You are on page 1of 23

1

❖ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
• วิชาสามัญ คณิต1
ข้อที่ 1. กำหนดวงกลมรัศมียาว 1 หน่วย ดังรูป
ให้ มุม 𝐴𝑂𝐵 มีขนาด 𝛼 เรเดียน โดยที่ 𝛼 ∈ (0, 𝜋2)
𝜋
และ มุม 𝐴𝑂𝐷 มีขนาด 𝛽 เรเดียน โดยที่ 𝛽 ∈ ( 2 , 𝜋)
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) 𝐴𝐵 = sin 𝛼
ข) 𝐵𝐶 = √2 − 2 sin 𝛼
𝜋
ค) ส่วนโค้ง 𝐶𝐷 ยาว 𝛽 − 2 หน่วย
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง (วิชาสามัญ คณิต1 มี.ค. 65)
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านั้น
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านั้น
4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านั้น
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

ข้อที่ 2. เซตคำตอบของสมการ 4 sin 5𝜃 = 3 เมื่อ 𝜃 ∈ [0,3𝜋] มีสมาชิกทั้งหมดกี่ตัว (วิชาสามัญ คณิต1 มี.ค. 65)
2

ข้อที่ 3. ให้ 𝐴 แทนความยาวของส่วนโค้งของวงกลมที่วัดจากจุด (2, 0) ไปยังจุด (−√3, 𝑦) โดยที่ 𝑦 > 0


และมุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมมีขนาด 𝛼 เรเดียน ดังรูปที่ 1
ให้มุมที่จุดศูนย์กลางของวงกลมหนึ่งหน่วย ที่รองรับด้วยส่วนโค้งที่ยาว 𝐴 หน่วยมีขนาด 𝛽 เรเดียน ดังรูปที่ 2

cos 𝛼 + sin 𝛽 เท่ากับเท่าใด (วิชาสามัญ คณิต1 เม.ย. 64)


1. −√3
1 √3
2. −2− 2
1 √3
3. −
2 2
4. 1
5. √3

ข้อที่ 4. ให้ฟังก์ชัน 𝑓: 𝑅 → 𝑅 โดยที่ 𝑓(𝑥 ) = 12 sin(2𝑥) พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก) แอมพลิจูดของ 𝑓 เท่ากับ 0.5
2𝜋 2𝜋
ข) 𝑓 ( 7 ) < 𝑓 ( 5 )
ค) ถ้า 𝑛 เป็นจำนวนเต็มแล้ว 𝑓(𝑥 + 𝑛𝜋) = 𝑓(𝑥)
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง (วิชาสามัญ คณิต1 เม.ย. 64)
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
2. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านั้น
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านั้น
4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านั้น
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
3

𝜋 sin2 3𝜃 cos2 3𝜃
ข้อที่ 5. กําหนดให้ 𝜃 ∈ (0, 2 ) ถ้า sin2 𝜃 − cos2 𝜃
= 1 แล้ว cos 𝜃 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(วิชาสามัญ คณิต1 มี.ค. 63)
1
1.
8
2
2. 5
3
3. 7
2
4. 3
3
5.
4

ข้อที่ 6. cos4 (5𝜋


12
) − sin 4 5𝜋
( 12 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต1 มี.ค. 62 ข้อ3)
√3
1. − 2
1
2. −
√2
1
3. − 2
4. 0
1
5.
√2

ข้อที่ 7. ในรูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶 ถ้า 𝐴𝐶 = 2√3, 𝐵𝐶 = 5 และ 𝐴̂ = 120° แล้ว cos 𝐶 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(วิชาสามัญ คณิต1 มี.ค. 62 ข้อ14)
1
1. 2
1
2.
√2
4+3√3
3. 10
2+3√2
4. 8
2+4√3
5. 10
4

ข้อที่ 8. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มี 𝐶̂ เป็นมุมฉาก และ 𝐴̂ ≤ 𝐵̂


ถ้า (cos 2𝐴 + cos 𝐵)2 + (sin 2𝐴 + sin 𝐵)2 = 3 แล้ว tan 3𝐴 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(วิชาสามัญ คณิต1 ม.ค. 57)
1. −√3
2. −1
1
3.
√3
4. 1
5. √3

ข้อที่ 9. ถ้า arccos(9𝑥 2) + arcsin(6𝑥 − 1) = 𝜋2 แล้ว 𝑥 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


(วิชาสามัญ คณิต1 มี.ค. 61 ข้อ4)
1. 0
1
2. 12
1
3. 8
1
4. 4
1
5. 3

ข้อที่ 10. เซตของจำนวนเต็มสามจำนวนในข้อใดต่อไปนี้ ที่เป็นความยาวด้านของด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมป้านได้


(วิชาสามัญ คณิต1 มี.ค. 61 ข้อ16)
1. {1, 2, 3}
2. {2, 3, 4}
3. {3, 4, 5}
4. {4, 5, 6}
5. {5, 6, 7}

