You are on page 1of 25

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค.

61) 1
23 Apr 2021

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)


วันอาทิตย์ที่ 18 มีนาคม 2561 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน
1. ให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง
ถ้ากราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดแกน x ที่จดุ (−3, 0) , (0, 0) และ (2, 0) แล้ว 𝑓(−1) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −6 2. −1 3. 1 4. 4 5. 6

2. ให้ 𝑖 2 = −1 ค่าของ 𝑖101 + 𝑖101! เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. −2 2. 2 3. 1 + 𝑖 4. 1−𝑖 5. 2𝑖

3. ให้ ⃗ = 𝑖 + 𝑗 + 𝑘⃗
𝑢 เวกเตอร์ 𝑣 ในข้อใดต่อไปนีส้ อดคล้องกับสมการ 𝑢 ⃗
⃗ ×𝑣 = 0
1. 𝑣 = 𝑖 + 𝑗 − 𝑘⃗ 2. 𝑣 = 𝑖 − 𝑗 + 𝑘⃗ 3. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 − 𝑘⃗
4. 𝑣 = −𝑖 + 𝑗 − 𝑘⃗ 5. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 + 𝑘⃗
2 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

𝜋
4. ถ้า arccos(9𝑥 2 ) + arcsin(6𝑥 − 1) = 2
แล้ว 𝑥 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1
1. 0 2. 12
3. 8
4. 14 5. 1
3

2 1 4 3
5. ถ้า 𝐴=[
3 5
] และ 𝐵 = [−2 2
] แล้ว det(𝐴𝐵−1 ) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −98 2. 12 3. 1 4. 2 5. 98

1 1
6. log2 100
+
log5 100
มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1 1 1
1. 100
2. 10 3. 5
4. 4
5. 2
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 3

7. ในกลุม่ คน 10 คน มีอยู่ 60% ที่มีเลือดกรุป๊ A ถ้าสุม่ มา 2 คน พร้อมกันจากกลุม่ แล้วความน่าจะเป็ นที่ทงั้ สองคน


นีไ้ ม่มีเลือดกรุป๊ A ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
2 3 5 8
1. 15 2. 15 3. 15 4. 15 5. 10
15

8. กาหนดแผนภาพต้นใบ ของข้อมูลชุดหนึง่ ดังนี ้


4 2 4 5 6
5 1 1 2 3 5 8
6 0 0 0 2 3 4 𝑥
7 0 1 1 2
8 1 2 3

ถ้าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 70 มีคา่ เท่ากับ 69 แล้ว 𝑥 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 5. 9

6
9. สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥+1
ที่จดุ (1, 3) ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 𝑥 + 𝑦 = 4 2. 3𝑥 − 2𝑦 = −3 3. 3𝑥 + 2𝑦 = 9
4. 2𝑥 − 3𝑦 = −7 5. 2𝑥 + 3𝑦 = 11
4 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)


𝜋
10.  cos 𝑛 ( 3 + 𝑛𝜋) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n0
1 2 2 + √3
1. 2
2. 3
3. 2 4. 1 + √3 5. 2

ตอนที่ 2 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 4 คะแนน รวม 80 คะแนน
11. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ |2𝑥 2 + 1| − |−𝑥 2 + 2𝑥 − 1| ≤ 15 มีทงั้ หมดกี่จานวน
1. 7 2. 9 3. 11 4. 13 5. 15

12. ให้ 𝑆 เป็ นเซตจานวนเต็มบวก 𝑛 โดยที่ 𝑛 < 100 และ 𝑛 มีตวั หารเป็ นจานวนเต็มบวก 12 จานวน
ถ้า 𝑛1 คือจานวนเต็มที่นอ้ ยที่สดุ ใน 𝑆 ถ้า 𝑛2 คือจานวนเต็มที่มากที่สดุ ใน 𝑆
แล้ว 𝑛2 − 𝑛1 มีคา่ เท่ากับข้อใด
1. 12 2. 20 3. 36 4. 38 5. 40
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 5

13. ผลบวกของจานวนเชิงซ้อน 𝑧 ทัง้ หมด ที่สอดคล้องกับสมการ |𝑧 2 − 1| = 𝑖𝑧 + 3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 2 2. 3 − 𝑖 3. −𝑖 4. 𝑖 5. 3 + 𝑖

2 2
14. ให้ 𝑟 และ 𝑠 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้า 𝑃(2, 2) เป็ นจุดบนวงรีที่มีสมการเป็ น (𝑥+2)
𝑟2
(𝑦−2)
+ 2 = 1
𝑠
ซึง่ มีจดุ 𝐹1 และ 𝐹2 เป็ นโฟกัสของวงรี และ 𝑃𝐹1 + 𝑃𝐹2 = 12 แล้วระยะห่างระหว่าง 𝐹1 และ 𝐹2 ตรงกับ
ข้อใดต่อไปนี ้
1. 4 หน่วย 2. 5 หน่วย 3. 2√5 หน่วย
4. 5√2 หน่วย 5. 4√5 หน่วย

15. กาหนดให้ 𝑢⃗ และ 𝑣 เป็ นเวกเตอร์ในสามมิติ ซึง่ มีสมบัตติ อ่ ไปนี ้


ก. 𝑢⃗ ไม่ขนานกับ 𝑣
ข. |𝑢⃗| = |𝑣| = 1
และ ค. |𝑢⃗ + 𝑣|2 = 3|𝑢⃗ × 𝑣|2
ถ้า 𝜃 เป็ นมุมระหว่างเวกเตอร์ 𝑢⃗ และ 𝑣 แล้ว cos 𝜃 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 √3 1 2
1. 3
2. √2
3. 2
4. 2
5. 3
6 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

16. เซตของจานวนเต็มสามจานวนในข้อใดต่อไปนี ้ ที่เป็ นความยาวด้านของด้านทัง้ สามของรูปสามเหลีย่ มมุมป้านได้


1. { 1 , 2 , 3 } 2. { 2 , 3 , 4 } 3. { 3 , 4 , 5 }
4. { 4 , 5 , 6 } 5. { 5 , 6 , 7 }

17. ให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเมทริกซ์มิติ 3 × 3 และ 𝐼 เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์การคูณมิติ 3 × 3


ถ้า 𝐴𝐵𝑡 = 𝐼 แล้ว พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. 𝐴𝐵𝑡 = 𝐵𝑡 𝐴 ข. 𝐴−1 = 𝐵𝑡
ค. 𝐵−1 = 𝐴𝑡 ง. (𝐴𝐵)−1 = (𝐵𝐴)𝑡
จานวนข้อความทีถ่ กู เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4

1 1
18. ให้ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนเต็มบวก ทีส่ อดคล้องกับสมการ 6𝑥 = (12 ∙ 3𝑦 )𝑥+2
แล้ว 𝑥 + 𝑦 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 2 2. 3 3. 5 4. 6 5. 8
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 7

19. ผลบวกของคาตอบของสมการ log 2 (log 2(7𝑥 − 10) ∙ log 𝑥 16) = 3 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้


1. 7 2. 9 3. 10 4. 12 5. 16

20. ให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎50 เป็ นลาดับเลขคณิต ถ้า 𝑎1 = 5 และ 𝑎50 = 103


แล้ว 𝑎1 2 − 𝑎2 2 + 𝑎3 2 − 𝑎4 2 + … + 𝑎49 2 − 𝑎50 2 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −5,400 2. −5,000 3. 108 4. 5,000 5. 5,400

21. ให้ 𝑓(𝑥) = {4𝑥 − 8 เมื่อ 𝑥 < 2 และ 𝑔(𝑥) = [𝑓(𝑥)]2


𝑥2 − 4 เมื่อ 𝑥 ≥ 2
ถ้า 𝑔′(𝑐) = −8 แล้ว 𝑐 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −2 2. − 54 3. 1 4. 7
4
5. 2
8 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

22. ให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั กาลังสอง โดยทีก่ ราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีจดุ ต่าสุดที่ (0, −9) และตัดแกน 𝑥 ที่จดุ (𝑥1, 0)
และ (𝑥2, 0) ถ้าพืน้ ที่ซงึ่ ปิ ดล้อมด้วยกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) และแกน 𝑥 จาก 𝑥1 ถึง 𝑥2 เท่ากับ 18 ตารางหน่วย
แล้ว 𝑓(2) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −5 2. −3 3. 0 4. 3 5. 7

23. คะแนนสอบคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีการแจกแจงปกติ


โดยที่ คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิต เท่ากับ 60 คะแนน
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8 คะแนน
คะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิต เท่ากับ 65 คะแนน
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 6 คะแนน
ถ้านายมนัส มีคะแนนมาตรฐานของคะแนนสอบทัง้ สองวิชาเท่ากัน แต่คะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์มากกว่าคะแนน
สอบวิชาคณิตศาสตร์อยู่ 2 คะแนน แล้วมนัสสอบได้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 72 คะแนน 2. 74 คะแนน 3. 76 คะแนน
4. 83 คะแนน 5. 86 คะแนน

24. เมื่อสร้างตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียนจานวน 48 คน โดยให้ความกว้างของแต่ละ


อันตรภาคชัน้ เป็ น 10 แล้วพบว่ามัธยฐานอยูใ่ นช่วง 50 – 59 ถ้ามีนกั เรียนได้คะแนนต่ากว่า 50 คะแนน
อยู่ 20 คน และมีนกั เรียนได้คะแนนตัง้ แต่ 60 คะแนนขึน้ ไปอยู่ 20 คน แล้วมัธยฐานเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 53 คะแนน 2. 53.5 คะแนน 3. 54 คะแนน
4. 54.5 คะแนน 5. 55 คะแนน
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 9

25. ให้ 𝑆 = { −10 , −9 , −8 , … , −1 , 0 , 1 , … , 8 , 9 , 10 } สุม่ หยิบคูอ่ นั ดับ (𝑎, 𝑏) ∈ 𝑆×𝑆


มา 1 คูอ่ นั ดับ ความน่าจะเป็ นที่ |𝑎| + 𝑏 = 0 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
10 20 1 1 1
1. 441 2. 441 3. 21 4. 20 5. 10

26. ข้อมูล 20 จานวน เรียงจากน้อยไปมากได้เป็ น 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥20


โดยมีฐานนิยมมีคา่ ไม่เท่ากับ 𝑥1 , ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 𝑥̅ , มัธยฐานเท่ากับ 𝑚 และพิสยั เท่ากับ 𝑅
ถ้าตัด 𝑥1 ออกจะได้ขอ้ มูลชุดใหม่คอื 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥20 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. ฐานนิยมของข้อมูลชุดใหม่ เท่ากับ ฐานนิยมของข้อมูลชุดเก่า
ข. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดใหม่ มากกว่าหรือเท่ากับ 𝑥̅
ค. มัธยฐานของข้อมูลชุดใหม่ มากกว่าหรือเท่ากับ 𝑚
ง. พิสยั ของข้อมูลชุดใหม่ มากกว่า 𝑅
จานวนข้อความทีถ่ กู เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4

27. ให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎51 เป็ นข้อมูลในลาดับเรขาคณิต โดยมี 𝑎1 = 1 และอัตราส่วนร่วมของลาดับ


เท่ากับ − 54 แล้วมัธยฐานเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
5 25 5 23 5 5 26
1. (− 4) 2. (− 4) 3. −4 4. 1 5. (4)
10 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

28. ถ้าสมการ 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีกราฟเป็ นพาราโบลาซึง่ ผ่านจุด (0, 12) และ −(𝑥 − 1)2 + 1 ≤ 𝑓(𝑥) ≤ 1 สาหรับ
ทุกๆ จานวนจริง 𝑥 แล้วพาราโบลา 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี ้
1. (−1, 0) 2. (−1, −1) 3. (−2, 0)
4. (−2, −2) 5. (3, −2)

29. ให้ 𝑆 = { −5 , −4 , −3 , −2 , −1 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 }
0 1
𝐴=[
−1 0
] และ 𝑀 = { [𝑎 𝑏 ] | 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ 𝑆 }
𝑐 𝑑
ถ้าสุม่ หยิบ 1 เมทริกซ์จากเซต 𝑀 แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้เมทริกซ์ 𝐵 ซึง่ det(𝐴 + 𝐵) = det 𝐴 + det 𝐵
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 3 1 1 11
1. 100 2. 100
3. 20
4. 10
5. 100

𝜋 𝜋
30. ถ้า 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มี 𝑎1 =
12
และ 𝑑=
3
65
แล้ว  sin(𝑎𝑛 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n1
1 1
1. −√2 2. −
√2
3. 0 4. √2
5. √2
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 11

เฉลย
1. 5 7. 1 13. 3 19. 1 25. 3
2. 3 8. 4 14. 5 20. 1 26. 4
3. 3 9. 3 15. 1 21. 4 27. 4
4. 5 10. 2 16. 2 22. 5 28. 2
5. 2 11. 2 17. 5 23. 1 29. 4
6. 5 12. 3 18. 2 24. 4 30. 4

แนวคิด
1. ให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏 และ 𝑐 เป็ นจานวนจริง
ถ้ากราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดแกน x ที่จดุ (−3, 0) , (0, 0) และ (2, 0) แล้ว 𝑓(−1) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −6 2. −1 3. 1 4. 4 5. 6
ตอบ 5
ตัดแกน x ที่จดุ (−3, 0) , (0, 0) และ (2, 0) แสดงว่า 𝑓(−3) = 0 , 𝑓(0) = 0 และ 𝑓(2) = 0
จะได้วา่ −3 , 0 และ 2 เป็ นคาตอบของสมการ 𝑓(𝑥) = 0
เนื่องจาก 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เป็ นพหุนามดีกรี 3 → สร้างสมการจากคาตอบ −3 , 0 และ 2 จะได้
สมการคือ 𝑘(𝑥 + 3)(𝑥 − 0)(𝑥 − 2) = 0 เมื่อ 𝑘 เป็ นค่าคงที่อะไรก็ได้
จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑘(𝑥 + 3)(𝑥 − 0)(𝑥 − 2)
เนื่องจาก สปส ของ 𝑥 3 ใน 𝑓(𝑥) เท่ากับ 1 จึงสรุปได้วา่ 𝑘 = 1 ทาให้ได้วา่ 𝑓(𝑥) = (𝑥 + 3)(𝑥 − 0)(𝑥 − 2)
แทน 𝑥 = −1 จะได้ 𝑓(−1) = (−1 + 3)(−1 − 0)(−1 − 2) = 6

2. ให้ 𝑖 2 = −1 ค่าของ 𝑖101 + 𝑖101! เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. −2 2. 2 3. 1 + 𝑖 4. 1−𝑖 5. 2𝑖
ตอบ 3
i เมื่อ 𝑛 หารด้วย 4 เหลือเศษ 1
𝑖 𝑛 จะวนซา้ ทุกๆ 4 ตัว คือ 𝑖𝑛 = −1 เมื่อ 𝑛 หารด้วย 4 เหลือเศษ 2
−i เมื่อ 𝑛 หารด้วย 4 เหลือเศษ 3
{1 เมื่อ 𝑛 หารด้วย 4 ลงตัว
101 หารด้วย 4 เหลือเศษ 1 ดังนัน้ 𝑖 101 = 𝑖
101! = 101 × 100 × 99 × … × 4 × … × 1 จะหารด้วย 4 ลงตัว ดังนัน้ 𝑖 101! = 1
ดังนัน้ 𝑖 101 + 𝑖 101! = 𝑖 + 1

3. ให้ ⃗ = 𝑖 + 𝑗 + 𝑘⃗
𝑢 เวกเตอร์ 𝑣 ในข้อใดต่อไปนีส้ อดคล้องกับสมการ 𝑢 ⃗
⃗ ×𝑣 = 0
1. 𝑣 = 𝑖 + 𝑗 − 𝑘⃗ 2. 𝑣 = 𝑖 − 𝑗 + 𝑘⃗ 3. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 − 𝑘⃗
4. 𝑣 = −𝑖 + 𝑗 − 𝑘⃗ 5. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 + 𝑘⃗
ตอบ 3
𝑢
⃗ ×𝑣 จะเป็ น ⃗0 เมื่อ 𝑢⃗ กับ 𝑣 ขนานกัน ซึง่ จะขนานกันเมื่อ 𝑣 = 𝑘𝑢⃗ สาหรับ 𝑘 บางค่า
จะเห็นว่าข้อ 3. 𝑣 = −𝑖 − 𝑗 − 𝑘⃗ = −(𝑖 + 𝑗 + 𝑘⃗) = −𝑢⃗ → ขนาน → 𝑢⃗ × 𝑣 = ⃗0
ส่วนข้ออื่น จะเห็นว่า 𝑢⃗ กับ 𝑣 ไม่เป็ นสัดส่วนกัน จึงไม่ขนาน และ 𝑢⃗ × 𝑣 ≠ 0⃗
12 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

