You are on page 1of 23

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค.

61) 1
23 Apr 2021

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)


วันอาทิตย์ที่ 18 มีนาคม 2561 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน
49 50 49 1
1. |100 − 99 | + 99 − 100 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4751
9900
2. 12 3. 50 99
4. 100 51 7
5. 11

2. 3 3
√216 − √0.216 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5.04 2. 5.16 3. 5.40 4. 5.46 5. 5.96

3. จานวนจริง 𝑥 ที่สอดคล้องกับสมการ 2𝑥 ∙ 3𝑥 = (62𝑥−3 )2 อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้


1. [−4, −2) 2. [−2, 0) 3. [0, 2) 4. [2, 4) 5. [4, 6)

4. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก ซึง่ มีมมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก


ถ้า sin 𝐴 = 13 แล้ว sin 𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1 2 2√2
1. 4
2. 2
3. √2
4. 3
5. 3
2 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

9 19
5. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ 𝑥+2
< 2 < 𝑥+2
มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 5. 9

6. ถ้า 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเรขาคณิต ซึง่ มี 𝑎1 = 8 และอัตราส่วนร่วมเท่ากับ − √12


แล้ว 𝑎15 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
√2 √2 1 1 1
1. − 32 2. − 16 3. 16
4. 8
5. 4

7. ถ้า 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … 𝑎100 เป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มี 𝑎1 − 𝑎2 + 𝑎3 − 𝑎4 + … + 𝑎99 − 𝑎100 = 40
แล้วผลต่างร่วมของลาดับเลขคณิตนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. − 109 2. − 45 3. − 25 4. 25 5. 45

8. แผนภาพกล่องต่อไปนี ้ แสดงผลสรุปของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ซงึ่ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ของนักเรียนกลุม่


หนึง่ ข้อใดต่อไปนีส้ รุปไม่ถกู ต้อง

60 100
67 75 88

1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบคือ 75 คะแนน


2. มัธยฐานของคะแนนสอบคือ 75 คะแนน
3. มีนกั เรียนทาคะแนนสอบได้ 100 คะแนน
4. ควอร์ไทล์ที่สามของคะแนนสอบคือ 88 คะแนน
5. คะแนนสอบที่อยูร่ ะหว่าง 67 และ 88 คะแนน มีประมาณ 50% ของจานวนคะแนนสอบทัง้ หมด
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 3

9. จากแผนภาพต้น-ใบ ที่กาหนดให้ 4 2 4 5 6
5 1 1 2 3 5 8
มัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ 6 0 1 1 3
7 0 1 2
8 1 2 3

1. 55 2. 56.5 3. 58 4. 59 5. 60.5

10. ในกล่องมีเสือ้ กีฬาจานวน 100 ตัว ซึง่ มีขนาด S, M และ L เป็ นจานวน 35, 45 และ 20 ตัว ตามลาดับ
ถ้าสุม่ หยิบเสือ้ มา 1 ตัว แล้วความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้เสือ้ ขนาด M หรือ L เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 15 2. 207
3. 209 4. 1120
5. 13 20

ตอนที่ 2 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบทีถ่ กู ที่สดุ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 4 คะแนน รวม 80 คะแนน
11. จานวนจริง 𝑥 ที่สอดคล้องกับสมการ |𝑥 2 + 1| − |2𝑥 − 1 − 𝑥 2 | = −5 คือจานวนในข้อใดต่อไปนี ้
1. − 72 2. − 52 3. − 74 4. 52 5. 72

𝑥−7 𝑥+3
12. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ 𝑥+3
+ 𝑥−7 < 0 มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 9 2. 10 3. 11 4. 12 5. 13
4 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

27
13. จานวนจริงบวก 𝑥 ที่สอดคล้องกับสมการ คือจานวนในข้อใดต่อไปนี ้
3
√3𝑥 = √5√5
1 √3 3 5 5
1. 3
2. 5
3. 5
4. 3
5. √3

14. ให้ ABDE เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ซึง่ มีความยาวด้าน BD = 20 หน่วย A E

AĈB = 60° และ EĈD = 30° ดังรู ป


พืน้ ที่รูปสีเ่ หลีย่ ม ABDE เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
60° 30°
B D
1. 80 ตารางหน่วย 2. 100 ตารางหน่วย C
20
3. 60√3 ตารางหน่วย 4. 80√3 ตารางหน่วย
5. 100√3 ตารางหน่วย

15. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก ซึง่ มีมมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก และความยาวด้าน 𝐴𝐵 เท่ากับ 10 หน่วย
ถ้าพืน้ ที่รูปสามเหลีย่ มมุมฉากเท่ากับ 24 ตารางหน่วย แล้ว sin 𝐴 + sin 𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 57 2. 34 3. 1 4. 43 5. 75