ข้อที่ 11. กำหนดให้ 𝐴, 𝐵 ∈ (0, 𝜋2) ถ้า tan 𝐴 = 2 และ tan 𝐵 = 3 แล้ว 𝐴 + 𝐵 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(วิชาสามัญ คณิต1 ธ.ค. 59)
𝜋
1. 4
𝜋
2.
3
3𝜋
3. 4
4𝜋
4. 3
5𝜋
5. 4
5

ข้อที่ 12. กำหนดรูปสี่เหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶𝐷 ดังรูป


โดยมีด้าน 𝐵𝐶, 𝐴𝐶 และ 𝐴𝐷 ยาวเท่ากับ 5, 7 และ 8 หน่วย ตามลำดับ
มี 𝐵𝐴̂ 𝐷 = 90° และ 𝐶𝐵̂ 𝐴 = 120°
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐶𝐷 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต1 ธ.ค. 59)
1. 22 ตารางหน่วย
2. 24 ตารางหน่วย 7
3. 28 ตารางหน่วย
4. 28√2 ตารางหน่วย
5. 28√3 ตารางหน่วย

𝜋 3
ข้อที่ 13. tan [ 4 + 𝑎𝑟𝑐𝑠𝑖𝑛 (− 5)] มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต1 ธ.ค. 58 ข้อ 6)
1
1. − 7
1
2. − 9
1
3. 9
1
4. 7
5. 9

ข้อที่ 14. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่วซึ่งมีด้าน 𝐴𝐵 = 𝐴𝐶 ถ้ามุม A = 150° และด้าน 𝐵𝐶 ยาว


เท่ากับ 16 หน่วย แล้วพื้นที่สามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต1 ธ.ค. 58 ข้อ 14)
64
1. 3
ตารางหน่วย
2. 64(2 − √3) ตารางหน่วย
3. 32(3 − √2) ตารางหน่วย
4. 64 ตารางหน่วย
5. 64(2 + √3) ตารางหน่วย

ข้อที่ 15. ผลบวกของคำตอบทั้งหมดของสมการ 2 arcsin(𝑥 2 − 3𝑥 + 1) + 𝜋 = 0 มีค่าเท่ากับเท่าใด


(วิชาสามัญ คณิต1 ม.ค. 57)
6

ข้อที่ 16. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีด้าน 𝐴𝐵 และ 𝐴𝐶 ยาวเท่ากับ 3 หน่วย และ 5 หน่วย ตามลำดับ
1
ถ้า arccos (− 15) = 𝐵 + 𝐶 แล้วด้าน 𝐵𝐶 ยาวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต1 ม.ค. 58 ข้อ16)
1. 4√2 หน่วย
2. 4√3 หน่วย
3. 4√5 หน่วย
4. 5√2 หน่วย
5. 5√3 หน่วย

ข้อที่ 17. กำหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็นความยาวด้านตรงข้างมุม 𝐴 และมุม 𝐵 ของรูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶 ตามลำดับ


ถ้า 2𝑏 = 3𝑎 และ 𝐵̂ = 2𝐴̂ แล้ว cos 𝐴 มีค่าเท่ากับเท่าใด (วิชาสามัญ คณิต1 ม.ค. 56 ข้อ3)

ข้อที่ 18. กำหนดให้ 𝛼, 𝛽 ∈ [−𝜋, 0] ถ้า sinα + sin 𝛽 = − 23 และ cos 𝛼 + cos 𝛽 = √3
2

แล้ว 𝛼 + 𝛽 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต1 ม.ค. 56 ข้อ16)


𝜋
1. − 6
𝜋
2. − 3
2𝜋
3. − 3
4𝜋
4. − 3
5𝜋
5. − 3

ข้อที่ 19. sec 2 (2 tan−1 √2) มีค่าเท่ากับเท่าใด (วิชาสามัญ คณิต1 ม.ค. 55 ข้อ3)

ข้อที่ 20. กำหนดให้รูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶 มีมุม 𝐴 และมุม 𝐵 เป็นมุมแหลม ถ้า cos 2𝐴 + 3 cos 2𝐵 = −2 และ
cos 𝐴 − √2 cos 𝐵 = 0 แล้ว cos 𝐶 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (วิชาสามัญ คณิต1 ม.ค. 55 ข้อ16)
1
1. (√3 − √2)
5
1
2. (√3 + √2)
5
1
3. (2√3 − √2)
5
1
4. (√2 + 2√3)
5
1
5. (2√2 − √3)
5
7

• PAT1
ข้อที่ 21. ถ้า 𝑎 เป็นจำนวนจุดตัดของกราฟของ 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 กับกราฟของ 𝑦 = 1 บนช่วง [0, 2𝜋)
𝑏 เป็นจำนวนจุดตัดของกราฟของ 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 กับกราฟของ 𝑦 = −1 บนช่วง [0, 2𝜋)
และ 𝑐 เป็นจำนวนจุดตัดของกราฟของ 𝑦 = 3 cos 𝑥 + 3 กับกราฟของ 𝑦 = 2 sin2 𝑥 บนช่วง [0, 2𝜋)
แล้ว 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 เท่ากับเท่าใด (PAT1 มี.ค. 65)
1. 3
2. 4
3. 5
4. 6
5. 7