4. ถ้า arccos(9𝑥 2 ) + arcsin(6𝑥 − 1) = 𝜋2 แล้ว 𝑥 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1
1. 0 2. 12 3. 18 4. 14 5. 13
ตอบ 5
จากกฎโคฟั งก์ชนั เมื่อ 𝐴 + 𝐵 = 𝜋2 จะได้ cos 𝐴 = sin 𝐵
ดังนัน้ ถ้า arccos(9𝑥 2 ) + arcsin(6𝑥 − 1) = 𝜋2 จะได้ cos(arccos(9𝑥 2 )) = sin(arcsin(6𝑥 − 1))
9𝑥 2 = 6𝑥 − 1
9𝑥 2 − 6𝑥 + 1 = 0
(3𝑥 − 1)2 = 0
1
𝑥 = 3
1 2
ลองแทน 𝑥 = 13 จะเห็นว่า 9𝑥 2 = 9 ( ) = 1
3 อยูใ่ นโดเมน arccos , arcsin (คือ [−1, 1]) ทัง้ คู่
และ 6𝑥 − 1 =
1
6 (3) − 1 = 1 → ใช้เป็ นคาตอบได้

5. ถ้า 𝐴 = [23 15] และ 𝐵 = [−2 4 3


2
] แล้ว det(𝐴𝐵−1 ) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −98 2. 12 3. 1 4. 2 5. 98
ตอบ 2
det กระจายในการคูณ และอินเวอร์สได้ → det(𝐴𝐵−1 ) = det(𝐴) det(𝐵)−1
det(𝐴)
= det(𝐵)
(2)(5)−(3)(1) 7 1
= (4)(2)−(−2)(3)
= =
14 2

1 1
6. log2 100
+
log5 100
มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1 1 1
1. 100
2. 10 3. 5
4. 4
5. 2
ตอบ 5
1 1
log2 100
+ log 100 = log100 2 + log100 5
5 1
log 𝑁 𝑀 =
= log100 (2 × 5) log𝑀 𝑁
= log100 10 log 𝑎 𝑀 + log 𝑎 𝑁 = log 𝑎 𝑀𝑁
= log102 10 𝑁
log (𝑎𝑏 ) (𝑀𝑁 ) = log 𝑎 𝑀
1 1 𝑏
= 2 log10 10 = 2

7. ในกลุม่ คน 10 คน มีอยู่ 60% ที่มีเลือดกรุป๊ A ถ้าสุม่ มา 2 คน พร้อมกันจากกลุม่ แล้วความน่าจะเป็ นที่ทงั้ สองคน


นีไ้ ม่มีเลือดกรุป๊ A ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
2 3 5 8
1. 15 2. 15 3. 15 4. 15 5. 10 15
ตอบ 1
10×9
หาจานวนแบบทัง้ หมด : มีคน 10 คน สุม่ มา 2 คนพร้อมกัน จะได้จานวนแบบทัง้ หมด = (10 2
) = 2 = 45 แบบ
60
หาจานวนแบบที่สนใจ : มีกรุป๊ A อยู่ 60% จะคิดเป็ น 100 × 10 = 6 คน → มีคนที่ไม่ใช่กรุ ป
๊ A อยู่ 10 – 6 = 4 คน
4×3
สุม่ มา 2 คน จะได้จานวนแบบทีท่ งั้ สองคนไม่ใช่กรุป๊ A = (2) = 2 = 6 แบบ
4

6 2
จะได้ความน่าจะเป็ น = 45 =
15
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 13

8. กาหนดแผนภาพต้นใบ ของข้อมูลชุดหนึง่ ดังนี ้


4 2 4 5 6
5 1 1 2 3 5 8
6 0 0 0 2 3 4 𝑥
7 0 1 1 2
8 1 2 3

ถ้าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 70 มีคา่ เท่ากับ 69 แล้ว 𝑥 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 5. 9
ตอบ 4
จานวนข้อมูลทัง้ หมด = จานวนตัวเลขทางฝั่งขวา = 24 จานวน
70 70
จะได้เปอร์เซ็นไทล์ที่ 70 อยูต่ าแหน่งที่ 100 ∙ (𝑁 + 1) = 100 ∙ (24 + 1) = 17.5
ตัวที่ 17 + ตัวที่ 18
จะได้ 𝑃70 = 2
→ นับหาตัวที่ 17 และตัวที่ 18 จะได้ดงั รูป
6 0 0 0 2 3 4 𝑥
7 0 1 1 2
ดังนัน้ 𝑃70 =
(60+𝑥)+70
2
ตัวที่ 17 หลักสิบคือ 6 หลักหน่วยคือ 𝑥 130+𝑥
69 =
ตัวที่ 18 หลักสิบคือ 7 หลักหน่วยคือ 0 คิดเป็ นค่า = 60 + 𝑥 2
คิดเป็ นค่า = 70 8 = 𝑥

6
9. สมการของเส้นสัมผัสเส้นโค้ง 𝑦 = 𝑥+1 ที่จดุ (1, 3) ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
1. 𝑥 + 𝑦 = 4 2. 3𝑥 − 2𝑦 = −3 3. 3𝑥 + 2𝑦 = 9
4. 2𝑥 − 3𝑦 = −7 5. 2𝑥 + 3𝑦 = 11
ตอบ 3
หาความชันที่จดุ (1, 3) → ต้องหา 𝑦 ′ : 𝑦 = 𝑥+1 6
= 6(𝑥 + 1)−1
𝑑
𝑦′ = (−1)6(𝑥 + 1)−2 ∙ 𝑑𝑥 (𝑥 + 1)
= −6(𝑥 + 1)−2
6 3
ที่จดุ (1, 3) → แทน 𝑥 = 1 จะได้ 𝑦 ′ = −6(1 + 1)−2 = − 4 = − 2

จะได้สมการเส้นตรงที่ผา่ น (1, 3) และมีความชัน − 32


สมการกราฟเส้นตรงที่ผ่านจุด (𝑎, 𝑏)
คือ 𝑦−3 = −2
3
𝑥−1 และมีความชัน = 𝑚 คือ 𝑦−𝑏 =𝑚
2𝑦 − 6 = −3𝑥 + 3 𝑥−𝑎

3𝑥 + 2𝑦 = 9


𝜋
10.  cos 𝑛 ( 3 + 𝑛𝜋) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n0
1 2 2 + √3
1. 2
2. 3
3. 2 4. 1 + √3 5. 2
ตอบ 2

𝜋 𝜋 𝜋 𝜋 𝜋
 cos 𝑛 (3 + 𝑛𝜋) = cos0 (3 ) + cos1 (3 + 𝜋) + cos2 (3 + 2𝜋) + cos 3 ( 3 + 3𝜋) + …
n0
1 1 2 1 3
= 1 + (− 2) + (2) + (− 2) +…
1 𝑎1 1 2
เป็ นอนุกรมอนันต์ ที่มี 𝑎1 = 1 และ 𝑟 = −2 → จะได้ผลบวก = 1−𝑟
=
1−(− )
1 = 3
2
14 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

11. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ |2𝑥 2 + 1| − |−𝑥 2 + 2𝑥 − 1| ≤ 15 มีทงั้ หมดกี่จานวน


