1
∙ (1 − 𝑟 5 ) = 275
(1−𝑟)
จาก (∗)
243 ∙ (1 − 𝑟 5 ) = 275
275
1 − 𝑟 5 = 243
PAT 1 (ก.พ. 62) 29

32
− 243 = 𝑟5
2
−3 = 𝑟

แทน 𝑟 ใน (∗) จะได้ 𝑎1


2 = 243
1−(− )
3
5
𝑎1 = 243 ∙ = 405
3

1 1 1 1
โจทย์ถาม  2 𝑛−1 𝑎𝑛 = 𝑎
20 1
+ 21 𝑎2 + 22 𝑎3 + … → แต่ละพจน์มีการเอาพจน์ก่อนหน้ามาคูณ 12 เพิ่มเข้าไป
n 1

→ จะได้อตั ราส่วนร่วมใหม่ = 2𝑟 และพจน์แรก = 210 𝑎1


 1
1 𝑎1 405 405
ใช้สตู รอนุกรมเรขาคณิตอนันต์ จะได้  2𝑛−1
𝑎𝑛 = 20
1−
𝑟 =
1 −(− )( )
2 1 = 4 = 303.75
n 1 2 3 2 3

22. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นพหุนามกาลังสอง ซึง่ มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจานวนจริง ถ้าเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่านจุด (2, 2)
2
และมีจดุ สูงสุดสัมพัทธ์ที่จดุ (1, 3) แล้วค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1
16
1. 7 2. 6 3. 3
4.14
3
5. 8
3
ตอบ 2
ฟั งก์ชนั กาลังสองจะมีกราฟเป็ นรูปพาราโบลา และจุดสูงสุด (1, 3) จะคือจุดยอด (ℎ, 𝑘)
เทียบกับรูปสมการ 𝑦 = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 จะได้สมการกราฟคือ 𝑦 = 𝑎(𝑥 − 1)2 + 3
กราฟผ่าน (2, 2) แสดงว่า (2, 2) ต้องทาให้สมการกราฟเป็ นจริง → 2 = 𝑎(2 − 1)2 + 3
−1 = 𝑎

จะได้ 𝑓(𝑥) = (−1)(𝑥 − 1)2 + 3


= (−1)(𝑥 2 − 2𝑥 + 1) + 3 = −𝑥 2 + 2𝑥 + 2
2 2
𝑥3
ดังนัน้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = − 3
+ 𝑥 2 + 2𝑥 |
1 −1
23 2 (−1)3
= (− 3 + 2 + 2(2)) − (− 3
+ (−1)2 + 2(−1))
8 1
= −3 +4 + 4 −3 − 1 + 2 = 6

23. ให้ 𝑎̅ และ 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วย ถ้า 𝑎̅ + 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์หนึง่ หน่วย
แล้วขนาดของเวกเตอร์ 𝑎̅ × 𝑏̅ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 √2 √3
1. 0 2. 2
3. 2
4. 2
5. 1
ตอบ 4
2
|𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + |𝑏|2 + 2 𝑎̅ ∙ 𝑏̅
2
ให้ 𝜃 เป็ นมุมระหว่าง 𝑎̅ กับ 𝑏̅
|𝑎̅ + 𝑏̅| = |𝑎̅|2 + |𝑏|2 + 2|𝑎̅||𝑏̅| cos 𝜃 𝑎̅ , 𝑏̅ และ 𝑎̅ + 𝑏̅ เป็ นเวกเตอร์ 1 หน่วย
12 = 12 + 12 + 2(1)(1)cos 𝜃
1
−2 = cos 𝜃
มุมระหว่างเวกเตอร์ จะมีคา่ ในช่วง 0° ถึง 180°
120° = 𝜃
√3
จากสูตร จะได้ |𝑎̅ × 𝑏̅| = |𝑎̅||𝑏̅| sin 𝜃 = (1)(1)sin 120° = 2
30 PAT 1 (ก.พ. 62)

24. ผลการสอบของนักเรียนห้องหนึง่ มีการแจกแจงความถี่ ดังนี ้


คะแนน ความถี่
เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนเต็มบวก 30 – 39 2
ถ้าควอร์ไทล์ที่ 1 (𝑄1) ของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 54.5 40 – 49 5
50 – 59 8
แล้วนักเรียนทัง้ หมดในห้องนี ้ มีจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ 60 – 69 7
1. 36 คน 2. 40 คน 70 – 79 𝑎
80 – 89 𝑏
3. 44 คน 4. 48 คน 90 – 99 𝑐
5. 52 คน
ตอบ 3
𝑟 1
( )𝑁−∑ 𝑓 ( )𝑁−∑ 𝑓
ใช้สตู ร 𝑄𝑟 = 𝐿 + 4 𝑓 𝐿 ∙ 𝐼 แทน 𝑟 = 1 จะได้ 𝑄1 = 𝐿 + 4 𝑓 𝐿 ∙ 𝐼 …(∗)
𝑄 𝑄

โจทย์ให้ 𝑄1 = 54.5 อยูใ่ นชัน้ 50 – 59 จะได้ขอบล่าง 𝐿 = 49.5


ชัน้ 50 – 59 มีขอ้ มูล 8 จานวน → จะได้ 𝑓𝑄 = 8
ชัน้ ที่ต่ากว่า 50 – 59 จะได้แก่ 2 ชัน้ แรก ซึง่ มีผลรวมความถี่ = ∑ 𝑓𝐿 = 2 + 5 = 7
ความกว้างอันตรภาคชัน้ = 59.5 − 49.5 = 10
1
( )𝑁 − 7
แทนทุกค่าที่ได้ ใน (∗) จะได้ 54.5 = 49.5 + 4
8
∙ 10
1
4 = (4) 𝑁 – 7
44 = 𝑁

25. กาหนดข้อมูลของประชากรชุดหนึง่ ดังนี ้ 2 , 2 + 𝑑 , 2 + 2𝑑 , 2 + 3𝑑 , … , 2 + 30𝑑


เมื่อ 𝑑 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้าความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับ 320 แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนี ้
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 24.5 2. 32 3. 39.5 4. 47 5. 54.5
ตอบ 2
จะแปลงข้อมูลให้งา่ ยขึน้ โดย ลบ 2 และ ÷ 𝑑
(1) 2 , 2 + 𝑑 , 2 + 2𝑑 , 2 + 3𝑑 , … , 2 + 30𝑑
ลบ 2 ตลอด
(2) 0 , 𝑑 , 2𝑑 , 3𝑑 , … , 30𝑑
÷ 𝑑 ตลอด
(3) 0 , 1 , 2 , 3 , … , 30
จะหา 𝑥̅ และ 𝑠 ของข้อมูลชุด (3) แล้วย้อนการลดทอนข้อมูล กลับไปหา (2) และ (1) ตามลาดับ
0+1+2+ … +30
ข้อมูล 0, 1, 2, … , 30 จะมี 𝑥̅ = 31 𝑛(𝑛+1)
30(30+1) 1+2+3+…+𝑛 = 2
2
= = 15 𝑛(𝑛+1)(2𝑛+1)
31
12 + 22 + 32 + … + 𝑛 2 = 6
∑ 𝑥2
และ 𝑠 = √ 𝑁
− 𝑥̅ 2

02 +12 +22 + … +302


= √ 31
− 152

30(30+1)(2(30)+1)

= √ 6
31
− 152 = √305 − 225 = √80
PAT 1 (ก.พ. 62) 31

คิดย้อนกลับ จะเห็นว่า ข้อมูล (2) ได้จากข้อมูล (3) × 𝑑


ดังนัน้ ข้อมูล (2) จะมี 𝑥̅ = 15𝑑 และมี 𝑠 = √80𝑑 (โจทย์ให้ 𝑑 เป็ นบวก จึงไม่ตอ้ งกลัวว่า 𝑠 จะติดลบ)
ย้อนกลับอีกครัง้ ข้อมูล (1) จะได้จากข้อมูล (2) + 2
ดังนัน้ ข้อมูล (1) จะมี 𝑥̅ = 15𝑑 + 2 และมี 𝑠 = √80𝑑 (การบวกข้อมูลทุกตัวเท่าๆ กัน จะไม่ทาให้ 𝑠 เปลีย่ น)
แต่โจทย์ให้ขอ้ มูล (1) มีความแปรปรวน 320 → จะได้ 𝑠 = √320 ดังนัน้ √80𝑑 = √320
√320 320
𝑑 = = √ 80 = 2
√80