ข้อที่ 22. ให้จุด 𝑃1 และ 𝑃2 เป็นจุดบนวงกลมหนึ่งหน่วย โดยที่จุด 𝑃1 มีพิกัดเป็น (1, 0) และส่วนโค้ง 𝑃1𝑃2
ยาว 𝜋 + 𝜃 หน่วย เมื่อ 𝜃 ∈ (0, 𝜋) ถ้า (sin 𝜃)(tan 𝜃 ) < 0 และ |sin 𝜃| = 12 แล้ว
จุด 𝑃2 มีพิกัดเป็นเท่าใด (PAT1 มี.ค. 65)
√3 1
1. ( 2 , − 2)
1 √3
2. (2 , − )
2
√3 1
3. (− , − 2)
2
1 √3
4. (− 2 , )
2
√3 1
5. (− 2 , 2)

ข้อที่ 23. กำหนดให้ 𝑓(𝑥 ) = 12 cos (𝜋𝑥


2
) และ 𝑔(𝑥 ) = 2 sin(2𝑥 ) พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) ฟังก์ชัน 𝑔𝑓 เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง [0,2]
ข) แอมพลิจูดของฟังก์ชัน 𝑔 เป็น 4 เท่าของแอมพลิจูดของฟังก์ชัน 𝑓
ค) คาบของฟังก์ชัน 𝑓 เป็น 2 เท่าของคาบของฟังก์ชัน 𝑔
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง (PAT1 มี.ค. 64)
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านั้น
4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านั้น
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
8

ข้อที่ 24. กำหนดให้รูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶 มีมุม 𝐵 เป็นมุมฉาก และ ̅̅̅̅


𝐵𝐷 ตั้งฉากกับ ̅̅̅̅
𝐴𝐶 ดังรูป

ถ้า 𝐴𝐶
̅̅̅̅ มีความยาวเป็น 𝑛 เท่าของความยาวของ 𝐵𝐷
̅̅̅̅ เมื่อ 𝑛 เป็นจำนวนเต็มบวก
แล้ว 𝑛 cos(𝐴 − 𝐶 ) เท่ากับเท่าใด (PAT1 มี.ค. 64)
1. 4
2. 2
3. 1
4. 0
5. –2

ข้อที่ 25. กำหนดให้ 0° < 𝐴 < 90° ถ้า 𝑎 เป็นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ


𝑎 sin(−𝐴) tan(270°+𝐴)
− = 3 sec 300° แล้ว 𝑎 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.พ. 63)
sin(180°+𝐴) tan(90°−𝐴)

1. – 7
2. –5
3. 3
4. 5
5. 7

ข้อที่ 26. ค่าของ tan (3𝜋


1
+ 2 arctan ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.พ. 63)
4 2
1. –1
1
2. − 7
1
3. 7
4. 1
5. 2
9

ข้อที่ 27. กำหนดให้ − 𝜋2 < 𝑥 < 0 และ cos 𝑥 + sin 𝑥 = √5


5
ค่าของ tan 𝑥 − cot 𝑥 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.พ. 63)
3
1. −2
1
2. −2
3. 0
1
4. 2
3
5.
2

5 5 sin 𝐴+cot 𝐴
ข้อที่ 28. ให้ sec 𝐴 = − 3 และ sin 𝐴 > 0 เมื่อ 0 < 𝐴 < 2𝜋 ค่าของ 1+cot 𝐴 cosec 𝐴 เท่ากับเท่าใด
(PAT1 ก.พ. 63)

17𝜋 10𝜋
ข้อที่ 29. ค่าของ arccos (sin 7
) − arcsin (sin 7
) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.พ. 62 ข้อ6)
5𝜋
1. − 14
𝜋
2. 14
2𝜋
3. 7
𝜋
4. 2
3𝜋
5. 2

ข้อที่ 30. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้าม มุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶 เท่ากับ 𝑎 หน่วย
𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลำดับ ถ้า 𝑏 = 𝑎(√3 − 1) และ มุม 𝐶 มีขนาด 30° แล้ว ค่าของ sin 3𝐵
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.พ. 62 ข้อ15)
√3
1. − 2
√2
2. − 2
3. 1
√2
4. 2
√3
5. 2
10

ข้อที่ 31. ค่าของ sin (4 arctan 13) tan (2 arctan 17) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.พ. 61 ข้อ 4)
5
1. 24
7
2. 25
7
3. 24
12
4. 25
13
5. 25

𝜋
ข้อที่ 32. ถ้า 0 < 𝐴, 𝐵 < 2 สอดคล้องกับ (1 + tan 𝐴)(1 + tan 𝐵) = 2
𝐴+𝐵
แล้วค่าของ tan2 ( 2
) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.พ. 61 ข้อ 7)
1. 3 − 2√2
2. 3 + 2√2
3. 5 − 2√2
4. 1 + √2
5. 1 + 2√2