1. 7 2. 9 3. 11 4. 13 5. 15
ตอบ 2
ถ้ารูเ้ ครือ่ งหมายของตัวที่อยูใ่ นค่าสัมบูรณ์ จะถอดค่าสัมบูรณ์ได้ดว้ ยสมบัติ เมื่อ 𝑎 ≥ 0
|𝑎| = { 𝑎
เมื่อ 𝑎 < 0
−𝑎
(หมายเหตุ : เมื่อ 𝑎 = 0 จะใช้ 𝑎 หรือ −𝑎 ก็ได้ เพราะเป็ น 0 เหมือนกัน)
เนื่องจาก 𝑥 2 ≥ 0 เสมอ ดังนัน้ 2𝑥 2 + 1 เป็ นบวกเสมอ ดังนัน้ |2𝑥 2 + 1| = 2𝑥 2 + 1
และ −𝑥 2 + 2𝑥 − 1 = −(𝑥 2 − 2𝑥 + 1) = = −(𝑥 − 1)2 จะเป็ นลบหรือศูนย์เสมอ
ผลกาลังสอง ≥ 0 เสมอ
ดังนัน้ |−𝑥 2 + 2𝑥 − 1| = −(−𝑥 2 + 2𝑥 − 1) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 1
แทนในอสมการโจทย์จะได้ |2𝑥 2 + 1| − |−𝑥 2 + 2𝑥 − 1| ≤ 15
(2𝑥 2 + 1) − (𝑥 2 − 2𝑥 + 1) ≤ 15
2𝑥 2 + 1 − 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 ≤ 15
𝑥 2 + 2𝑥 − 15 ≤ 0 + − +
(𝑥 + 5)(𝑥 − 3) ≤ 0 →
−5 3
จะได้จานวนเต็มในช่วง [−5, 3] จะมี 3 − (−5) + 1 = 9 จานวน

12. ให้ 𝑆 เป็ นเซตจานวนเต็มบวก 𝑛 โดยที่ 𝑛 < 100 และ 𝑛 มีตวั หารเป็ นจานวนเต็มบวก 12 จานวน
ถ้า 𝑛1 คือจานวนเต็มที่นอ้ ยที่สดุ ใน 𝑆 ถ้า 𝑛2 คือจานวนเต็มที่มากที่สดุ ใน 𝑆
แล้ว 𝑛2 − 𝑛1 มีคา่ เท่ากับข้อใด
1. 12 2. 20 3. 36 4. 38 5. 40
ตอบ 3
จานวนตัวหารที่เป็ นบวกของ 𝑛 จะหาได้โดยการแยกตัวประกอบ แล้วเอา “เลขชีก้ าลัง + 1” มาคูณกัน
(เช่น 48 = 24 × 31 จะได้จานวนตัวหารที่เป็ นบวกของ 48 คือ (4 + 1)(1 + 1) = 10 จานวน)
ถ้า 𝑛 มีตวั หารที่เป็ นบวก 12 จานวน → ต้องดูวา่ 12 มาจากการคูณกันของ “เลขชีก้ าลัง + 1” ได้กี่แบบ
12 จะเขียนเป็ นผลคูณได้ 4 แบบ คือ 12 , 2×6 , 3×4 และ 2 × 2 × 3
11+1 (1+1)(5+1) (2+1)(3+1) (1+1)(1+1)(2+1)
ดังนัน้ 𝑛 ต้องอยูใ่ นรูป 𝑝11 , 𝑝1 𝑞5 , 𝑝2 𝑞3 หรือ 𝑝1 𝑞1 𝑟2 เมื่อ 𝑝, 𝑞, 𝑟 เป็ นจานวนเฉพาะ
หา 𝑛 ที่นอ้ ยที่สดุ → ต้องเลือกให้เลขชีก้ าลังน้อยๆ (ได้แก่ 𝑝1 𝑞1𝑟 2) และเลือกให้จานวนเฉพาะน้อยๆ ยกกาลังเยอะๆ
จะได้ 𝑛 ที่นอ้ ยที่สดุ คือ 𝑛1 = 31 5122 = 60
หา 𝑛 ที่มากที่สดุ → จะยากหน่อย เพราะต้องมากสุด แต่นอ้ ยกว่า 100
𝑝11 เกิน 100 แน่นอน
𝑝1 𝑞 5 จะน้อยกว่า 100 ได้แบบเดียว คือ 31 25 = 96
และจะเห็นว่า 97, 98, 99 แยกตัวประกอบแล้วไม่อยูใ่ นรูป 𝑝2 𝑞3 หรือ 𝑝1 𝑞1𝑟 2
ดังนัน้ จะได้ 𝑛 ที่มากที่สดุ คือ 𝑛2 = 96
จะได้ 𝑛2 − 𝑛1 = 96 − 60 = 36
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 15

13. ผลบวกของจานวนเชิงซ้อน 𝑧 ทัง้ หมด ที่สอดคล้องกับสมการ |𝑧 2 − 1| = 𝑖𝑧 + 3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 2 2. 3 − 𝑖 3. −𝑖 4. 𝑖 5. 3 + 𝑖
ตอบ 3
ฝั่งซ้ายของสมการ |𝑧 2 − 1| คือ “ขนาด” ของจานวนเชิงซ้อน → ขนาด จะเป็ นจานวนจริงเสมอ
ดังนัน้ ฝั่งขวา 𝑖𝑧 + 3 ต้องเป็ นจานวนจริงด้วย → 𝑖𝑧 ต้องเป็ นจานวนจริง
ดังนัน้ 𝑧 ต้องเป็ นจานวนจินตภาพแท้ (𝑧 = 𝑘𝑖) ถึงจะคูณ 𝑖 แล้วกลายเป็ นจานวนจริง
แทน 𝑧 = 𝑘𝑖 ในสมการ จะได้ |𝑧 2 − 1| = 𝑖𝑧 + 3
|(𝑘𝑖)2 − 1| = 𝑖(𝑘𝑖) + 3
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริงลบ |−𝑘 2 − 1| = −𝑘 + 3
จะได้ |𝑎| = −𝑎 −(−𝑘 2 − 1) = −𝑘 + 3
𝑘2 + 𝑘 − 2 = 0
(𝑘 + 2)(𝑘 − 1) = 0
𝑘 = −2 , 1
จะได้ 𝑧 = −2𝑖 และ 1𝑖 → ผลบวกของ 𝑧 ทัง้ หมด = −2𝑖 + 1𝑖 = −𝑖

2 2
14. ให้ 𝑟 และ 𝑠 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้า 𝑃(2, 2) เป็ นจุดบนวงรีที่มีสมการเป็ น (𝑥+2)
𝑟2
(𝑦−2)
+ 𝑠2 = 1
ซึง่ มีจดุ 𝐹1 และ 𝐹2 เป็ นโฟกัสของวงรี และ 𝑃𝐹1 + 𝑃𝐹2 = 12 แล้วระยะห่างระหว่าง 𝐹1 และ 𝐹2 ตรงกับ
ข้อใดต่อไปนี ้
1. 4 หน่วย 2. 5 หน่วย 3. 2√5 หน่วย
4. 5√2 หน่วย 5. 4√5 หน่วย
ตอบ 5
2 (2−2)2
𝑃(2, 2) อยูบ ่ นวงรี → ต้องแทนในสมการวงรีแล้วเป็ นจริง (2+2)
𝑟2
+ 𝑠2
= 1
42
𝑟2
+ 0 = 1
4 = 𝑟
จาก 𝑃𝐹1 + 𝑃𝐹2 = 12 → จะได้ความยาวแกนเอก = 12
ถ้าเป็ นวงรีแนวนอน จะได้ความยาวแกนเอก = 2𝑟 = 2(4) = 8 ≠ 12 → ขัดแย้ง
ดังนัน้ ต้องเป็ นวงรีแนวตัง้ ซึง่ จะได้ความยาวแกนเอก = 2𝑠 และจะสรุปได้วา่ 2𝑠 = 12
𝑠 = 6
จะได้ระยะโฟกัส 𝑐 = √𝑠 2 − 𝑟 2 = √62 − 42 = √20 = 2√5
จะได้ระยะระหว่าง 𝐹1 และ 𝐹2 = 2𝑐 = 2(2√5) = 4√5
16 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

15. กาหนดให้ 𝑢⃗ และ 𝑣 เป็ นเวกเตอร์ในสามมิติ ซึง่ มีสมบัตติ อ่ ไปนี ้


ก. 𝑢⃗ ไม่ขนานกับ 𝑣
ข. |𝑢⃗| = |𝑣| = 1
และ ค. |𝑢⃗ + 𝑣|2 = 3|𝑢⃗ × 𝑣|2
ถ้า 𝜃 เป็ นมุมระหว่างเวกเตอร์ 𝑢⃗ และ 𝑣 แล้ว cos 𝜃 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 √3 1 2
1. 3
2. √2
3. 2
4. 2
5. 3
ตอบ 1
จาก ค. ⃗ + 𝑣 |2
|𝑢 = ⃗ × 𝑣 |2
3|𝑢
⃗ |2 + |𝑣 |2 + 2𝑢
|𝑢 ⃗ ∙𝑣 = ⃗ × 𝑣 |2
3|𝑢
⃗ |2 + |𝑣 |2 + 2|𝑢
|𝑢 ⃗ ||𝑣 | cos 𝜃 = ⃗ ||𝑣 | sin 𝜃)2
3(|𝑢
จาก ข.
1 + 1 + 2 cos 𝜃 = 3 sin2 𝜃
2 + 2 cos 𝜃 = 3(1 − cos 2 𝜃)
3 cos 2 𝜃 + 2 cos 𝜃 − 1 = 0
(3 cos 𝜃 − 1)(cos 𝜃 + 1) = 0
1
cos 𝜃 = 3 , −1
1
แต่จาก ก. จะได้ 𝜃 ≠ 0°, 180° ทาให้ cos 𝜃 = −1 ไม่ได้ → เหลือคาตอบเดียว คือ 3