16. จากการสอบถามผูช้ มทีวีกลุม่ หนึง่ จานวน 100 คน ถึงความชอบในการรับชมรายการทีวี 3 ประเภท คือ ดนตรี กีฬา
และละคร โดยผูช้ มแต่ละคนเลือกได้ไม่เกิน 2 รายการ พบว่ามี
5 คนไม่ชอบรายการทัง้ 3 ประเภท
50 คน ชอบรายการดนตรี
40 คน ชอบรายการกีฬา
25 คน ชอบทัง้ รายการดนตรีและกีฬา
จานวนผูช้ มที่ชอบรายการละครเพียงประเภทเดียว เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 30 คน 2. 35 คน 3. 40 คน 4. 45 คน 5. 50 คน
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 5

17. จากแบบรูปที่กาหนดให้
1
2 3 4
5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

9,999 เป็ นจานวนซึง่ อยูใ่ นแถวที่เท่าใดต่อไปนี ้


1. 50 2. 51 3. 52 4. 99 5. 100

18. กาหนดให้ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑦 = 2𝑥 } และความสัมพันธ์ 𝑟1 มีกราฟดังรูป 𝑦

ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนีท้ ี่เป็ นไปได้ที่จะเป็ นความสัมพันธ์ 𝑟1 𝑟1

1. { (𝑥, −𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 } 2. { (−𝑥, 𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 }


3. { (−𝑥, −𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 } 4. { ( 𝑥2 , 𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 } (0, 1)

5. { ( 𝑥2 , −𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 } 0
𝑥

19. ให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ เซตคาตอบของอสมการ 𝑓(𝑥) ≤ 𝑔(𝑥) คือ [0, 3]
เซตคาตอบของอสมการ 0 ≤ 𝑔(𝑥) คือ [0, 4]
แล้วกราฟในข้อใดต่อไปนีท้ ี่เป็ นไปได้ที่จะเป็ นกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) และ 𝑦 = 𝑔(𝑥)
1. 𝑦 2. 𝑦

𝑥 𝑥
0 0

3. 𝑦 4. 𝑦

𝑥 𝑥
0 0

5. 𝑦

𝑥
0
6 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

20. ถ้ากราฟของฟังก์ชนั กาลังสอง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดแกน X ที่ (−4, 0) และ (2, 0) ตัดแกน Y ที่จดุ (0, 16)
แล้วข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดเท่ากับ −18 2. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดเท่ากับ −17 3. 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่ากับ 16
4. 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่ากับ 18 5. 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่ากับ 20

21. เพื่อนกลุม่ หนึง่ ให้บริษัททัวร์จดั เทีย่ วหนึง่ วันแบบไปเช้า – เย็นกลับ บริษัททัวร์คิดค่าใช้จา่ ยรวมทัง้ สิน้ 4,950 บาท
เมื่อถึงวันเดินทาง มีเพื่อนในกลุม่ 2 คน ไปไม่ได้ คนที่ไปเที่ยวจึงต้องจ่ายเงินแทนเพื่อนที่ไปไม่ได้ โดยแต่ละคนจ่าย
เพิ่มคนละ 100 บาทพอดี จานวนเพื่อนในกลุม่ เมื่อเริม่ ต้นจัดทัวร์ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 11 คน 2. 12 คน 3. 13 คน 4. 14 คน 5. 15 คน

22. กาหนดให้ 1 , 𝑏1 , 𝑏2 , 𝑏3 , …. , 𝑏𝑛 , 16 เป็ นลาดับเลขคณิตซึง่ มีผลต่างร่วมเท่ากับ 13


ค่าของ 𝑏1 + 𝑏2 + 𝑏3 + … + 𝑏𝑛 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 250 2. 274 3. 350 4. 364 5. 374

23. จากแบบรูปของเซตที่กาหนดให้ตอ่ ไปนี ้ เซตที่ 1 คือ {1}


เซตที่ 2 คือ {2, 3}
เซตที่ 3 คือ {4, 5, 6}
เซตที่ 4 คือ {7, 8, 9, 10}
⋮ ⋮
จานวนเต็มที่เล็กที่สดุ ของเซตที่ 50 คือจานวนใดต่อไปนี ้
1. 1,225 2. 1,226 3. 1,250 4. 1,274 5. 1,275
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 7