ข้อที่ 33. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยมีความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ 60 หน่วย


ถ้าความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 และมุม 𝐵 เท่ากับ 𝑎 หน่วย และ 𝑏 หน่วย ตามลำดับ
𝐴+𝐶 𝐵+𝐶
แล้วค่าของ 𝑎sin2 ( ) + 𝑏sin2 ( ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.พ. 61 ข้อ 16)
2 2
1. 30
2. 30 + 𝑎
3. 60
4. 60 + 𝑎 + 𝑏
5. 150

ข้อที่ 34. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่มุม 𝐶 เป็นมุมฉาก และมุม 𝐴 สอดคล้องกับสมการ


2 cos 2𝐴 − 8 sin 𝐴 + 3 = 0 ให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็นความยาวของด้านตรงข้าม มุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶
ตามลำดับ ถ้า 𝑎 + 𝑐 = 30 แล้วค่าของ 𝑎 sin 𝐴 + 𝑏 sin 𝐵 เท่ากับเท่าใด (PAT1 ก.พ. 62 ข้อ35)
11

ข้อที่ 35. ค่าของ 2 (arctan 18 − arctan 23) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 60)
4
1. arcsin 5
4
2. − arcsin 5
4
3. 𝜋 − arcsin 5
3
4. − arctan 4
3
5. 𝜋 − arctan 4

ข้อที่ 36. กำหนดให้ 𝑎 = cos 50° + cos 20° และ 𝑏 = sin 50° − sin 20° ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
(PAT1 มี.ค. 60)
𝑎 2 +𝑏2
1. sin 20° = 2
2 𝑎 2 +𝑏 2
2. 𝑠𝑖𝑛 35° = 4
3. 𝑐𝑜𝑠 2 35° = 𝑎𝑏
𝑎 2 +𝑏 2
4. 𝑡𝑎𝑛2 35° = 4𝑎𝑏
5. cos 70° = (𝑎 + 𝑏)2 − 1

1 1
ข้อที่ 37. กำหนดให้ 0 < 𝜃 < 90° ถ้า 𝑚 = 4 (1 + sin 𝜃 ) cot 𝜃 และ 𝑛 = 4 (1 − sin 𝜃) cot 𝜃
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) (𝑚2 − 𝑛2)2 = 𝑚𝑛
ข) sin 𝜃 = 𝑚−𝑛
𝑚+𝑛
ค) 𝑚2 + 𝑛2 = 18 cot 2 𝜃 cos2 𝜃
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 มี.ค. 60)
1. ข้อ ก) และ ข้อ ข) ถูก แต่ ข้อ ค) ผิด
2. ข้อ ก) และ ข้อ ค) ถูก แต่ ข้อ ข) ผิด
3. ข้อ ข) และ ข้อ ค) ถูก แต่ ข้อ ก) ผิด
4. ข้อ ก) ข้อ ข) และ ข้อ ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ ก) ข้อ ข) และ ข้อ ค) ผิดทั้งสามข้อ

ข้อที่ 38. ถ้า 2 sin2 𝜃 = 3 cos 𝜃 เมื่อ 0 ≤ 𝜃 ≤ 𝜋2 แล้วค่าของ cosec 2 (𝜋2 − 𝜃) cos2 𝜃 + cosec
tan 𝜃
2𝜃
เท่ากับเท่าใด (PAT1 มี.ค. 60)
12

ข้อที่ 39. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นสามเหลี่ยมโดยที่มีความยาวด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶 เท่ากับ 𝑎 หน่วย


1 1
𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลำดับ ถ้า 𝑏 = ,𝑐 = และมุม 𝐴 มีขนาด 60°
√6+√2 √6−√2
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) 𝑎 = √32
ข) sin2 𝐵 + sin2𝐶 = 1
ค) sin 𝐵 + sin 𝐶 = √3 2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 ต.ค. 59 ข้อ18)
1. ข้อ ก) และ ข้อ ข) ถูก แต่ ข้อ ค) ผิด
2. ข้อ ก) และ ข้อ ค) ถูก แต่ ข้อ ข) ผิด
3. ข้อ ข) และ ข้อ ค) ถูก แต่ ข้อ ก) ผิด
4. ข้อ ก) ข้อ ข) และ ข้อ ค) ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ ก) ข้อ ข) และ ข้อ ค) ผิดทั้งสามข้อ

ข้อที่ 40. ให้ 𝐴 เป็นเซตของจำนวนจริง 𝑥 ∈ (0, 2𝜋) ทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ cos 2𝑥 + sin 𝑥 = tan 225°
𝜃
ถ้า 𝜃 เป็นผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต 𝐴 แล้วค่าของ cos 𝜃 − cos 3 เท่ากับเท่าใด
(PAT1 ต.ค. 59 ข้อ34)

ข้อที่ 41. ค่าของ 13 sin (2 arctan 23) + 4tan2 (arccos 23) เท่ากับเท่าใด (PAT1 ต.ค. 59 ข้อ36)