แทนค่า 𝑑 ใน 𝑥̅ = 15𝑑 + 2 จะได้คา่ เฉลีย่ ของข้อมูล (1) คือ 15(2) + 2 = 32

26. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ เป็ นฟั งก์ชนั ทีม่ ีอนุพนั ธ์และสอดคล้องกับ
𝑓:ℝ→ℝ
𝑓(𝑥 + ℎ) − 𝑓(𝑥) = 2ℎ3 + (6𝑥 + 1)ℎ2 + 2𝑥(3𝑥 + 1)ℎ สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 และ ℎ
ถ้าค่าต่าสุดสัมพัทธ์ของ 𝑓 เท่ากับ 4 แล้วค่าของ 𝑓(2) + 𝑓(− 12) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 28 2. 32 3. 34 4. 36 5. 40
ตอบ 1
𝑓(𝑥+ℎ)−𝑓(𝑥) 2ℎ 3 +(6𝑥+1)ℎ 2+2𝑥(3𝑥+1)ℎ
จากสูตร 𝑓 ′ (𝑥) = lim
h0 ℎ
= lim
h0 ℎ
2 (6𝑥
= lim 2ℎ + + 1)ℎ + 2𝑥(3𝑥 + 1)
h0
= 2𝑥(3𝑥 + 1)
+ − +
ค่าต่าสุดสัมพัทธ์ จะเกิดเมื่อ −
1
0
3
𝑓 ′ (𝑥) เปลี่ยนจากลบเป็ นบวก
→ต่าสุดสัมพัทธ์ เมือ่ 𝑥 = 0
โจทย์ให้คา่ ต่าสุดสัมพัทธ์ คือ 4 ดังนัน้ 𝑓(0) = 4
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥) เพื่อหา 𝑓(𝑥) → จาก 𝑓 ′ (𝑥) = 2𝑥(3𝑥 + 1)
𝑓 ′ (𝑥) = 6𝑥 2 + 2𝑥
อินทิเกรต
𝑓(𝑥) = 2𝑥 3 + 𝑥 2 + 𝑐 …(∗)
แทน 𝑥 = 0 𝑓(0) = 2(03 ) + 02 + 𝑐
4 = 𝑐
แทนค่า 𝑐=4 ใน (∗) จะได้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 3 + 𝑥 2 + 4
1 1 3 1 2
ดังนัน้ 𝑓(2) + 𝑓(− 2) = 2(23 ) + 22 + 4 + 2 (− 2) + (− 2) + 4
1 1
= 16 + 4 + 4 + −4 + 4
+ 4 = 28

27. กาหนดให้ 𝕀 แทนเซตของจานวนเต็ม ถ้า 𝑓 : 𝕀 → 𝕀 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(5) = 16


𝑓(𝑛 − 2) + 2𝑛 เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนคี่
และ 𝑓(𝑛) = {
𝑓(𝑛 + 1) − 𝑛 เมื่อ 𝑛 เป็ นจานวนคู่
3
แล้วค่าของ  𝑓(𝑛) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n3

1. 8 2. 10 3. 12 4. 15 5. 24
ตอบ 1
3
จะเห็นว่า  𝑓(𝑛) = 𝑓(−3) + 𝑓(−2) + 𝑓(−1) + … + 𝑓(3)
n3
32 PAT 1 (ก.พ. 62)

โจทย์ให้ 𝑓(5) = 16 → ถ้าแทน 𝑛 = 5 (เป็ นคี่) ใน 𝑓(𝑛) จะใช้สตู รบน และจะหา 𝑓(3) ได้
→ 𝑓(5) = 𝑓(5 − 2) + 2(5)
16 = 𝑓(3) + 10
6 = 𝑓(3)
ทาแบบเดิม จะไล่ยอ้ นหา 𝑓(1) , 𝑓(−1) , 𝑓(3) ได้
แทน 𝑛 = 3 แทน 𝑛 = 1 แทน 𝑛 = −1
𝑓(3) = 𝑓(3 − 2) + 2(3) 𝑓(1) = 𝑓(1 − 2) + 2(1) 𝑓(−1) = 𝑓(−1 − 2) + 2(−1)
6 = 𝑓(1) + 6 0 = 𝑓(−1) + 2 −2 = 𝑓(−3) + −2
0 = 𝑓(1) −2 = 𝑓(−1) 0 = 𝑓(−3)

จะได้เลขคี่ทงั้ หมด → ถัดมา แทน 𝑛 ด้วยเลขคูท่ เี่ หลือ −2 , 0 , 2 จะใช้สตู รล่าง และจะหาเลขคูท่ ี่เหลือได้
แทน 𝑛 = −2 แทน 𝑛 = 0 แทน 𝑛 = 2
𝑓(−2) = 𝑓(−2 + 1) − (−2) 𝑓(0) = 𝑓(0 + 1) − 0 𝑓(2) = 𝑓(2 + 1) − 2
𝑓(−2) = 𝑓(−1) + 2 𝑓(0) = 𝑓(1) 𝑓(2) = 𝑓(3) − 2
𝑓(−2) = −2 +2 𝑓(0) = 0 𝑓(2) = 6 −2
𝑓(−2) = 0 𝑓(2) = 4
3
จะได้  𝑓(𝑛) = 𝑓(−3) + 𝑓(−2) + 𝑓(−1) + … + 𝑓(3)
n3
= 0 + 0 + −2 + 0 + 0 + 4 + 6 = 8

28. กาหนดตารางแสดงพืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง 𝑧 ดังนี ้


𝑧 1.30 1.40 1.50 1.60 1.70
พืน้ ที่ไต้เส้นโค้ง 0.4032 0.4192 0.4332 0.4452 0.4545

ความสูงของนักเรียนกลุม่ หนึง่ มีการแจกแจงปกติ โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 162 เซนติเมตร


ถ้านักเรียนที่มีความสูงน้อยกว่า 155 เซนติเมตรมีอยู่ 8.08% แล้วนักเรียนทีม่ ีความสูง
ในช่วง 155 – 170 เซนติเมตร มีจานวนคิดเป็ นร้อยละเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 82.24 2. 83.84 3. 85.24 4. 86.44 5. 87.46
ตอบ 4
= 0.5 − 0.0808
น้อยกว่า 155 ซ.ม. มี 8.08% → น้อยกว่า 50% ไม่ถึงครึง่ ของนักเรียนทัง้ หมด = 0.4192

ดังนัน้ นักเรียนที่สงู น้อยกว่า 155 ซ.ม. จะคิดเป็ นพืน้ ที่ 8.08


100
= 0.0808 ทางซ้าย 0.0808
จะได้พนื ้ ที่จากแกนกลางเพื่อใช้เปิ ดตาราง = 0.5 − 0.0808 = 0.4192 ดังรูป
𝑥 = 155

จากตาราง เมื่อพืน้ ที่ = 0.4192 จะได้ 𝑧 = 1.40


แต่พนื ้ ที่อยูท่ างซ้าย จะได้ 𝑧 เป็ นลบ → เมื่อ 𝑥 = 155 จะได้ 𝑧 = −1.40
𝑥 − 𝑥̅
→ แทนในสูตร 𝑧𝑖 = 𝑖 𝑠
155−162
โจทย์ให้ 𝑥̅ = 162
−1.40 = 𝑠
−1.4𝑠 = −7
𝑠 = 5
PAT 1 (ก.พ. 62) 33

และเมื่อ 𝑥 = 170 จะได้ 𝑧 = 170𝑠− 𝑥̅ = 170−162


5
= 1.6
เปิ ดตารางจะได้พนื ้ ที่ 0.4452 ดังรูป 0.4192 0.4452

ดังนัน้ ในช่วง 155 – 170 ซ.ม. จะมี 0.4192 + 0.4452


= 0.8644 = 86.44% 𝑥 = 155 𝑥 = 170

29. กาหนดให้สมการจุดประสงค์ 𝑃 = 𝑎𝑥 + 𝑏𝑦 เมื่อ 0 < 𝑎 < 𝑏 ≤ 2𝑎 และอสมการข้อจากัด ดังนี ้


𝑥 + 3𝑦 ≤ 12
𝑥+𝑦 ≥ 4
3𝑦 − 𝑥 ≥ 6
และ 𝑥 ≥ 0 , 𝑦≥0
ถ้าค่ามากที่สดุ ของ 𝑃 เท่ากับ 15 และค่าน้อยที่สดุ ของ 𝑃 เท่ากับ 10.5
แล้วค่าของ 𝑎2 + 𝑏2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 10 3. 13 4. 20 5. 25
ตอบ 3
วาดกราฟ หาส่วนที่แรเงา จะได้ดงั รูป
𝑥 + 3𝑦 ≤ 12 𝑥+𝑦≥4 3𝑦 − 𝑥 ≥ 6
4 4 𝑥≥0,𝑦≥0
2
12 4 −6