16. เซตของจานวนเต็มสามจานวนในข้อใดต่อไปนี ้ ที่เป็ นความยาวด้านของด้านทัง้ สามของรูปสามเหลีย่ มมุมป้านได้


1. { 1 , 2 , 3 } 2. { 2 , 3 , 4 } 3. { 3 , 4 , 5 }
4. { 4 , 5 , 6 } 5. { 5 , 6 , 7 }
ตอบ 2
จะ “เป็ น ∆” ได้ ด้านที่ยาวที่สดุ ต้องไม่ยาวเกินไป
คือ ต้อง “สัน้ กว่า” อีกสองด้านรวมกัน ไม่งนั้ อีกสองด้านจะบรรจบกันไม่ถึง ด้านนีย้ าวเกินไป สร้าง ∆ ไม่ได้
จะเห็นว่าข้อ 1. ด้านที่ยาวที่สดุ คือ 3 ยาวเท่ากับอีกสองด้านรวมกันพอดี 1 + 2 → ไม่ได้สนั้ กว่า จะไม่เป็ น ∆
และจะ “เป็ น ∆ มุมป้าน” ได้ ด้านที่ยาวที่สดุ ต้องยาวกว่า “ด้านตรงข้ามมุมฉากของ ∆ มุมฉาก”
𝑎 √𝑎2 + 𝑏 2
เป็ น ∆ มุมป้าน เมื่อด้านนี ้
นั่นคือ จะเป็ น ∆ มุมป้าน เมือ่ 𝑐 > √𝑎2 + 𝑏 2
𝑐 > 𝑎2 + 𝑏 2
2
ยาวกว่า √𝑎2 + 𝑏 2
𝑏
2. 42 > 22 + 32  3. 52 > 32 + 42 
4. 62 > 42 + 52  5. 72 > 52 + 62 
จะเห็นว่ามีขอ้ 2 เท่านัน้ ที่ 𝑐 2 > 𝑎2 + 𝑏 2
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 17

17. ให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเมทริกซ์มิติ 3 × 3 และ 𝐼 เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์การคูณมิติ 3 × 3


ถ้า 𝐴𝐵𝑡 = 𝐼 แล้ว พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. 𝐴𝐵𝑡 = 𝐵𝑡 𝐴 ข. 𝐴−1 = 𝐵𝑡
ค. 𝐵−1 = 𝐴𝑡 ง. (𝐴𝐵)−1 = (𝐵𝐴)𝑡
จานวนข้อความทีถ่ กู เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 5
ก. จาก 𝐴𝐵𝑡 = 𝐼 จะได้วา่ 𝐴 กับ 𝐵𝑡 เป็ นอินเวอร์สกัน
ซึง่ อินเวอร์สมีสมบัติสลับที่ได้ → 𝐴𝐵𝑡 = 𝐵𝑡 𝐴 = 𝐼 → ก. ถูก
ข. จาก 𝐴 กับ 𝐵𝑡 เป็ นอินเวอร์สกัน จะได้ 𝐵𝑡 = 𝐴−1 → ข. ถูก
ค. จาก 𝐴𝐵𝑡 = 𝐼
(𝐴𝐵𝑡 )𝑡 = 𝐼 𝑡
(𝑋𝑌)𝑡 = 𝑌 𝑡 𝑋 𝑡
(𝐵𝑡 )𝑡 𝐴𝑡 = 𝐼
𝐵𝐴𝑡 = 𝐼 จะได้ 𝐵 กับ 𝐴𝑡 เป็ นอินเวอร์สกัน
→ → 𝐴𝑡 = 𝐵−1 → ค. ถูก
ง. จากสมบัติของอินเวอร์ส จะได้ (𝐴𝐵)−1 = 𝐵−1 𝐴−1
จาก ข. และ ค.
= 𝐴𝑡 𝐵𝑡
= (𝐵𝐴)𝑡 → ง. ถูก
1 1
18. ให้ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนเต็มบวก ทีส่ อดคล้องกับสมการ 6𝑥 = (12 ∙ 3𝑦 )𝑥+2
แล้ว 𝑥 + 𝑦 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 2 2. 3 3. 5 4. 6 5. 8
ตอบ 2
1 1
6𝑥 = (12 ∙ 3𝑦 )𝑥+2 ยกกาลัง 𝑥(𝑥 + 2) ทัง้ สองข้าง
𝑥(𝑥+2) 𝑥(𝑥+2)
1
(6 )
𝑥 = ((12 ∙ 3𝑦 )
1
𝑥+2 ) เพื่อทาให้เลขชีก้ าลังเป็ นจานวนเต็ม
𝑥+2 𝑦 )𝑥
6 = (12 ∙ 3
𝑥+2
(2 ∙ 3) = (22 ∙ 31 ∙ 3𝑦 )𝑥
2 𝑥+2
∙3 𝑥+2
= 22𝑥 ∙ 3(𝑦+1)𝑥

เนื่องจากทัง้ สองฝั่งเป็ นจานวนเต็ม และจานวนเต็มหนึง่ ๆ จะเขียนเป็ นผลคูณของจานวนเฉพาะได้เพียงแบบเดียว


ดังนัน้ เลขชีก้ าลังของแต่ละจานวนเฉพาะ ของทัง้ สองฝั่งสมการต้องเท่ากัน

2𝑥+2 ∙ 3𝑥+2 = 22𝑥 ∙ 3(𝑦+1)𝑥


𝑥 + 2 = 2𝑥 𝑥+2 = (𝑦 + 1)𝑥
2 = 𝑥
2+2 = (𝑦 + 1)2
2 = 𝑦+1
1 = 𝑦
จะได้ 𝑥+𝑦 = 2+1 = 3
18 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

19. ผลบวกของคาตอบของสมการ log 2 (log 2(7𝑥 − 10) ∙ log 𝑥 16) = 3 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้


1. 7 2. 9 3. 10 4. 12 5. 16
ตอบ 1
log 2 (log 2 (7𝑥 − 10) ∙ log 𝑥 16) = 3
log 2 (7𝑥 − 10) ∙ log 𝑥 16 = 23
log(7𝑥−10) log 16
log 2
∙ log 𝑥
= 8
log(7𝑥−10) log 16
∙ = 8
log 𝑥 log 2
log 𝑥 (7𝑥 − 10) ∙ log 2 16 = 8
log 𝑥 (7𝑥 − 10) ∙ 4 = 8
log 𝑥 (7𝑥 − 10) = 2
7𝑥 − 10 = 𝑥2
0 = 𝑥 2 − 7𝑥 + 10
0 = (𝑥 − 2)(𝑥 − 5)
𝑥=2, 5
คาตอบต้องแทนแล้ว หาค่า log ได้ (หลัง log และ ฐาน เป็ นบวก และ ฐาน ≠ 1)
𝑥 = 2 : log 2 (log 2 (7(2) − 10) ∙ log 2 16) 𝑥 = 5 : log 2 (log 2 (7(5) − 10) ∙ log 5 16)
log 2 ( 2 ∙ 4 ) log 2 (log 2 25 ∙ log 5 16)
ใช้ได้ทงั้ 2 คาตอบ → ผลบวก = 2+5 = 7

20. ให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎50 เป็ นลาดับเลขคณิต ถ้า 𝑎1 = 5 และ 𝑎50 = 103