ข้อที่ 42. ให้ 𝑎 = (sin2 𝜋8) (sin2 3𝜋


8
) และ 𝑏 = (sin 2 3𝜋
8
) − (sin 2𝜋
8
) ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
(PAT1 มี.ค. 59)
1. 𝑏2 − 4𝑎 = 0
2. 4𝑏2 − 8𝑎 = 3
3. 16𝑎2 − 8𝑏2 = 1
4. 4𝑎2 + 𝑏2 = 1
5. 4𝑎2 + 4𝑏2 = 1
13

ข้อที่ 43. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุม 𝐶 เป็นมุมแหลม ถ้า 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุม 𝐴


มุม 𝐵 และมุม 𝐶 ตามลำดับ โดยที่ 𝑎4 + 𝑏4 + 𝑐 4 = 2(𝑎2 + 𝑏2 )𝑐 2
แล้วมุม 𝐶 สอดคล้องกับสมการในข้อใดต่อไปนี้
(PAT1 มี.ค. 59)
1. sin 2𝐶 = cos 𝐶
2. 2 tan 𝐶 = cosec 2 𝐶
3. sec 𝐶 + 2 cos 𝐶 = 4
4. 4 cosec 2 𝐶 − cos 2 𝐶 = 1
5. tan2 𝐶 + 2 cos(2𝐶 ) = 2

ข้อที่ 44. ค่าของ 4 sin 40° − tan 40° ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 59)
1. cos 405°
2. sin 420°
3. sec(−60°)
4. tan(−120°)
5. cot(−135°)

sin 𝜃
ข้อที่ 45. กำหนด 0 < 𝜃 < 90° และให้ 𝐴 = arcsin (√1+sin2 𝜃 ) , 𝐵 = arctan(1 − sin 𝜃 ) และ
𝐶 = arctan √sin 𝜃 − sin2 𝜃 ถ้า 𝐴 + 𝐵 = 2𝐶 แล้วค่าของ 3sin4 𝜃 + cos 4 𝜃 เท่ากับเท่าใด
(PAT1 มี.ค. 59)

(1+sin 𝜃) sec2 𝜃
ข้อที่ 46. ถ้า 2cot 𝜃2 = (1 + cot 𝜃 )2 และ 0 < 𝜃 < 𝜋2 แล้วค่าของ cos 2𝜃
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT1 ต.ค. 58 ข้อ5)
1. 0.125
2. 0.25
3. 1
4. 2
5. 4
14

ข้อที่ 47. พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก) ถ้า 𝐴 และ 𝐵 เป็นจำนวนจริง สอดคล้องกับสมการ sin2 𝐵 = sin 𝐴 cos 𝐴
แล้ว cos 2𝐵 = 2cos2(45° + 𝐴)
ข) ถ้า 0 ≤ 𝐴, 𝐵 ≤ 𝜋2 สอดคล้องกับ sin𝐴 = √2sin𝐵 และ √3 sec 𝐵 = √2 sec 𝐴
แล้ว sin10𝐴 + cos10𝐵 = 0.5
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 เม.ย. 57 ข้อ13)
1. ข้อ ก) ถูก และ ข้อ ข) ถูก
2. ข้อ ก) ถูก แต่ ข้อ ข) ผิด
3. ข้อ ก) ผิด แต่ ข้อ ข) ถูก
4. ข้อ ก) ผิด และ ข้อ ข) ผิด

ข้อที่ 48. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุม 𝐵 และมุม 𝐶 เป็นมุมแหลม โดยที่


25cos 𝐵 − 13 cos 𝐶 = 15, 65(cos 𝐵 + cos 𝐶 ) = 77
และด้านตรงข้ามมุม 𝐶 ยาว 20 หน่วย ความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶 เท่ากับเท่าใด
(PAT1 เม.ย. 57 ข้อ32)

ข้อที่ 49. ถ้า cos 5𝜃 = 𝑎 cos5 𝜃 + 𝑏 cos3 𝜃 + 𝑐 cos 𝜃 เมื่อ 𝜃 เป็นจำนวนจริงใด ๆ


แล้วค่าของ 𝑎2 +𝑏2 + 𝑐 2 เท่ากับเท่าใด (PAT1 เม.ย. 57 ข้อ33)

ข้อที่ 50. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่ จุดยอด 𝐴 จุดยอด 𝐵 และจุดยอด 𝐶 อยู่บนเส้นรอบวงของวงกลมวง
หนึ่งมีรัศมีเท่ากับ 𝑅 หน่วย ถ้าความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 และมุม 𝐵 เท่ากับ 𝑎 และ 𝑏 หน่วยตามลำดับ
มุม 𝐴𝐵̂ 𝐶 เท่ากับ 18° และมุม 𝐴𝐶̂ 𝐵 เท่ากับ 36° แล้วค่าของ 𝑎 − 𝑏 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT1 มี.ค. 58)
1. 𝑅
1
2. 𝑅
2
1
3. 𝑅
4
1
4. 𝑅
16
15