ซ้อนทุกรูป แล้วหาส่วนที่แรเงา จะได้พนื ้ ที่ดงั รูป A 3𝑦 − 𝑥 = 6


และจะได้จดุ มุมคือ A, B, C C
B 𝑥 + 3𝑦 = 12
หาพิกดั จุดมุม → จะได้ A(0, 4) ก่อนเลย
𝑥+𝑦=4

B: 3𝑦 − 𝑥 = 6 …(1) C: 3𝑦 − 𝑥 = 6 …(1)
𝑥 + 𝑦 = 4 …(2) 𝑥 + 3𝑦 = 12 …(3)
(1) + (2) : 4𝑦 = 10 (1) + (3) : 6𝑦 = 18
𝑦 = 2.5 𝑦 = 3
(1) : 𝑥 + 2.5 = 4 (3) : 𝑥 + 3(3) = 12
𝑥 = 1.5 𝑥 = 3
จะได้พิกดั B คือ (1.5, 2.5) จะได้พิกดั C คือ (3, 3)
จุดที่ให้คา่ 𝑃 = 𝑎𝑥 + 𝑏𝑦 มากสุด / น้อยสุด จะต้องอยูใ่ น A(0, 4) : 𝑃 = 𝑎(0) + 𝑏(4) = 4𝑏
B(1.5, 2.5) : 𝑃 = 1.5𝑎 + 2.5𝑏
C(3, 3) : 𝑃 = 3𝑎 + 3𝑏
เทียบค่า 𝑃 ทัง้ 3 ค่า ว่าค่าไหนมากกว่าหรือน้อยกว่าค่าไหน (ยังไม่รูว้ า่ ใน ? จะเป็ นเครือ่ งหมาย > หรือ < )
4𝑏 ? 1.5𝑎 + 2.5𝑏 4𝑏 ? 3𝑎 + 3𝑏
1.5𝑏 ? 1.5𝑎 𝑏 ? 3𝑎
𝑏 ? 𝑎
โจทย์ให้ 𝑏 > 𝑎 ดังนัน้ ? ต้องเป็ น > โจทย์ให้ 𝑏 ≤ 2𝑎 ซึง่ จะสรุปได้วา่ 𝑏 < 3𝑎 (เพราะ 𝑎 เป็ นบวก)
ไล่ยอ้ นกลับไป จะได้ 4𝑏 > 1.5𝑎 + 2.5𝑏
ดังนัน้ ? ต้องเป็ น < ไล่ยอ้ นกลับไป จะได้ 4𝑏 < 3𝑎 + 3𝑏
34 PAT 1 (ก.พ. 62)

เรียงค่า จะได้ 1.5𝑎 + 2.5𝑏 < 4𝑏 < 3𝑎 + 3𝑏 ดังนัน้ ค่าน้อยสุด 10.5 = 1.5𝑎 + 2.5𝑏 ×2 ตลอด
21 = 3𝑎 + 5𝑏 …(4)
ค่ามากสุด 15 = 3𝑎 + 3𝑏 …(5)
(4) − (5) : 6 = 2𝑏
3 = 𝑏
(5) : 15 = 3𝑎 + 3(3)
2 = 𝑎
จะได้ 𝑎2 + 𝑏 2 = 22 + 32 = 13

30. จากการสอบถามพนักงานบริษัทแห่งหนึง่ จานวน 𝑛 คน ที่มีเงินเดือนตัง้ แต่ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท
เกี่ยวกับเงินออมต่อเดือน ดังนี ้
พนักงาน เงินเดือน (หมื่นบาท) เงินออม (พันบาท)
คนที่ (𝑎) (𝑏)
1 𝑎1 𝑏1
2 𝑎2 𝑏2
3 𝑎3 𝑏3
⋮ ⋮ ⋮
𝑛 𝑎𝑛 𝑏𝑛

โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตของเงินเดือนเท่ากับ 64,000 บาท ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของเงินออมเท่ากับ 2,000 บาท


และความสัมพันธ์ระหว่างเงินเดือนและเงินออมเป็ นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั แบบเส้นตรง
ถ้าพนักงานมีเงินออม เดือนละ 1,000 บาท ประมาณได้วา่ พนักงานคนนีม้ เี งินเดือน 26,000 บาท
แล้วถ้าพนักงานมีเงินออม เดือนละ 1,500 บาท จะประมาณได้วา่ เขามีเงินเดือนเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 39,000 บาท 2. 45,000 บาท 3. 52,000 บาท
4. 58,000 บาท 5. 65,000 บาท
ตอบ 2
ข้อนี ้ จะทานายเงินเดือน (𝑎) จากเงินออม (𝑏) → ให้ 𝑦 = เงินเดือน (𝑎) และ 𝑥 = เงินออม (𝑏)
สมมติให้สมการทานาย คือ 𝑦̂ = 𝑐 + 𝑚𝑥 จากสูตร จะได้ ∑ 𝑦 = 𝑐𝑛 + 𝑚 ∑ 𝑥 …(1)
∑ 𝑥𝑦 = 𝑐 ∑ 𝑥 + 𝑚 ∑ 𝑥 2 …(2)

ค่าเฉลีย่ เงินเดือน = 64,000 บาท ค่าเฉลีย่ เงินออก = 2,000 บาท


ดังนัน้ 𝑦̅ = 64 (𝑎 มีหน่วยเป็ นหมื่นบาท) ดังนัน้ 𝑥̅ = 2 (𝑏 มีหน่วยเป็ นพันบาท)
∑𝑦 ∑𝑥
= 64 = 2
𝑛 𝑛
∑ 𝑦 = 64𝑛 ∑ 𝑥 = 2𝑛
แทน ∑𝑦 และ ∑𝑥 ใน (1) จะได้ 64𝑛 = 𝑐𝑛 + 𝑚(2𝑛)
64 = 𝑐 + 2𝑚 …(3)
จากโจทย์ เมื่อมีเงินออม 1,000 บาท (𝑥 = 1) จะทานายเงินเดือนได้ 26,000 บาท (𝑦̂ = 26)
แทนในสมการทานาย 𝑦̂ = 𝑐 + 𝑚𝑥
26 = 𝑐 + 𝑚(1) ดังนัน้ เมื่อมีเงินออม 1,500 บาท (𝑥 = 1.5)
26 = 𝑐 + 𝑚 …(4)
(3) − (4) : 38 = 𝑚 จะได้ 𝑦̂ = 𝑐 + 𝑚𝑥
𝑦̂ = −12 + 38(1.5) = 45
(4) : 26 = 𝑐 + 38
−12 = 𝑐 ซื่งคิดเป็ นเงินเดือน 45,000 บาท
PAT 1 (ก.พ. 62) 35

2𝑥+3 𝑥−2
31. ให้ 𝐴 แทนเซตของจานวนจริงทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ √
𝑥−2
+ 3√
2𝑥+3
= 4
ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่นอ้ ยสุดในเซต 𝐴 และ 𝑏 เป็ นจานวนที่มากที่สดุ ในเซต 𝐴
แล้ว 𝑎2 + 𝑏2 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
ตอบ 34
2𝑥+3 𝑥−2 2𝑥+3 𝑥−2 1
สังเกตว่า √
𝑥−2
กับ √
2𝑥+3
เป็ นส่วนกลับกัน → ถ้าให้ √
𝑥−2
= 𝑘 จะได้ √
2𝑥+3
= 𝑘

จะได้สมการคือ 𝑘 + 3(𝑘)
1
= 4
2
𝑘 +3 = 4𝑘
𝑘 2 − 4𝑘 + 3 = 0
(𝑘 − 1)(𝑘 − 3) = 0
𝑘=1, 3
2𝑥+3 2𝑥+3
√ = 1 √ = 3
𝑥−2 𝑥−2
2𝑥+3 2𝑥+3
𝑥−2
= 1 𝑥−2
= 9
2𝑥 + 3 = 𝑥 − 2 2𝑥 + 3 = 9𝑥 − 18 จะได้ 𝑎 = −5 และ 𝑏 = 3
𝑥 = −5 21 = 7𝑥
3 = 𝑥
ดังนัน้ 𝑎2 + 𝑏2 = (−5)2 + 32