แล้ว 𝑎1 2 − 𝑎2 2 + 𝑎3 2 − 𝑎4 2 + … + 𝑎49 2 − 𝑎50 2 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −5,400 2. −5,000 3. 108 4. 5,000 5. 5,400
ตอบ 1
จากสูตร 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑 → แทน 𝑛 = 50 จะได้ 𝑎50 = 𝑎1 + (50 − 1)𝑑
103 = 5 + 49𝑑
98 = 49𝑑
2 = 𝑑
𝑎1 2 − 𝑎2 2 + 𝑎3 2 − 𝑎4 2 + … + 𝑎49 2 − 𝑎50 2
= (𝑎1 − 𝑎2 )(𝑎1 + 𝑎2 ) + (𝑎3 − 𝑎4 )(𝑎3 + 𝑎4 ) + … + (𝑎49 − 𝑎50 )(𝑎49 + 𝑎50 )
= −(𝑎2 − 𝑎1 )(𝑎1 + 𝑎2 ) − (𝑎4 − 𝑎3 )(𝑎3 + 𝑎4 ) − … −(𝑎50 − 𝑎49 )(𝑎49 + 𝑎50 )
= −( 𝑑 )(𝑎1 + 𝑎2 ) − ( 𝑑 )(𝑎3 + 𝑎4 ) − … −( 𝑑 )(𝑎49 + 𝑎50 )
= −𝑑( 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4 + … + 𝑎49 + 𝑎50 )
50
= −𝑑( 2
(𝑎1 + 𝑎50 ) )
50
= −2( 2
(5 + 103) )
= −5400
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 19

21. ให้ 𝑓(𝑥) = {4𝑥 − 8 เมื่อ 𝑥 < 2 และ 𝑔(𝑥) = [𝑓(𝑥)]2


𝑥2 − 4 เมื่อ 𝑥 ≥ 2
ถ้า 𝑔′(𝑐) = −8 แล้ว 𝑐 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −2 2. − 54 3. 1 4. 7
4
5. 2
ตอบ 4

จาก 𝑔(𝑥) = [𝑓(𝑥)]2 จะได้ 𝑔(𝑥) = {


(4𝑥 − 8)2 เมื่อ 𝑥<2
(𝑥 2 − 4)2 เมื่อ 𝑥≥2
หา 𝑔 ′ (𝑥)
→ ต้องดิฟทัง้ สองสูตร
เมื่อ 𝑥 < 2 เมื่อ 𝑥 > 2
𝑑 𝑑 𝑑 𝑑
(4𝑥 − 8)2 = 2(4𝑥 − 8) 𝑑𝑥 (4𝑥 − 8) (𝑥 2 − 4)2 = 2(𝑥 2 − 4) 𝑑𝑥 (𝑥 2 − 4)
𝑑𝑥 𝑑𝑥
= 2(4𝑥 − 8) 4 = 2(𝑥 2 − 4) 2𝑥
= 8(4𝑥 − 8) = 4𝑥(𝑥 2 − 4)

และตรงรอยต่อ 𝑥 = 2 จะได้ฝ่ ังซ้ายเป็ น และฝั่งขวา 4(2)(22 − 4) = 0


8(4(2) − 8) = 0 → เท่ากัน
ดังนัน้ 𝑔′ (2) หาได้ และจะเขียนได้เป็ น 𝑔′(𝑥) = { 8(4𝑥2− 8) เมื่อ 𝑥 < 2
4𝑥(𝑥 − 4) เมื่อ 𝑥 ≥ 2
โจทย์ให้ 𝑔′(𝑐) = −8 แต่จะเห็นว่า −8 มาจาก 4𝑥(𝑥 2 − 4) ไม่ได้
เพราะเมื่อ 𝑥 ≥ 2 จะได้ 𝑔′(𝑥) ≥ 4(2)(22 − 4) ≥ 0 แต่ −8 < 0
ดังนัน้ −8 ต้องมาจาก 8(4𝑥 − 8) → 𝑔′ (𝑐) = 8(4𝑐 − 8)
−8 = 8(4𝑐 − 8)
−1 = 4𝑐 − 8
7
4
= 𝑐

22. ให้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั กาลังสอง โดยทีก่ ราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีจดุ ต่าสุดที่ (0, −9) และตัดแกน 𝑥 ที่จดุ (𝑥1, 0)
และ (𝑥2, 0) ถ้าพืน้ ที่ซงึ่ ปิ ดล้อมด้วยกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) และแกน 𝑥 จาก 𝑥1 ถึง 𝑥2 เท่ากับ 18 ตารางหน่วย
แล้ว 𝑓(2) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. −5 2. −3 3. 0 4. 3 5. 7
ตอบ 5
จุดต่าสุดของฟังก์ชนั กาลังสอง คือจุดยอดของพาราโบลาหงายนั่นเอง → จะได้จดุ ยอดคือ (ℎ, 𝑘) = (0, −9)
จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 = 𝑎(𝑥 − 0)2 − 9 = 𝑎𝑥 2 − 9
หาจุดตัดแกน 𝑥 ต้องแทน 𝑦 = 0 → 𝑎𝑥 2 − 9 = 0
9
𝑥2 = 𝑎
3 พาราโบลาหงาย → 𝑎 เป็ นบวก
𝑥 = ±
√𝑎
3
3
a
𝑎
หาพืน้ ที่ →  (𝑎𝑥 2 − 9)𝑑𝑥
3
= (3 𝑥 3 − 9𝑥) |
√𝑎
3
 −
a √𝑎

𝑎 3 3 3 𝑎 3 3 3
= [ ( ) − 9 ( )] − [ (− ) − 9 (− )]
3 √𝑎 √𝑎 3 √𝑎 √𝑎
9 27 9 27 36
= − + − = −
√𝑎 √𝑎 √𝑎 √𝑎 √𝑎
20 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

โจทย์ให้พนื ้ ที่ = 18 → ดังนัน้ |−


36
√𝑎
| = 18
36
= 18
√𝑎
2 = √𝑎
4 = 𝑎
แทนค่า 𝑎 ใน 𝑓(𝑥) จะได้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 2 − 9
𝑓(2) = 4(22 ) − 9 = 7

23. คะแนนสอบคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีการแจกแจงปกติ


โดยที่ คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิต เท่ากับ 60 คะแนน
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8 คะแนน
คะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิต เท่ากับ 65 คะแนน
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 6 คะแนน
ถ้านายมนัส มีคะแนนมาตรฐานของคะแนนสอบทัง้ สองวิชาเท่ากัน แต่คะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์มากกว่าคะแนน
สอบวิชาคณิตศาสตร์อยู่ 2 คะแนน แล้วมนัสสอบได้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 72 คะแนน 2. 74 คะแนน 3. 76 คะแนน
4. 83 คะแนน 5. 86 คะแนน
ตอบ 1
สมมติให้คะแนนคณิต เท่ากับ 𝑥 คะแนน
𝑥 − 𝑥̅
𝑧= 𝑠
โจทย์ให้ 𝑥̅คณิต = 60 และ 𝑠คณิต = 8 → จะได้คะแนนมาตรฐานคณิต 𝑧คณิต = 𝑥−60 8
ได้วิทย์มากกว่าคณิต 2 คะแนน → ได้วิทย์ 𝑥 + 2 คะแนน
โจทย์ให้ 𝑥̅วิทย์ = 65 และ 𝑠วิทย์ = 6 → จะได้คะแนนมาตรฐานวิทย์ 𝑧วิทย์ = 𝑥+2−656
𝑥−60 𝑥+2−65
โจทย์ให้ 𝑧คณิต = 𝑧วิทย์ ดังนัน้ 8
= 6
3𝑥 − 180 = 4𝑥 − 252
72 = 𝑥

24. เมื่อสร้างตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบของนักเรียนจานวน 48 คน โดยให้ความกว้างของแต่ละ