ข้อที่ 51. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมใด ๆ โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶


เท่ากับ 𝑎 หน่วย 𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลำดับ ถ้ามุม 𝐴 มีขนาดมากกว่า 90° มุม 𝐵 มีขนาด 45° และ
√2𝑐 = (√3 − 1)𝑎 แล้ว cos 2 (𝐴 − 𝐵 − 𝐶 ) + cos 2 𝐵 + cos 2 𝐶 เท่ากับเท่าใด
(PAT1 มี.ค. 57)

2 cos 10°−cos 50°


ข้อที่ 52. ค่าของ arctan ( sin 70°−cos 80° ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 58)
1. 15°
2. 30°
3. 45°
4. 60°

ข้อที่ 53. ถ้า 𝛼 และ 𝜃 เป็นจำนวนจริงโดยที่ 0 < 𝜃 < 𝛼 < 90° และสอดคล้องกับสมการ
tan(𝛼 + 𝜃) = 5 tan(𝛼 − 𝜃) แล้ว (sin 2𝜃 )(cosec 2𝛼 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 58)
5
1. 6
5
2. 4
3
3. 2
2
4.
3

ข้อที่ 54. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยมีความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶 เท่ากับ 𝑎 หน่วย
𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลำดับ สมมติว่ามุม 𝐴 มีขนาดเป็นสามเท่าของมุม 𝐵 และ 𝑎 = 2𝑏
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก) 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ข) ถ้า 𝑎 = 𝑘𝑐 แล้ว 𝑘 สอดคล้องกับ 3𝑥 3 − 9𝑥 2 − 𝑥 + 3 = 0
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 พ.ย. 57 ข้อ3)
1. ข้อ ก) ถูก และ ข้อ ข) ถูก
2. ข้อ ก) ถูก แต่ ข้อ ข) ผิด
3. ข้อ ก) ผิด แต่ ข้อ ข) ถูก
4. ข้อ ก) ผิด และ ข้อ ข) ผิด
16

ข้อที่ 55. กำหนดให้ 𝜃 เป็นจำนวนจริงใด ๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก) 16 sin3 𝜃 cos2 𝜃 = 2 sin 𝜃 + sin 3𝜃 − sin 5𝜃
ข) sin 3𝜃 = (sin 2𝜃 + sin 𝜃)(2 cos 𝜃 − 1)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 มี.ค. 57)
1. ข้อ ก) ถูก และ ข้อ ข) ถูก
2. ข้อ ก) ถูก แต่ ข้อ ข) ผิด
3. ข้อ ก) ผิด แต่ ข้อ ข) ถูก
4. ข้อ ก) ผิด และ ข้อ ข) ผิด

ข้อที่ 56. cot (arccos√23 − arccos 1+√6


2√3
) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 57)

2
1. √
3

1
2. √3
1+√6
3. 2√3
4. √3

ข้อที่ 57. ถ้า 𝑥 และ 𝑦 เป็นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ 3sin(𝑥 − 𝑦) = 2sin(𝑥 + 𝑦) แล้ว


(tan3 𝑥 )(cot 3 𝑦) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 57)
1. 8
2. 27
3. 64
4. 125

ข้อที่ 58. พิจารณาข้อความต่อไปนี้


cos 10∘ −sin 10∘
ก) cos 10∘ +sin 10∘
= sec 20∘ − tan 20∘
ข) √3 cot 20 = 1 + 4 cos 20∘

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 มี.ค. 56 ข้อ9)


1. ข้อ ก) ถูก และ ข้อ ข) ถูก
2. ข้อ ก) ถูก แต่ ข้อ ข) ผิด
3. ข้อ ก) ผิด แต่ ข้อ ข) ถูก
4. ข้อ ก) ผิด และ ข้อ ข) ผิด
17

ข้อที่ 59. ถ้า 𝑥 เป็นจำนวนจริงที่มากสุด โดยที่ 0 < 𝑥 < 1 และสอดคล้องกับ


1
arctan(1 − 𝑥 ) + arccot (2𝑥) = 2arcsec√1 + 2𝑥(1 − 𝑥 )
แล้วค่าของ cos 𝜋𝑥 ตรงกับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 56 ข้อ10)
1. – 1
2. 0
1
3. 2
√3
4. 2

ข้อที่ 60. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้าด้านตรงข้ามมุม 𝐴 ยาว 14 หน่วย ความยาวของเส้นรอบรูป


สามเหลี่ยมเท่ากับ 30 หน่วยและ 3 sin 𝐵 = 5 sin 𝐶 แล้ว sin 2𝐴 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT1 มี.ค. 56 ข้อ16)
1
1. − 2
√3
2. − 2
1
3. 2
√3
4. 2

ข้อที่ 61. พิจารณาข้อความต่อไปนี้


𝜋 3𝜋 1
ก) cos 5 + cos 5
+ cos π = 2
7𝜋 3𝜋 𝜋
ข) tan 16 − tan 8 = cosec 8
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 ต.ค. 55 ข้อ8)
1. ข้อ ก) ถูก และ ข้อ ข) ถูก
2. ข้อ ก) ถูก แต่ ข้อ ข) ผิด
3. ข้อ ก) ผิด แต่ ข้อ ข) ถูก
4. ข้อ ก) ผิด และ ข้อ ข) ผิด
18