32. คนกลุม่ หนึง่ มีผชู้ าย 10 คนและผูห้ ญิง 7 คน โดยมีนาย ก. และนาย ข. รวมอยูด่ ว้ ย จะมีกี่วิธีในการเลือก
คณะกรรมการ 6 คน จากคนกลุม่ นี ้ ประกอบด้วย ผูช้ ายอย่างน้อย 2 คน และผูห้ ญิงอย่างน้อย 3 คน โดยมีเงื่อนไขว่า
นาย ก. และ นาย ข. จะเป็ นกรรมการพร้อมกันไม่ได้
ตอบ 5460
จะใช้วิธีนบั แบบตรงข้าม โดยหาจานวนแบบที่ ช ≥ 2 และ ญ ≥ 3 ทัง้ หมด
แล้วหักออกด้วยจานวนแบบ ช ≥ 2 และ ญ ≥ 3 ที่ ก. ข. เป็ นกรรมการพร้อมกัน
ก็จะได้จานวนแบบ ช ≥ 2 และ ญ ≥ 3 ที่ ก. ข. ไม่เป็ นกรรมการพร้อมกัน
ช ≥ 2 และ ญ ≥ 3 ทัง้ หมด → จะมีแค่ 2 ประเภท คือ ช 2 ญ 4 กับ ช 3 ญ 3
→ กรณี ช 2 ญ 4 เลือก ช 2 คนจาก 10 คน และ ญ 4 คนจาก 7 คน ได้ (10
2
)(74) แบบ
→ กรณี ช 3 ญ 3 ทาแบบเดียวกัน จะได้ (10 3
)(73) แบบ
→ รวมจานวนแบบทัง้ หมด = (10 2
)(74) + (10
3
)(73) แบบ
ช ≥ 2 และ ญ ≥ 3 และ ก. ข. เป็ นกรรมการ → กรณี ช 2 ญ 4 จะมี ช คือ ก. ข. ครบแล้ว เลือก ญ 4 คน ได้ (74) แบบ
→ กรณี ช 3 ญ 3 จะเหลือ ช 1 คนที่ตอ้ งเลือกจาก 8 คน (ที่ไม่รวม ก.ข.)
กับ ญ 3 คน ที่ตอ้ งเลือก จะได้ (81)(73) แบบ
→ รวมจานวนแบบที่ตอ้ งหัก = (74) + (81)(73) แบบ
จะได้คาตอบ = [(10
2
)(74) + (10
3
)(73)] − [(74) + (81)(73)]
= (10
2
)(73) + (10
3
)(73) − (73) − (81)(73)
= (73) [ (10
2
) + (10
3
) − 1 − (81) ]
7∙6∙5 10∙9 10∙9∙8
= 3∙2
∙ [ 2 + 3∙2 − 1 − 8]
= 35 ∙ [ 45 + 120 − 1 − 8] = (35)(156) = 5460
36 PAT 1 (ก.พ. 62)

33. ให้ 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับเลขคณิตของจานวนจริงบวก โดยมีผลบวก 𝑛 พจน์แรกของลาดับ


เท่ากับ 3𝑛2 + 2𝑛 สาหรับ 𝑛 = 1, 2, 3, … ถ้า 12 𝑎2 + 212 𝑎22 + 213 𝑎23 + … + 2110 𝑎210 = 𝑚
แล้วจานวนเต็มบวกที่มากที่สดุ ทีน่ อ้ ยกว่า 𝑚 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 59
จากผลบวก 𝑛 พจน์แรก = 3𝑛2 + 2𝑛 → ผลบวก 1 พจน์แรก คือ 𝑎1 = 3(12 ) + 2(1) = 5
→ ผลบวก 2 พจน์แรก คือ 𝑎1 + 𝑎2 = 3(22 ) + 2(2) = 16
แต่ 𝑎1 = 5 ดังนัน้ จะเหลือ 𝑎2 = 16 − 5 = 11
→ จะได้ 𝑑 = 𝑎2 − 𝑎1 = 11 − 5 = 6
แทน 𝑎1 = 5 และ 𝑑 = 6 ในสูตร 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑
= 5 + (𝑛 − 1)(6)
= 5 + 6𝑛 − 6
= 6𝑛 − 1
1 1 1 1
จะได้ 𝑎
2 2
+ 22 𝑎22 + 𝑎 3
23 2
+ … + 210 𝑎210 = 6(2)−1
+
6(22 )−1
+
6(23 )−1
+ … +
6(210 )−1
2 22 23 210
1 1 1 1
= 6 − 2 + 6 − 22 + 6 − 23 + … + 6 − 210
1 1 1 1
= (6+6+6+…+6) − (2 + 22 + 23 + … + 210 )
𝑎1 (1 − 𝑟 𝑛 )
อนุกรมเรขาคณิต 𝑆𝑛 =
1−𝑟
1
2
1 10
(1−( ) )
2
= 60 − 1
1−
2
1 10
= 60 − (1 − ( ) )
2
1
= 60 − 1 + 210
1
= 59 + 210

1 1
เนื่องจาก 210
มีคา่ น้อยกว่า 1 ดังนัน้ จานวนเต็มที่มากที่สดุ ที่นอ้ ยกว่า 59 + 210
คือ 59

34. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก โดยที่มมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก และมุม A สอดคล้องกับสมการ
2 cos 2𝐴 − 8 sin 𝐴 + 3 = 0 ให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶
ตามลาดับ ถ้า 𝑎 + 𝑐 = 30 แล้วค่าของ 𝑎 sin 𝐴 + 𝑏 sin 𝐵 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 20
2 cos 2𝐴 − 8 sin 𝐴 + 3 = 0
2(1 − 2 sin2 𝐴) − 8 sin 𝐴 + 3 = 0
2 − 4 sin2 𝐴 − 8 sin 𝐴 + 3 = 0
4 sin2 𝐴 + 8 sin 𝐴 − 5 = 0
(2 sin 𝐴 − 1)(2 sin 𝐴 + 5) = 0 𝐵
1 5
sin 𝐴 = 2 , − 2 (sin ต้องอยูใ่ นช่วง [−1, 1]) 𝑐 60°
𝐴 = 30° , 150° (มุมประกอบมุมฉาก ต้องไม่เกิน 90°) 𝑎
30°
จะเหลือ 𝐵 = 180° − 90° − 30° = 60° ดังรูป 𝐴 𝑏 𝐶
𝑎
หาความสัมพันธ์ระหว่าง 𝑎 และ 𝑐 จะได้ sin 𝐴 = sin 30° = 𝑐
แทนในสมการที่โจทย์ให้ 𝑎 + 𝑐 = 30
1 𝑎 𝑎 + 2𝑎 = 30
2
= 𝑐 𝑎 = 10
𝑐 = 2𝑎 และจะได้ 𝑐 = 2(10) = 20
PAT 1 (ก.พ. 62) 37

พีทากอรัส จะได้ 𝑏 = √𝑐 2 − 𝑎2 = √202 − 102 = √300 = 10√3


ดังนัน้ 𝑎 sin 𝐴 + 𝑏 sin 𝐵 = 10 sin 30° + 10√3 sin 60°
1 √3
= 10 ( 2
) + 10√3 ( 2
) = 5 + 15 = 20

35. กาหนดให้ และให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นสับเซตของ 𝑈 โดยที่


𝑈 = { 1, 2, 3, … , 10 } 𝐴 ∩ 𝐵 = { 1, 9 } ,
(𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴) = { 2, 3, 4, 5, 8, 10 } และ 𝑈 − 𝐴 = { 3, 5, 6, 7 }
จานวนสมาชิกของเซต 𝐴 × 𝐵 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 24
𝐴 𝐵
1
จาก 𝐴 ∩ 𝐵 = { 1, 9 } จะได้สว่ นตรงกลาง = 1, 9 ดังรูป 9

𝐴 𝐵
จาก 𝑈 − 𝐴 = { 3, 5, 6, 7 } จะได้ 3, 5, 6, 7 ต้องไม่อยูใ่ น 𝐴 2 4 1
ดังนัน้ สมาชิกที่เหลือ 1, 2, 4, 8, 9, 10 ต้องอยูใ่ น 𝐴 ดังรูป 8 10 9

จาก (𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴) = { 2, 3, 4, 5, 8, 10 } 𝐴 𝐵
2 4 1 3
แสดงว่า 3 กับ 5 ต้องอยูใ่ นซีกทางขวา ดังรูป 8 10 9 5
จะได้ 𝑛(𝐴 × 𝐵) = 𝑛(𝐴) × 𝑛(𝐵) = 6 × 4 = 24

36. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓:ℝ→ℝ และ 𝑔 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชน



𝑥−2 ; 𝑥≤4 𝑥+2 ; 𝑥<1
โดยที่ 𝑓(𝑥) = {
3𝑥 − 10 ; 𝑥 > 4
และ 𝑔(𝑥) = {1
(𝑥 + 5) ; 𝑥 ≥ 1
2
ถ้า (𝑓 ∘ 𝑔−1 )(𝑥) = 2 แล้ว 𝑥 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 4.5
(𝑓 ∘ 𝑔−1 )(𝑥) = 2 ไม่รูว้ า่ ต้องใช้ 𝑓 สูตรไหน เพราะไม่รูว้ า่ 𝑔(𝑥) ≤ 4 หรือ > 4
𝑓(𝑔−1 (𝑥)) = 2 จะลุยใช้ทงั้ 2 สูตร แล้วค่อยดูความเป็ นไปได้ของเงื่อนไขทีหลัง
กรณี 𝑔−1 (𝑥) ≤ 4 → ใช้ 𝑓 สูตรบน กรณี 𝑔−1 (𝑥) > 4 → ใช้ 𝑓 สูตรล่าง

𝑔−1 (𝑥) − 2 = 2 3𝑔−1 (𝑥) − 10 = 2


𝑔−1 (𝑥) = 4 → ไม่ขดั แย้ง 3𝑔−1 (𝑥) = 12
−1 (𝑥)
𝑥 = 𝑔(4) 𝑔 = 4
4≥1
ใช้ 𝑔 สูตรล่าง 𝑥 =
1
(4 + 5) ขัดแย้งกับเงื่อนไข 𝑔−1 (𝑥) > 4
2
𝑥 = 4.5 กรณีนีจ้ งึ ใช้ไม่ได้
38 PAT 1 (ก.พ. 62)

37. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจานวนจริงบวก 𝑥 ทัง้ หมดที่สอดคล้องกับสมการ (log 3 9𝑥)2 − 3 log √3 𝑥 − 7 = 0


ผลคูณของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝐴 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 9
(log 3 9𝑥)2 − 3 log √3 𝑥 − 7 = 0
2
(log 3 9 + log 3 𝑥) − 3 log 1 𝑥−7 = 0
32
3
( 2 + log 3 𝑥)2 − 1 log 3 𝑥 − 7 = 0 ให้ log 3 𝑥 = 𝑘
2
𝑘 = −1 , 3
( 2 + 𝑘 )2 − 6 𝑘 − 7 = 0
log 3 𝑥 = −1 , 3
4 + 4𝑘 + 𝑘 2 − 6𝑘 − 7 = 0
𝑥 = 3−1 , 33
𝑘 2 − 2𝑘 − 3 = 0
(𝑘 + 1)(𝑘 − 3) = 0 จะได้ผลคูณคาตอบ = 3−1 × 33 = 32 = 9

38. กาหนดให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ที่นยิ ามโดย 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 𝑥 + 𝑎 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 + 𝑏𝑥 สาหรับทุก
จานวนจริง 𝑥 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็ม ถ้า (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
แล้ว 𝑓(𝑏) + 𝑔(𝑎) เท่ากับเท่าใด
ตอบ 2
โจทย์ให้ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) สาหรับ 𝑥 ทุกตัว → จะจัดรูปตามกาลังของ 𝑥 แล้วเทียบสัมประสิทธิ์
(𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑔(𝑥))
= 𝑓(𝑥 2 + 𝑏𝑥)
= (𝑥 2 + 𝑏𝑥)2 − (𝑥 2 + 𝑏𝑥) + 𝑎
= 𝑥 4 + 2𝑏𝑥 3 + 𝑏 2 𝑥 2 − 𝑥 2 − 𝑏𝑥 + 𝑎
= 𝑥 4 + 2𝑏𝑥 3 + (𝑏 2 − 1)𝑥 2 − 𝑏𝑥 + 𝑎

(𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑔(𝑓(𝑥)) (𝑎 + 𝑏 + 𝑐)2 = 𝑎2 + 𝑏 2 + 𝑐 2


= 𝑔(𝑥 2 − 𝑥 + 𝑎) + 2𝑎𝑏 + 2𝑎𝑐 + 2𝑏𝑐
= (𝑥 2 − 𝑥 + 𝑎)2 + 𝑏(𝑥 2 − 𝑥 + 𝑎)
= 𝑥 4 + 𝑥 2 + 𝑎2 − 2𝑥 3 + 2𝑎𝑥 2 − 2𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 2 − 𝑏𝑥 + 𝑎𝑏
= 𝑥 4 − 2𝑥 3 + 𝑥 2 + 2𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 2 − 2𝑎𝑥 − 𝑏𝑥 + 𝑎2 + 𝑎𝑏
= 𝑥 4 − 2𝑥 3 + (1 + 2𝑎 + 𝑏)𝑥 2 − (2𝑎 + 𝑏)𝑥 + 𝑎2 + 𝑎𝑏

เทียบ สปส 𝑥 3 เทียบ สปส 𝑥 2 ตรวจสอบ สปส 𝑥 ตรวจสอบพจน์คา่ คงที่


2
2𝑏 = −2 𝑏 − 1 = 1 + 2𝑎 + 𝑏 𝑏 = 2𝑎 + 𝑏 𝑎 = 𝑎2 + 𝑎𝑏
𝑏 = −1 (−1)2 − 1 = 1 + 2𝑎 + (−1) −1 = 2(0) + (−1)  0 = 02 + 0(−1) 
0 = 𝑎
ดังนัน้ 𝑓(𝑏) + 𝑔(𝑎) = 𝑏 2 − 𝑏 + 𝑎 + 𝑎2 + 𝑎𝑏
= (−1)2 − (−1) + 0 + 02 + 0(−1) = 2


𝑥 𝑥+√1+𝑥
39. ค่าของ lim 3
x0 √8+𝑥 − 2
เท่ากับเท่าใด
ตอบ 12
ลองแทน 𝑥 = 0 จะได้ 00 → ต้องจัดรูปให้ 𝑥 โผล่มาตัดกันก่อน
 เศษมี 𝑥 พร้อมตัดอยูแ่ ล้ว → ไม่ตอ้ งจัดรู ปเศษ
 ส่วนเป็ น √ ต้องคูณให้เข้าสูตรผลต่างกาลังสาม (น − ล)(น2 + นล + ล2 ) น3 − ล3
3
=
PAT 1 (ก.พ. 62) 39

3 2 3 2
𝑥√𝑥+√1+𝑥 √8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 3
(𝑥√𝑥+√1+𝑥)( √8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 )
3
3 ∙3 2 3 =
√8+𝑥 − 2 √8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 3 3
√8+𝑥 − 23
3 2 3
(𝑥√𝑥+√1+𝑥)( √8+𝑥 + 2 √8+𝑥 + 22 )
= 𝑥
3 3 2
= (√𝑥 + √1 + 𝑥) ( √8 + 𝑥 + 2 √8 + 𝑥 + 22 )
2
ตัด 𝑥 ได้แล้ว ลองแทน 𝑥 = 0 ใหม่ 3 3
→ (√0 + √1 + 0) ( √8 + 0 + 2 √8 + 0 + 22 )
=( 1 )( 4 + 4 + 4) = 12

40. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นจานวนจริงจัดเรียงกันเป็ นลาดับเรขาคณิต โดยที่ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 14


และ 𝑎 , 𝑏 + 3 , 𝑐 + 4 จัดเรียงกันเป็ นลาดับเลขคณิต ค่าของ 𝑎2 + 𝑏2 + 𝑐 2 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 84
ให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐 มีอตั ราส่วนร่วม = 𝑟 → จากสมบัติของลาดับเรขาคณิต จะได้ 𝑏 = 𝑎𝑟 และ 𝑐 = 𝑎𝑟 2
แทนในสมการ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 14
𝑎 + 𝑎𝑟 + 𝑎𝑟 2 = 14
𝑎(1 + 𝑟 + 𝑟 2 ) = 14 …(1)
โจทย์ให้ 𝑎, 𝑏+3, 𝑐+4 เป็ นลาดับเลขคณิต → จากสมบัตขิ องลาดับเลขคณิต จะได้
𝑏+3−𝑎 = (𝑐 + 4) − (𝑏 + 3)
𝑎𝑟 + 3 − 𝑎 = 𝑎𝑟 2 + 4 − 𝑎𝑟 − 3
2 = 𝑎𝑟 2 − 2𝑎𝑟 + 𝑎
2 = 𝑎(𝑟 2 − 2𝑟 + 1) …(2)
𝑎(1+𝑟+𝑟 2 ) 14
(1) ÷ (2) จะทาให้ 𝑎 ตัดกันได้ : 𝑎(𝑟 2 −2𝑟+1)
= 2
2
1+𝑟+𝑟 = 7𝑟 2 − 14𝑟 + 7
0 = 6𝑟 2 − 15𝑟 + 6
0 = 2𝑟 2 − 5𝑟 + 2
0 = (2𝑟 − 1)(𝑟 − 2)
1
𝑟 = 2
, 2
1 1
กรณี 𝑟 = 12 แทนใน (1) : 𝑎 (1 + 2 + 4) = 14 กรณี 𝑟 = 2 แทนใน (1) : 𝑎(1 + 2 + 4) = 14
4+2+1 𝑎 = 2
𝑎( ) = 14
𝑎
4
= 8
จะได้ลาดับ 𝑎, 𝑏, 𝑐 คือ 2,4,8