อันตรภาคชัน้ เป็ น 10 แล้วพบว่ามัธยฐานอยูใ่ นช่วง 50 – 59 ถ้ามีนกั เรียนได้คะแนนต่ากว่า 50 คะแนน
อยู่ 20 คน และมีนกั เรียนได้คะแนนตัง้ แต่ 60 คะแนนขึน้ ไปอยู่ 20 คน แล้วมัธยฐานเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 53 คะแนน 2. 53.5 คะแนน 3. 54 คะแนน
4. 54.5 คะแนน 5. 55 คะแนน
ตอบ 4
𝑁
− ∑𝑓
มัธยฐาน หาได้จากสูตร 𝐿 + 2 𝑓 𝐿 ∙ 𝐼
𝑚
โจทย์ให้ความกว้างชัน้ 𝐼 = 10 แสดงว่าขอบชัน้ ขยายออกไปฝั่งละ 0.5 → จะได้ขอบล่าง 𝐿 = 49.5
∑ 𝑓𝐿 = ผลรวมความถี่ในชัน ้ ต่ากว่า → มี 20 คนได้ต่ากว่า 50 คะแนน ดังนัน้ ∑ 𝑓𝐿 = 20
(ข้อนี ้ ต้องสมมติให้คะแนนสอบเป็ นจานวนเต็ม → ต่าว่า 50 ตะแนน คือ ต่ากว่า 49.5 คะแนน)
𝑓𝑚 = ความถี่ในชัน ้ มัธยฐาน → ทัง้ หมด 48 คน มี 20 คนต่ากว่า 50 คะแนน และมี 20 คนได้ตงั้ แต่ 60 คะแนนขึน้ ไป
ดังนัน้ จะเหลือนักเรียน 48 − 20 − 20 = 8 คน ได้คะแนนในช่วง 50 – 59 คะแนน → 𝑓𝑚 = 8
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 21

48
− 20
แทนในสูตร จะได้ มัธยฐาน = 49.5 + 2
8
∙ 10 = 54.5

25. ให้ 𝑆 = { −10 , −9 , −8 , … , −1 , 0 , 1 , … , 8 , 9 , 10 } สุม่ หยิบคูอ่ นั ดับ (𝑎, 𝑏) ∈ 𝑆 × 𝑆


มา 1 คูอ่ นั ดับ ความน่าจะเป็ นที่ |𝑎| + 𝑏 = 0 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
10 20 1 1 1
1. 441 2. 441 3. 21 4. 20 5. 10
ตอบ 3
จานวนแบบทัง้ หมด : 𝑆 มีสมาชิก 10 − (−10) + 1 = 21 จานวน → เลือก 𝑎, 𝑏 ได้ทงั้ หมด 212 แบบ
จานวนแบบที่สนใจ : จะเห็นว่า 𝑎 เป็ นอะไรก็ได้ แต่ตอ้ งเลือก 𝑏 เป็ นจานวนตรงข้ามกับ |𝑎| (คือ 𝑏 = −|𝑎|)
(สังเกตว่า ถ้า 𝑎 ∈ 𝑆 แล้ว −|𝑎| ∈ 𝑆 เสมอ)
เช่น ถ้า 𝑎 = −10 จะได้ 𝑏 = −| − 10| = −10
ถ้า 𝑎 = 10 จะได้ 𝑏 = −|10| = −10 เป็ นต้น
ดังนัน้ จะเลือก 𝑎 ได้ 21 แบบ (𝑎 เป็ นอะไรก็ได้ใน 𝑆) และ 𝑏 จะถูกบังคับค่าให้สอดคล้องกับ 𝑎
จะได้จะนวนแบบที่ |𝑎| + 𝑏 = 0 ทัง้ หมด 21 แบบ
21 1
จะได้ความน่าจะเป็ น = 21 2 = 21

26. ข้อมูล 20 จานวน เรียงจากน้อยไปมากได้เป็ น 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥20


โดยมีฐานนิยมมีคา่ ไม่เท่ากับ 𝑥1 , ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 𝑥̅ , มัธยฐานเท่ากับ 𝑚 และพิสยั เท่ากับ 𝑅
ถ้าตัด 𝑥1 ออกจะได้ขอ้ มูลชุดใหม่คอื 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥20 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. ฐานนิยมของข้อมูลชุดใหม่ เท่ากับ ฐานนิยมของข้อมูลชุดเก่า
ข. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดใหม่ มากกว่าหรือเท่ากับ 𝑥̅
ค. มัธยฐานของข้อมูลชุดใหม่ มากกว่าหรือเท่ากับ 𝑚
ง. พิสยั ของข้อมูลชุดใหม่ มากกว่า 𝑅
จานวนข้อความทีถ่ กู เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีขอ้ ความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
ตอบ 4
ก. ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่ซา้ มากสุด
ดังนัน้ การตัดข้อมูลที่ “ไม่เท่ากับฐานนิยม” ออก จะไม่มีผลกับการซา้ มากสุดของฐานนิยมของข้อมูลตัง้ ต้น
เนื่องจาก 𝑥1 ไม่เท่ากับฐานนิยม ดังนัน้ หลังตัด 𝑥1 ออก ฐานนิยมก็จะยังมีคา่ เท่าเดิม → ก. ถูก
ข. 𝑥̅ คือ ตัวกลางทาง “ค่าข้อมูล”
ดังนัน้ การตัดข้อมูลที่มคี า่ น้อยทีส่ ดุ ออก จะทาให้ขอ้ มูลที่เหลือมีคา่ เฉลีย่ มากขึน้
เนื่องจาก 𝑥1 อยูต่ วั แรกในข้อมูลที่เรียงจากน้อยไปมากแล้ว ดังนัน้ 𝑥1 เป็ นข้อมูลที่นอ้ ยกว่าหรือเท่ากับข้อมูลตัวอื่นๆ
ดังนัน้ การตัด 𝑥1 ออก จะทาให้ 𝑥̅ มากกว่าหรือเท่ากับของเดิม → ข. ถูก
(จริงๆ จะบอกว่า “มากกว่า” ของเดิมเลยก็ได้ เพราะ 𝑥1 จะน้อยกว่าฐานนิยม)
ค. มัธยฐาน คือ ตัวกลางทาง “ตาแหน่ง”
ดังนัน้ การตัดข้อมูลที่มตี าแหน่งน้อยที่สดุ ออก จะทาให้ “ตาแหน่งตรงกลาง” ของข้อมูลชุดใหม่ “เลือ่ นไปทางค่ามาก”
22 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

ดังนัน้ การตัด 𝑥1 ออก จะทาให้ 𝑚 มากกว่าหรือเท่ากับของเดิม → ค. ถูก


ง. พิสยั = ข้อมูลมากสุด − ข้อมูลน้อยสุด
การตัดข้อมูลที่นอ้ ยที่สดุ ออก จะทาให้ “น้อยสุดตัวใหม่” มีคา่ มากกว่าหรือเท่ากับของเดิม
ในขณะที่ ข้อมูลมากสุด มีคา่ เหมือนเดิม → พิสยั จะมีคา่ น้อยลงหรือเท่าเดิม (“เท่าเดิม” ลบ “มากขึน้ ” จะได้คา่ น้อยลง)
ดังนัน้ การตัด 𝑥1 ออก จะทาให้ 𝑅 น้อยกว่าหรือเท่ากับของเดิม → ง. ผิด

27. ให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎51 เป็ นข้อมูลในลาดับเรขาคณิต โดยมี 𝑎1 = 1 และอัตราส่วนร่วมของลาดับ


เท่ากับ − 54 แล้วมัธยฐานเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
5 25 5 23 5 5 26
1. (− 4) 2. (− 4) 3. −4 4. 1 5. (4)
ตอบ 4
เนื่องจากลาดับนี ้ ยังไม่ได้เรียงจากน้อยไปมาก จึงยังเอามาหามัธยฐานทันทีไม่ได้
5 5 1 5 2 5 3 5 4
แทน 𝑎1 = 1 , 𝑟 = − 4 จะได้ลาดับนีค้ ือ 1 , (− 4) , (− 4) , (− 4) , (− 4) , …
5 คี่ คู่
จะเห็นว่าในลาดับนี ้ มีพจน์แรก = 1 หลังจากนัน้ ลาดับจะสลับระหว่าง (− 4) และ (− 54) (เมื่อ คี่, คู่ ≥ 1)
คี่ คู่
เนื่องจากลาดับนีม้ ี 51 ตัว ดังนัน้ ลาดับนีจ้ ะมี 1 อยู่ 1 พจน์ , มี (− 54) อยู่ 25 พจน์ และมี 5
(− )
4
อยู่ 25 พจน์
5 คี่
(− 4) จะเป็ นลบ ซึง่ จะน้อยกว่า 1
5 คู่ 5 5 คู่
(− 4) จะเป็ นบวก และเนื่องจาก 4
>1 ยิ่งยกกาลังจะยิง่ มาก ดังนัน้ (− 4) จะมากกว่า 1
5 คี่ 5 คี่ 5 คี่ 5 คู่ 5 คู่ 5 คู่
(− 4) , (− 4) , … , (− 4) , 1 , (− 4) , (− 4) , … , (− 4)