ข้อที่ 62. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 ต.ค. 55 ข้อ9)


1. cos 75° = (2 − √3) cos 15°
2. cos 10° + sin 40° = cos 20°
3. ถ้า 𝐴 เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว tan 3𝐴
cot 𝐴
cos 2𝐴+cos 4𝐴
= cos 2𝐴−cos 4𝐴
4. ถ้า 𝐴 และ 𝐵 เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว sin 2𝐴 + cos 2𝐵 = 2 sin(𝐴 − 𝐵)cos(𝐴 + 𝐵)

1 2 𝜋
ข้อที่ 63. ถ้า arcsec 𝑥 = arcsin √17 − 2 arccos √5 แล้ว cot ( 2 + arcsec 𝑥) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT1 ต.ค. 55 ข้อ10)
13
1. − 9
13
2. 9
13
3. − 16
13
4. 16

ข้อที่ 64. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมใด ๆ ถ้า 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็นความยาวด้านของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵


1 1 3
และมุม 𝐶 ตามลำดับ โดยที่ + = แล้ว sin𝐶 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ต.ค. 55 ข้อ16)
𝑎+𝑐 𝑏+𝑐 𝑎+𝑏+𝑐
√2
1. 2
1
2. 2
√3
3.
2
4. 1

ข้อที่ 65. ค่าของ sec 2 (2 arctan 13 + arctan 17) เท่ากับเท่าใด (PAT1 ต.ค. 55 ข้อ28)

ข้อที่ 66. ให้ 𝜃 เป็นจำนวนจริงใด ๆ ถ้า 𝑎 และ 𝑏 เป็นค่ามากสุดของ cos4 𝜃 − sin4 𝜃


และ 3sin𝜃 + 4cos𝜃 ตามลำดับ แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด (PAT1 ต.ค. 55 ข้อ29)
19

ข้อที่ 67. ให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยมี 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶 ตามลำดับ
ถ้ามุม 𝐶 = 60°, 𝑏 = 5 และ 𝑎 − 𝑐 = 2 แล้วความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้(PAT1 มี.ค. 55)
1. 25
2. 29
3. 37
4. 45

ข้อที่ 68. จงหาค่าของ 2sin260°(tan 5° + tan 85°) − 12sin 70° (PAT1 มี.ค. 55)

tan 20°+4 sin 20°


ข้อที่ 69. จงหาค่าของ sin 20° sin 40° sin 80° (PAT1 ธ.ค. 54 ข้อ31)

3 5
ข้อที่ 70. ให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยม โดยที่ sin 𝐴 = 5 และ cos 𝐵 = 13 ค่าของ cos 𝐶 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT1 มี.ค. 54 ข้อ6)
16
1. 65
16
2. − 65
48
3. 65
33
4. − 65

ข้อที่ 71. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมใด ๆ มีความยาวตรงข้ามมุม 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็น 𝑎, 𝑏 และ 𝑐


หน่วยตามลำดับ ถ้า 𝑎2 + 𝑏2 = 31𝑐 2 แล้วค่าของ 3 tan 𝐶 (cot 𝐴 + cot 𝐵) เท่ากับเท่าใด
(PAT1 มี.ค. 54 ข้อ32)
20

ข้อที่ 72. ให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยม ดังรูป

ถ้ามุม 𝐴𝐵̂𝐶 = 30°, 𝐵𝐴̂𝐶 = 135° และ 𝐴𝐷 และ 𝐴𝐸 แบ่งมุม 𝐵𝐴̂𝐶 ออกเป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน
แล้ว 𝐸𝐶
𝐵𝐶
มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ต.ค. 53)
1
1.
√3
2. √3
1
3.
√2
4. √2

1 1 7
tan[arccot −arccot +arctan ]
ข้อที่ 73. ค่าของ 5
sin[arcsin
5
3 9
12
+arcsin ]
เท่ากับเท่าใด (PAT1 ต.ค. 53)
13 13

ข้อที่ 74. กําหนดให้ (sin 1°)(sin 3°)(sin 5°) … (sin 89°) = 21𝑛 ค่าของ 4𝑛 เท่ากับเท่าใด
(PAT1 ต.ค. 53)

ข้อที่ 75. กําหนดให้ 𝑎 เป็นจำนวนจริง และสอดคล้องกับสมการ 5(sin 𝑎 + cos 𝑎) + 2 sin 𝑎 cos 𝑎 = 0.04
ค่าของ 125(sin3 𝑎 + cos3 𝑎) + 75 sin 𝑎 cos 𝑎 เท่ากับเท่าใด (PAT1 ต.ค. 53)
21