จะได้ลาดับ 𝑎, 𝑏, 𝑐 คือ 8 , 4 , 2
จะเห็นว่าทัง้ 2 กรณี ได้ตวั เลขเหมือนกัน → จะได้ 𝑎2 + 𝑏 2 + 𝑐 2 = 22 + 42 + 82 = 84
40 PAT 1 (ก.พ. 62)

คะแนน จานวนนักเรียน (คน)


41. กาหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงผลทดสอบของนักเรียนห้องหนึง่ ดังนี ้
0 𝑎−2
1 𝑎
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนเต็มบวก 2 𝑎2
3 (𝑎 + 1)2
ถ้าคะแนนเฉลีย่ เลขคณิตของผลทดสอบเท่ากับ 2.8 4 2𝑎
แล้วจานวนนักเรียนห้องนีเ้ ท่ากับเท่าใด 5 𝑎+1
ตอบ 60
จากสูตร ค่าเฉลีย่ = ผลรวมคะแนน ÷ จานวนคน
ผลรวมคะแนน = (0)(𝑎 − 2) + (1)(𝑎) + (2)(𝑎2 ) + (3)(𝑎 + 1)2 + (4)(2𝑎) + (5)(𝑎 + 1)
= 0 + 𝑎 + 2𝑎2 + 3𝑎2 + 6𝑎 + 3 + 8𝑎 + 5𝑎 + 5
= 5𝑎2 + 20𝑎 + 8
จานวนคน = (𝑎 − 2) + 𝑎 + 𝑎2 + (𝑎 + 1)2 + 2𝑎 + (𝑎 + 1)
= 𝑎 − 2 + 𝑎 + 𝑎2 + 𝑎2 + 2𝑎 + 1 + 2𝑎 + 𝑎 + 1
= 2𝑎2 + 7𝑎 …(∗)
5𝑎 2 +20𝑎+8
จะได้ ค่าเฉลีย่ 2.8 =
2𝑎 2 +7𝑎
14 5𝑎 2 +20𝑎+8
=
5 2𝑎 2 +7𝑎
2 2
28𝑎 + 98𝑎 = 25𝑎 + 100𝑎 + 40
3𝑎2 − 2𝑎 − 40 = 0
(3𝑎 + 10)(𝑎 − 4) = 0
10
𝑎 = − , 4
3

แต่ 𝑎 = − 10
3
ไม่ได้ เพราะจะทาให้บางแถวมีจานวนคน ไม่เป็ นจานวนเต็มบวก → เหลือ 𝑎=4 ค่าเดียว
แทนค่า 𝑎 = 4 ใน (∗) จะได้จานวนคน = 2(42 ) + 7(4) = 60

42. ให้ ℝ เป็ นเซตของจานวนจริงให้ 𝑓:ℝ→ℝ เป็ นฟั งก์ชนั


2
𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 + 4 ;𝑥 ≥ 0
โดยที่ 𝑓(𝑥) = { เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง
4𝑥 + 𝑐 ;𝑥 < 0
1
9
ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริงและสอดคล้องกับ 𝑓 ′ (3) + 𝑓(3) = 45 และ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =
2
0

แล้วค่าของ 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑏) + 𝑓(𝑐) เท่ากับเท่าใด


ตอบ 76
𝑓 ต่อเนื่อง แสดงว่าตรงรอยต่อของทัง้ สองสูตร (ที่ 𝑥 = 0) ต้องได้คา่ เท่ากัน 𝑎(02 ) + 𝑏(0) + 4 = 4(0) + 𝑐
4 = 𝑐
เมื่อ 𝑥 = 3 ≥ 0 จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 4 → ใช้ใน 𝑓 ′ (3) + 𝑓(3) = 45
𝑓 ′ (𝑥) = 2𝑎𝑥 + 𝑏 2𝑎(3) + 𝑏 + 𝑎(32 ) + 𝑏(3) + 4 = 45
15𝑎 + 4𝑏 = 41 …(1)
1 1
และเมื่อ 𝑥 ∈ (0, 1) จะได้ 𝑥 ≥ 0 จะได้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 =  (𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 4) 𝑑𝑥
0 0
9 𝑎𝑥 3 𝑏𝑥 2 1
2
= 3
+ 2
+ 4𝑥 |
0
9 𝑎 𝑏
= ( + + 4) − (0)
2 3 2
27 = 2𝑎 + 3𝑏 + 24
2𝑎 + 3𝑏 = 3 …(2)
PAT 1 (ก.พ. 62) 41

3×(1) − 4×(2) : 3(15𝑎 + 4𝑏) − 4(2𝑎 + 3𝑏) = 3(41) − 4(3)


37𝑎 = 111
𝑎 = 3 → แทนใน (2) : 2(3) + 3𝑏 = 3
𝑏 = −1
3𝑥 2 − 𝑥 + 4 ;𝑥 ≥ 0
แทนค่า 𝑎 = 3 , 𝑏 = −1 , 𝑐 = 4 จะได้ 𝑓(𝑥) = {
4𝑥 + 4 ;𝑥 < 0
และจะได้ 𝑓(𝑎) + 𝑓(𝑏) + 𝑓(𝑐) = 𝑓(3) + 𝑓(−1) + 𝑓(4)
= 3(32 ) − 3 + 4 + 4(−1) + 4 + 3(42 ) − 4 + 4 = 76

43. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเซตของลาดับเลขคณิต 1, 4, 7, 10, …


ให้ 𝑓(𝑥) = 5𝑥 + 3 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 + 4 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
𝑓(𝑥) ; 𝑥∈𝐴
ถ้าℎ(𝑥) = { −1 แล้วค่าของ ℎ(ℎ(ℎ(100))) เท่ากับเท่าใด
𝑔 (𝑥) ; 𝑥 ∉ 𝐴
ตอบ 2498
ค่า ℎ(ℎ(ℎ(100))) หาได้โดย เอา 100 มาหาค่า ℎ ไป 3 ครัง้
หา ℎ(100) : สังเกตว่าตัวเลขใน 𝐴 บวกเพิ่มทีละ 3 ดังนัน้ ทุกตัวใน 𝐴 จะหารด้วย 3 เหลือเศษเท่ากัน คือเหลือเศษ 1
100 หารด้วยด้วย 3 เหลือเศษ 1 ดังนัน ้ 100 ∈ 𝐴 นั่นคือ ℎ(100) จะใช้สตู รบน
ได้ ℎ(100) = 𝑓(100) = 5(100) + 3 = 503
หา ℎ(503) : 503 หารด้วย 3 เหลือเศษ 2 ดังนัน้ 503 ∉ 𝐴 นั่นคือ ℎ(503) จะใช้สตู รล่าง
ได้ ℎ(503) = 𝑔−1 (503) → ต้องหา 𝑔−1(𝑥) ก่อน
จาก 𝑔(𝑥) = 𝑥 + 4
𝑥 = 𝑔−1 (𝑥 + 4)
ให้ 𝑘 = 𝑥+4
𝑥 = 𝑔−1 ( 𝑘 ) 𝑘−4 = 𝑥
𝑘−4 = 𝑔−1 ( 𝑘 )
แทน 𝑘 ด้วย 𝑥
𝑥−4 = 𝑔−1 ( 𝑥 )
จะได้ 𝑔−1 (𝑥) = 𝑥 − 4

ดังนัน้ ℎ(503) = 𝑔−1 (503) = 503 − 4 = 499


หา ℎ(499) : 499 หารด้วย 3 เหลือเศษ 1 ดังนัน
้ 499 ∈ 𝐴 นั่นคือ ℎ(499) จะใช้สตู รบน
ได้ ℎ(499) = 𝑓(499) = 5(499) + 3 = 2498
นั่นคือ ℎ(ℎ(ℎ(100))) = ℎ(ℎ(503)) = ℎ(499) = 2498

44. กล่องใบหนึง่ มีลกู บอลสีแดง ลูกบอลสีเขียวและลูกบอลสีเหลือง โดยมีจานวนลูกบอลสีแดงคิดเป็ นร้อยละ 30 และมี