25 พจน์ น้อยกว่า 1 ตรงกลาง 25 พจน์ มากกว่า 1

ดังนัน้ เมื่อเรียงจากน้อยไปมาก จะได้ 1 อยูต่ าแหน่งตรงกลาง จะได้ มัธยฐาน = 1

28. ถ้าสมการ 𝑦 = 𝑓(𝑥) มีกราฟเป็ นพาราโบลาซึง่ ผ่านจุด (0, 12) และ −(𝑥 − 1)2 + 1 ≤ 𝑓(𝑥) ≤ 1 สาหรับ
ทุกๆ จานวนจริง 𝑥 แล้วพาราโบลา 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่านจุดในข้อใดต่อไปนี ้
1. (−1, 0) 2. (−1, −1) 3. (−2, 0)
4. (−2, −2) 5. (3, −2)
ตอบ 2
−(𝑥 − 1)2 + 1 ≤ 𝑓(𝑥) ≤ 1 แสดงว่ากราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ต้องอยูใ่ นช่วง 𝑦 = −(𝑥 − 1)2 + 1 และ 𝑦 = 1
คือ ต้องอยูใ่ นบริเวณทีแ่ รเงา ดังรูป พาราโบลาคว่า จุดยอด (1, 1)
จะเห็นว่า 𝑦 = −(𝑥 − 1)2 + 1 และ 𝑦 = 1 สัมผัสกันที่ (1, 1) พอดี
(1, 1)
𝑦=1 ดังนัน้ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ต้องมีจดุ ยอด (ℎ, 𝑘) ที่ (1, 1) ตามเส้นประในรูปเท่านัน้
แทนในสูตร 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑎(𝑥 − 1)2 + 1
1
𝑦 = 𝑓(𝑥) 𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่านจุด (0, 2) → 1
= 𝑎(0 − 1)2 + 1
2
𝑦 = −(𝑥 − 1)2 + 1 1
−2 = 𝑎
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61) 23

1
จะได้ 𝑦 = − 2 (𝑥 − 1)2 + 1 → ดูวา่ ตัวเลือกไหนแทนแล้วจริง
1
แทน 𝑥 = −1 จะได้ 𝑦 = − 2 (−1 − 1)2 + 1 = −1 → 1. ผิด 2. ถูก → ตอบ 2
1 7
แทน 𝑥 = −2 จะได้ 𝑦 = − 2 (−2 − 1)2 + 1 = − 2 → 3. ผิด 4. ผิด
1
แทน 𝑥=3 จะได้ 𝑦 = − 2 (3 − 1)2 + 1 = −1 → 5. ผิด

29. ให้ 𝑆 = { −5 , −4 , −3 , −2 , −1 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 }
0 1
𝐴=[
−1 0
] และ 𝑀 = { [𝑎 𝑏 ] | 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ 𝑆 }
𝑐 𝑑
ถ้าสุม่ หยิบ 1 เมทริกซ์จากเซต 𝑀 แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้เมทริกซ์ 𝐵 ซึง่ det(𝐴 + 𝐵) = det 𝐴 + det 𝐵
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 3 1 1 11
1. 100 2. 100
3. 20
4. 10
5. 100
ตอบ 4
จานวนแบบทัง้ หมด : นับดูจะเห็นว่า 𝑆 มีสมาชิก 10 จานวน (ไม่มี 0) ดังนัน้ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เลือกได้ตวั ละ 10 แบบ
จะได้จานวนแบบทัง้ หมด = 104 แบบ
𝑎 𝑏
จานวนแบบที่สนใจ : ให้ 𝐵=[ ] จะได้ det( 𝐴 + 𝐵 ) = det 𝐴 + det 𝐵
𝑐 𝑑
0 1 𝑎 𝑏 0 1 𝑎 𝑏
det([ ]+[ ]) = det [ ] + det [ ]
−1 0 𝑐 𝑑 −1 0 𝑐 𝑑
𝑎 𝑏+1 0 1 𝑎 𝑏
det( [ ] ) = det [ ] + det [ ]
𝑐−1 𝑑 −1 0 𝑐 𝑑
𝑎𝑑 − (𝑏 + 1)(𝑐 − 1) = (0)(0) − (−1)(1) + 𝑎𝑑 − 𝑏𝑐
𝑎𝑑 − 𝑏𝑐 + 𝑏 − 𝑐 + 1 = 1 + 𝑎𝑑 − 𝑏𝑐
𝑏 = 𝑐
ดังนัน้ 𝑎, 𝑏, 𝑑 เป็ นอะไรก็ได้ (เลือกได้ตวั ละ 10 แบบ) แต่ 𝑐 ต้องเหมือนกับ 𝑏 (เลือกไม่ได้) → เลือกได้ 103 แบบ
103 1
จะได้ความน่าจะเป็ น = 104
= 10

𝜋 𝜋
30. ถ้า 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มี 𝑎1 = 12 และ 𝑑=3
65
แล้ว  sin(𝑎𝑛 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
n1
1 1
1. −√2 2. −
√2
3. 0 4. √2
5. √2
ตอบ 4
จาก sin(𝜋 + 𝜃) = − sin 𝜃
sin 𝜃 + sin(𝜋 + 𝜃) = 0 จะได้วา่ ถ้ามุมห่างกัน 𝜋 แล้ว ผลรวมค่า sin จะเป็ น 0
𝜋
โจทย์ให้ 𝑑 =
3
แปลว่า พจน์ถดั ไปเพิ่มทีละ 𝜋3 → ถ้าถัดไป 3 พจน์ จะเพิ่ม = 3𝑑 = 3 ∙ 𝜋3 = 𝜋
เช่น 𝑎4 อยูถ่ ดั จาก 𝑎1 ไป 3 พจน์ → ค่าเพิ่ม = 𝜋 → sin 𝑎1 + sin 𝑎4 = 0 …(1)
𝑎5 อยูถ่ ด
ั จาก 𝑎2 ไป 3 พจน์ → ค่าเพิ่ม = 𝜋 → sin 𝑎2 + sin 𝑎5 = 0 …(2)
𝑎6 อยูถ่ ดั จาก 𝑎3 ไป 3 พจน์ → ค่าเพิ่ม = 𝜋 → sin 𝑎3 + sin 𝑎6 = 0 …(3)
(1) + (2) + (3) จะได้ ผลบวก sin ของ 6 พจน์แรก = 0
ทาแบบเดียวกันกับ 6 พจน์ถดั ไป (𝑎7 คูก่ บั 𝑎10 , 𝑎8 คูก่ บั 𝑎11 , 𝑎9 คูก่ บั 𝑎12) ก็จะได้ผลบวก = 0 ด้วย
นั่นคือ 6 พจน์ ที่อยูต่ ิดกัน จะมีผลบวกค่า sin เป็ น 0 เสมอ
24 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (มี.ค. 61)

โจทย์ถามผลบวก sin ของ 65 พจน์แรก → แบ่งเป็ น กลุม่ ละ 6 พจน์ ไม่ลงตัว


จะหาผลบวก sin ของ 66 พจน์แรก แทน (ให้แบ่งกลุม่ ละ 6 พจน์ลงตัว) แล้วค่อยหัก sin(𝑎66 ) ที่เกินมาออกไป
เนื่องจาก 66 พจน์แรก แบ่งเป็ นกลุม่ ละ 6 พจน์ได้พอดี และทุกกลุม่ มีผลบวก sin เป็ น 0
ดังนัน้ ผลบวก sin ของ 66 พจน์แรก = 0
และ sin(𝑎66 ) = sin(𝑎1 + (66 − 1)𝑑)
𝜋 𝜋 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑
= sin ( + 65 ∙ )
12 3
𝜋+260𝜋 𝜋
= sin ( 12 ) = sin (22𝜋 − )
4
261𝜋 𝜋
= sin = − sin 4
12
87𝜋 √2
= sin 4 = − 2
จะได้ ผลบวก sin ของ 65 พจน์แรก = ผลบวก sin ของ 66 พจน์แรก − sin(𝑎66 )
√2 √2 1
= 0 − (− 2
) = 2
=
√2

เครดิต
ขอบคุณ ข้อสอบ และเฉลยละเอียด จาก อ.ปิ๋ ง GTRmath
ขอบคุณ เฉลยละเอียดจาก คุณ คณิต มงคลพิทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book
ขอบคุณ คุณ Chonlakorn Chiewpanich
และ คุณ คุณครูเบิรด์ จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ครูเบิรด์ ย่านบางแค 081-8285490
ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like