𝜋 𝜋
ข้อที่ 76. กําหนดให้ 𝑥 เป็นจำนวนจริง ถ้า arcsin 𝑥 = 4 แล้วค่าของ sin (15 + arccos(𝑥 2)) อยู่ในช่วงใด
(PAT1 ก.ค. 53 ข้อ6)
1
1. (0, 2)
1 1
2. (2 , )
√2
1 √3
3. ( , 2)
√2
√3
4. ( 2 , 1)

ข้อที่ 77. ในรูปสามเหลี่ยม 𝐴𝐵𝐶 ใด ๆ ถ้า 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และ มุม 𝐶
1 1 1
ตามลำดับ แล้ว 𝑎 cos 𝐴 + 𝑏 cos 𝐵 + 𝑐 cos 𝐶 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.ค. 53 ข้อ7)
𝑎 2 +𝑏2 +𝑐 2
1. 2𝑎𝑏𝑐
(𝑎+𝑏+𝑐)2
2. 𝑎𝑏𝑐
(𝑎+𝑏+𝑐)2
3. 2𝑎𝑏𝑐
𝑎 2 +𝑏2 +𝑐 2
4. 𝑎𝑏𝑐

𝑥 1 𝜋
ข้อที่ 78. กำหนดให้ 𝑓 (𝑥−1 ) = เมื่อ 𝑥 ≠ 0 และ 𝑥 ≠ 1 ถ้า 0 < 𝜃 <
𝑥 2
แล้ว 𝑓(sec 2 𝜃) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 53 ข้อ13)
1. sin2 𝜃
2. cos 2 𝜃
3. tan2 𝜃
4. cot 2 𝜃

ข้อที่ 79. ให้ 𝛼และ 𝛽 เป็นมุมแหลมของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากโดยที่ tan 𝛼 = 𝑎𝑏


ถ้า cos (arcsin (√𝑎2𝑎+𝑏2 )) + sin (arccos (√𝑎2𝑎+𝑏2 )) = 1 แล้ว sin 𝛽 มีค่าเท่ากับเท่าใด
(PAT1 มี.ค. 53 ข้อ29)
22

ข้อที่ 80. ถ้า 𝜃 เป็นมุมซึ่ง 0° ≤ 𝜃 ≤ 180° แล้ว จากเที่ยงวันถึงบ่ายโมง เข็มยาวและเข็มสั้นของนาฬิกาจะทำมุมกัน


เท่ากับ 𝜃 เป็นครั้งแรกเมื่อเวลาผ่านไปกี่นาที (PAT1 ต.ค. 52)
2𝜃
1. 13
นาที
2𝜃
2. 11
นาที
2𝜃
3. 9
นาที
2𝜃
4. 7
นาที

𝑥
ข้อที่ 81. ถ้า 1 − cot 20° = 1−cot 25° แล้ว 𝑥 มีค่าเท่าใด (PAT1 ต.ค. 52)

ข้อที่ 82. ถ้า (sin 𝜃 + cos 𝜃)2 = 32 เมื่อ 0 ≤ 𝜃 ≤ 𝜋4 แล้ว arccos(tan 3𝜃) มีค่าเท่าใด
(PAT1 ต.ค. 52)

sin 30° cos 30°


ข้อที่ 83. ค่าของ (sin 10° − cos 10°) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.ค. 52 ข้อ11)
1. – 1
2. 1
3. 2
4. – 2

ข้อที่ 84. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมและ 𝐷 เป็นจุดกึ่งกลางด้าน 𝐵𝐶 ถ้า 𝐴𝐵 = 4 หน่วย, 𝐴𝐶 = 3 หน่วย


และ 𝐴𝐷 = 52 หน่วย แล้วด้าน 𝐵𝐶 ยาวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 ก.ค. 52 ข้อ12)
1. 3
2. 4
3. 5
4. 6
23

𝜋
ข้อที่ 85. ถ้า arcsin(5𝑥 ) + arcsin(𝑥 ) = 2 แล้วค่าของ tan(arcsin 𝑥 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(PAT1 ก.ค. 52 ข้อ13)
1
1.
5
1
2. 3
1
3.
√3
1
4. 2

√5
ข้อที่ 86. ถ้า cos 𝜃 − sin 𝜃 = แล้วค่าของ sin 2𝜃 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 52 ข้อ11)
3
4
1. 13
9
2. 13
4
3. 9
13
4. 9

ข้อที่ 87. กำหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุม 𝐴 เท่ากับ 60° , 𝐵𝐶 = √6 และ 𝐴𝐶 = 1


ค่าของ cos(2𝐵) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 52 ข้อ12)
1
1. 4
1
2. 2
√3
3. 2
3
4. 4

𝜋 𝜋
ข้อที่ 88. ให้ −1 ≤ 𝑥 ≤ 1 เป็นจำนวนจริงซึ่ง arccos 𝑥 − arcsin 𝑥 = 2552 แล้วค่าของ sin (2552 )
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 มี.ค. 52 ข้อ13)
1. 2𝑥
2. 1 − 2𝑥 2
3. 2𝑥 2 − 1
4. −2𝑥

You might also like