จานวนลูกบอลสีเขียวคิดเป็ นร้อยละ 20 ถ้าเพิ่มจานวนลูกบอลสีเหลืองอีก 20 ลูก ใส่ลงในกล่องใบนี ้ พบว่าจานวน
ลูกบอลสีเหลืองคิดเป็ นร้อยละ 60 จงหาว่าในกล่องใบนีม้ ีจานวนลูกบอลสีแดงทัง้ หมดกี่ลกู
ตอบ 24
มีสแี ดง 30% สีเขียว 20% → ที่เหลือเป็ น สีเหลือง 50% → มีสเี หลืองครึง่ หนึง่ ของลูกบอลทัง้ หมด
ถ้าสมมติให้มีสเี หลือง 𝑥 ลูก จะมีลกู บอลทัง้ หมด = 2𝑥 ลูก
ถ้าเพิม่ สีเหลือง 20 ลูก จะทาให้มีสเี หลือง 𝑥 + 20 ลูก และลูกบอลทัง้ หมดจะเพิ่มเป็ น 2𝑥 + 20 ลูก
𝑥+20 60 3
หลังเพิ่ม จะมีสเี หลือง 60% แสดงว่า 2𝑥+20 = 100 = 5
5𝑥 + 100 = 6𝑥 + 60
40 = 𝑥
42 PAT 1 (ก.พ. 62)

นั่นคือ เดิมมีสเี หลือง 40 ลูก จากลูกบอลทัง้ หมด 2(40) = 80 ลูก


30
มีลกู บอลสีแดง 30% จะคิดเป็ น 100 × 80 = 24 ลูก

1
𝑎 2 −1 3
0 0
45. กาหนดให้ 𝐵=[ 3 𝑏 2] เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง และ 𝐶 = [0 1
−2 0]
−1 3 𝑐
0 0 1
4𝑎 + 1 1
ถ้า 𝐴 เป็ นเมทริกซ์ที่มมี ิติ 3 × 3 โดยที่ 𝐴𝐵 = 𝐶 และ 𝐴 [5𝑏 + 2] = [−2]
4𝑐 + 3 3
แล้ว ค่าของ 𝑎+𝑏+𝑐 เท่ากับเท่าใด
ตอบ 23
ข้อนีห้ า 𝐴 จากการแก้สมการ 𝐴𝐵 = 𝐶 ค่อนข้างยาก เพราะไม่รูค้ า่ 𝑎, 𝑏, 𝑐 ใน 𝐵 ทาให้หา 𝐵−1 ลาบาก
แต่จะเห็นว่าโจทย์ให้ 𝐶 มาครบทุกสมาชิก → หา 𝐶 −1 ง่ายกว่า 𝐵−1
( det 𝐶 = (13) (− 12) (1) ≠ 0 แสดงว่า 𝐶 −1 และ 𝐴−1 หาค่าได้ )
4𝑎 + 1 1
→ จะหา 𝐴−1 จาก 𝐴𝐵 = 𝐶 แทน แล้วค่อยนา 𝐴−1 ไปใช้ใน 𝐴 [5𝑏 + 2] = [−2]
𝐵 = 𝐴−1 𝐶 4𝑐 + 3 3
𝐵𝐶 = 𝐴−1 …(1)
−1
4𝑎 + 1 1
−1
[5𝑏 + 2] = 𝐴 [−2] …(2)
4𝑐 + 3 3

หา 𝐶 −1 โดยการแก้สมการ 𝐶𝑋 = 𝐼 ด้วยเมทริกซ์แต่งเติม [ 𝐶 | 𝐼 ] เพื่อหาค่า 𝑋


1
0 0 1 0 0 1 0 0 3 0 0 3 0 0
3 3𝑅1
[ 0 −1 0 0 1 0 ] −2𝑅 2 [ 0 1 0 | 0 −2 0 ] → จะได้ 𝑋 = [0 −2 0] = 𝐶 −1
2 ~ 0 0 1 0 0 1 0 0 1
0 0 1 0 0 1
𝑎 2 −1 3 0 0 3𝑎 −4 −1
แทน 𝐵 และ 𝐶 −1 ใน (1) จะได้ 𝐴−1 = [ 3 𝑏 2 ] [0 −2 0] = [ 9 −2𝑏 2]
−1 3 𝑐 0 0 1 −3 −6 𝑐
4𝑎 + 1 3𝑎 −4 −1 1
แทน 𝐴−1 ใน (2) จะได้ [5𝑏 + 2] = [ 9 −2𝑏 2 ] [−2]
4𝑐 + 3 −3 −6 𝑐 3
4𝑎 + 1 3𝑎 + 5
[5𝑏 + 2] = [4𝑏 + 15]
4𝑐 + 3 3𝑐 + 9

ดังนัน้ 4𝑎 + 1 = 3𝑎 + 5 5𝑏 + 2 = 4𝑏 + 15 4𝑐 + 3 = 3𝑐 + 9
𝑎 = 4 𝑏 = 13 𝑐 = 6
จะได้ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 4 + 13 + 6 = 23

เครดิต
ขอบคุณ ข้อสอบ และเฉลย จาก อ.ปิ๋ ง GTRmath
ขอบคุณ คุณครูเบิรด์ จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ครูเบิรด์ ย่านบางแค 081-8285490
และ คุณ บุญช่วย ฤทธิเทพ
PAT 1 (ก.พ. 62) 43

และ คุณ คณิต มงคลพิทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book
และ คุณ Chonlakorn Chiewpanich
และ คุณ Potae Kitti
และ คุณ Wichakpol Krasapkan ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like

  • Old webExamPat1PAT16202 PDF
    Old webExamPat1PAT16202 PDF
    Document43 pages
    Old webExamPat1PAT16202 PDF
    Praphat Khamsom
    No ratings yet
  • PAT162
    PAT162
    Document16 pages
    PAT162
    Pattaraporn Thaisakornphun
    No ratings yet
  • Pat15711 PDF
    Pat15711 PDF
    Document38 pages
    Pat15711 PDF
    Sarud Udomchalermpat
    No ratings yet
  • Pat 15703
    Pat 15703
    Document32 pages
    Pat 15703
    napat
    No ratings yet
  • PAT15711
    PAT15711
    Document38 pages
    PAT15711
    ผู้ชาย ลัลล้า
    No ratings yet
  • Asso 5411
    Asso 5411
    Document18 pages
    Asso 5411
    Onewinny Neung
    No ratings yet
  • Asso5411 PDF
    Asso5411 PDF
    Document18 pages
    Asso5411 PDF
    Onewinny Neung
    No ratings yet
  • Pat 15910
    Pat 15910
    Document44 pages
    Pat 15910
    napat
    No ratings yet
  • Pat 1 (63) Pat 1
    Pat 1 (63) Pat 1
    Document38 pages
    Pat 1 (63) Pat 1
    napat
    No ratings yet
  • ANET4902
    ANET4902
    Document13 pages
    ANET4902
    อาจารย์ยุทธ ราชภัฏ
    No ratings yet
  • PAT16003
    PAT16003
    Document45 pages
    PAT16003
    Sarud Udomchalermpat
    No ratings yet
  • PAT15903
    PAT15903
    Document43 pages
    PAT15903
    Sarud Udomchalermpat
    No ratings yet
  • Pat 1 (60) Pat 1
    Pat 1 (60) Pat 1
    Document45 pages
    Pat 1 (60) Pat 1
    napat
    No ratings yet
  • Untitled
    Untitled
    Document15 pages
    Untitled
    Aoffany 555
    No ratings yet
  • Ctms 5601
    Ctms 5601
    Document15 pages
    Ctms 5601
    Jirapat Thonglekpech
    No ratings yet
  • 04คณิต
    04คณิต
    Document17 pages
    04คณิต
    1percentclean
    No ratings yet
  • แบบฝึกหัด
    แบบฝึกหัด
    Document18 pages
    แบบฝึกหัด
    chaibunruangk
    No ratings yet
  • Untitled
    Untitled
    Document9 pages
    Untitled
    Aoffany 555
    No ratings yet
  • Screenshot 2567-03-10 at 23.56.20
    Screenshot 2567-03-10 at 23.56.20
    Document32 pages
    Screenshot 2567-03-10 at 23.56.20
    ปภังกร มาแพ
    No ratings yet
  • Math A-level 1 Mar 66 Rathcenter
    Math A-level 1 Mar 66 Rathcenter
    Document32 pages
    Math A-level 1 Mar 66 Rathcenter
    Chalee Inkate
    No ratings yet
  • ANET5103
    ANET5103
    Document16 pages
    ANET5103
    kaizerten51
    No ratings yet
  • Ctms 5701
    Ctms 5701
    Document17 pages
    Ctms 5701
    Jirapat Thonglekpech
    No ratings yet
  • Ctms 16404
    Ctms 16404
    Document26 pages
    Ctms 16404
    Pattaraporn Thaisakornphun
    No ratings yet
  • Ctms 16404
    Ctms 16404
    Document26 pages
    Ctms 16404
    นายประพัฒน์ ดวงประทีปรัตน์
    No ratings yet
  • PAT1เฉลย61
    PAT1เฉลย61
    Document43 pages
    PAT1เฉลย61
    แสน ธรรมดา
    No ratings yet
  • ANET5203
    ANET5203
    Document13 pages
    ANET5203
    kaizerten51
    No ratings yet
  • Pat 1 (56) Pat 1
    Pat 1 (56) Pat 1
    Document28 pages
    Pat 1 (56) Pat 1
    napat
    No ratings yet
  • Ctms 16303
    Ctms 16303
    Document24 pages
    Ctms 16303
    นฤพนธ์ สายเสมา
    No ratings yet
  • Pat 15910
    Pat 15910
    Document44 pages
    Pat 15910
    จตุรพัฒน์ ภัควนิตย์
    No ratings yet
  • PAT15910
    PAT15910
    Document44 pages
    PAT15910
    Sarud Udomchalermpat
    No ratings yet
  • Functn Pat 1
    Functn Pat 1
    Document23 pages
    Functn Pat 1
    Sukhonthip Sripaoraya
    No ratings yet
  • Ctms 16303
    Ctms 16303
    Document25 pages
    Ctms 16303
    napat
    No ratings yet
  • ข้อสอบโควตา มข คณิต 2557
    ข้อสอบโควตา มข คณิต 2557
    Document12 pages
    ข้อสอบโควตา มข คณิต 2557
    Saowalak Kingnakom
    No ratings yet
  • 9 วิชาสามัญ 65
    9 วิชาสามัญ 65
    Document27 pages
    9 วิชาสามัญ 65
    Yeah Janu
    No ratings yet
  • 07 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
    07 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
    Document23 pages
    07 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
    us.ntntsix
    No ratings yet
  • คณิตสามัญ65
    คณิตสามัญ65
    Document12 pages
    คณิตสามัญ65
    Panyapat Srisawat
    No ratings yet
  • 6 - 1 ALevel16603
    6 - 1 ALevel16603
    Document19 pages
    6 - 1 ALevel16603
    KruJune Kantaporn
    No ratings yet
  • Realยฟะ1
    Realยฟะ1
    Document15 pages
    Realยฟะ1
    Pattrawut Rukkachart
    No ratings yet
  • Pat1 ก.ค. 52
    Pat1 ก.ค. 52
    Document18 pages
    Pat1 ก.ค. 52
    Fluffy Chaeng
    No ratings yet
  • Asso 5711
    Asso 5711
    Document32 pages
    Asso 5711
    Onewinny Neung
    No ratings yet
  • PAT1 เมษา57 PDF
    PAT1 เมษา57 PDF
    Document37 pages
    PAT1 เมษา57 PDF
    Tanwarat Chaikaew
    No ratings yet
  • PAT1
    PAT1
    Document25 pages
    PAT1
    deltafox007
    No ratings yet
  • Pat 15503
    Pat 15503
    Document24 pages
    Pat 15503
    ผู้ชาย ลัลล้า
    No ratings yet
  • Pat 15803
    Pat 15803
    Document17 pages
    Pat 15803
    สฮาบูดีน สาและ
    No ratings yet
  • RATH Center 4
    RATH Center 4
    Document24 pages
    RATH Center 4
    V-academy Maths
    No ratings yet
  • Ctms 26303
    Ctms 26303
    Document22 pages
    Ctms 26303
    ppooksiri
    No ratings yet
  • Expo LG Pat 1
    Expo LG Pat 1
    Document28 pages
    Expo LG Pat 1
    Best Bulerbie
    No ratings yet
  • Asso 5611
    Asso 5611
    Document30 pages
    Asso 5611
    Onewinny Neung
    No ratings yet
  • Ctms 16103
    Ctms 16103
    Document24 pages
    Ctms 16103
    Jitatch_k
    No ratings yet
  • Ctms 5801
    Ctms 5801
    Document20 pages
    Ctms 5801
    Jirapat Thonglekpech
    No ratings yet
  • TRGN FN Asso
    TRGN FN Asso
    Document10 pages
    TRGN FN Asso
    Onewinny Neung
    No ratings yet
  • Ctms16103 230305 174602
    Ctms16103 230305 174602
    Document25 pages
    Ctms16103 230305 174602
    Win Withawint
    No ratings yet
  • RATH Center 3
    RATH Center 3
    Document22 pages
    RATH Center 3
    V-academy Maths
    No ratings yet
  • Real Ss Pat 1
    Real Ss Pat 1
    Document18 pages
    Real Ss Pat 1
    อลงกรณ์ แซ่ตั้ง
    No ratings yet
  • DatAnlPat1 PDF
    DatAnlPat1 PDF
    Document21 pages
    DatAnlPat1 PDF
    happy love
    No ratings yet
  • O-Net (59) 1
    O-Net (59) 1
    Document22 pages
    O-Net (59) 1
    Minit
    No ratings yet
  • เฉลย PAT 1 พฤศจิกายน 2557 PDF
    เฉลย PAT 1 พฤศจิกายน 2557 PDF
    Document60 pages
    เฉลย PAT 1 พฤศจิกายน 2557 PDF
    วิสาร ศศิวิบูลย์วงศ์
    No ratings yet
  • Ctms 16303
    Ctms 16303
    Document25 pages
    Ctms 16303
    napat
    No ratings yet
  • Biology 62
    Biology 62
    Document34 pages
    Biology 62
    napat
    No ratings yet
  • Ie Ie Ie Ie Ie Ie Ie
    Ie Ie Ie Ie Ie Ie Ie
    Document23 pages
    Ie Ie Ie Ie Ie Ie Ie
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15711
    Pat 15711
    Document38 pages
    Pat 15711
    napat
    No ratings yet
  • 59
    59
    Document21 pages
    59
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15510
    Pat 15510
    Document27 pages
    Pat 15510
    napat
    No ratings yet
  • 1
    1
    Document25 pages
    1
    napat
    No ratings yet
  • 60
    60
    Document27 pages
    60
    napat
    No ratings yet
  • 56
    56
    Document15 pages
    56
    napat
    No ratings yet
  • Pat 1 (54) Pat 1: 4 2 Sin Cos Cos Cos
    Pat 1 (54) Pat 1: 4 2 Sin Cos Cos Cos
    Document19 pages
    Pat 1 (54) Pat 1: 4 2 Sin Cos Cos Cos
    napat
    No ratings yet
  • Pat 16102
    Pat 16102
    Document43 pages
    Pat 16102
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15503
    Pat 15503
    Document24 pages
    Pat 15503
    napat
    No ratings yet
  • Pat 1 (58) Pat 1
    Pat 1 (58) Pat 1
    Document40 pages
    Pat 1 (58) Pat 1
    napat
    No ratings yet
  • Pat 1 (56) Pat 1
    Pat 1 (56) Pat 1
    Document28 pages
    Pat 1 (56) Pat 1
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15210
    Pat 15210
    Document19 pages
    Pat 15210
    napat
    No ratings yet
  • Pat 1 (54) Pat 1
    Pat 1 (54) Pat 1
    Document23 pages
    Pat 1 (54) Pat 1
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15207
    Pat 15207
    Document18 pages
    Pat 15207
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15310
    Pat 15310
    Document19 pages
    Pat 15310
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15307
    Pat 15307
    Document18 pages
    Pat 15307
    napat
    No ratings yet
  • Pat 1 (63) Pat 1
    Pat 1 (63) Pat 1
    Document38 pages
    Pat 1 (63) Pat 1
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15910
    Pat 15910
    Document44 pages
    Pat 15910
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15203
    Pat 15203
    Document19 pages
    Pat 15203
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15303
    Pat 15303
    Document18 pages
    Pat 15303
    napat
    No ratings yet
  • Pat 1 (60) Pat 1
    Pat 1 (60) Pat 1
    Document45 pages
    Pat 1 (60) Pat 1
    napat
    No ratings yet
  • Abc
    Abc
    Document44 pages
    Abc
    napat
    No ratings yet
  • Pat 1 (53) Pat 1
    Pat 1 (53) Pat 1
    Document19 pages
    Pat 1 (53) Pat 1
    napat
    No ratings yet
  • Asdf
    Asdf
    Document44 pages
    Asdf
    napat
    No ratings yet
  • Pat 15903
    Pat 15903
    Document43 pages
    Pat 15903
    napat
    No ratings yet