24. ในปี ที่ 1 สมาคมแห่งหนึง่ มีสมาชิก 5 คน


ในปี ที่ 2 สมาชิกแต่ละคนจากปี ที่ 1 ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ในปี ที่ 3 สมาชิกแต่ละคนที่เข้าใหม่ในปี ที่ 2 ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ในปี ที่ 4 สมาชิกแต่ละคนที่เข้าใหม่ในปี ที่ 3 ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ในทุกๆ ปี สมาชิกแต่ละคนทีเ่ ข้าใหม่ในปี ที่แล้ว ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ถ้าการเพิ่มสมาชิกของสมาคมทาโดยวิธีนเี ้ ท่านัน้ ในปี ที่ 8 สมาคมจะมีสมาชิกรวมทัง้ หมด เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 3,280 คน 2. 5,465 คน 3. 6,561 คน
4. 16,400 คน 5. 49,205 คน

25. ข้อมูลชุดใดต่อไปนี ้ มีฐานนิยม มัธยฐาน และค่าเฉลีย่ เลขคณิต เท่ากัน


1. 3 , 3 , 3 , 5 , 7 , 7 2. 2 , 2 , 3 , 3 , 3 , 4 3. 4,4,4,5,5,6,6
4. 5 , 6 , 7 , 7 , 7 , 8 , 9 5. 2 , 2 , 2 , 2 , 2 , 3 , 4

26. จากคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ พบว่า คะแนนสูงสุดของนักเรียนในห้องคือ 18 คะแนน


คะแนนต่าสุดของนักเรียนในห้องคือ 10 คะแนน
คะแนนสูงสุดของนักเรียนหญิงคือ 17 คะแนน
คะแนนต่าสุดของนักเรียนชายคือ 11 คะแนน
ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ถกู ต้อง
1. พิสยั ของคะแนนสอบของนักเรียนในห้องคือ 8 คะแนน
2. พิสยั ของคะแนนสอบของนักเรียนชายคือ 7 คะแนน
3. พิสยั ของคะแนนสอบของนักเรียนหญิงคือ 8 คะแนน
4. นักเรียนที่ได้คะแนนสูงสุดในห้อง เป็ นนักเรียนชาย
5. นักเรียนที่ได้คะแนนต่าสุดในห้อง เป็ นนักเรียนหญิง
8 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

27. ข้อมูลชุดหนึง่ เรียงลาดับจากน้อยไปมากได้ดงั นี ้ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥18 , 𝑥19


ถ้า ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 30 คะแนน
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูล 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥9 , 𝑥10 เท่ากับ 24.5 คะแนน
และ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูล 𝑥10 , 𝑥11 , 𝑥12 , … , 𝑥18 , 𝑥19 เท่ากับ 35 คะแนน
แล้ว มัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 24.5 คะแนน 2. 25 คะแนน 3. 25.5 คะแนน
4. 26 คะแนน 5. 26.5 คะแนน

28. ถ้าทอดลูกเต๋า 3 ลูกพร้อมกันแล้ว ความน่าจะเป็ นที่ลกู เต๋าจะขึน้ แต้มไม่ซา้ กันเลยเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 19 2. 16 3. 59 4. 23 5. 56
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 9

29. ต้องการสร้างจานวนที่มี 5 หลัก จากเลขโดด 0 และ 1 โดยจานวนที่สร้างขึน้ มีคา่ มากกว่า 10,000


จะมีวธิ ีการสร้างได้ทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 15 วิธี 2. 16 วิธี 3. 20 วิธี 4. 31 วิธี 5. 32 วิธี

30. กาหนดให้ 𝐴 = { −5 , −4 , −3 , −2 , −1 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 }
𝑆 = { (𝑎, 𝑏) | 𝑎, 𝑏 ∈ 𝐴 }
ถ้า (𝑎, 𝑏) เป็ นสมาชิกหนึง่ ตัวของ 𝑆 ที่ได้จากการสุม่ แล้ว ความน่าจะเป็ นที่เส้นตรง 𝑦 = 𝑎𝑥 + 𝑏 ตัดกับ
เส้นตรง 𝑦 = 8𝑥 + 1 ที่จดุ (0, 1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1 1 1
1. 100 2. 50 3. 40 4. 20 5. 10
10 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

เฉลย
1. 2 7. 2 13. 3 19. 3 25. 4
2. 3 8. 1 14. 5 20. 4 26. 3
3. 4 9. 4 15. 5 21. 1 27. 2
4. 5 10. 5 16. 1 22. 5 28. 3
5. 1 11. 2 17. 5 23. 2 29. 1
6. 3 12. 1 18. 2 24. 4 30. 5

แนวคิด
49 50 49 1
1. |100 − 99 | + 99 − 100 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 4751
9900
2. 12 3. 5099
51
4. 100 7
5. 11
ตอบ 2
ข้อนีจ้ ะคิดเลขตรงๆ ก็ได้ แต่เลขจะเยอะ
ถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นว่าข้างในค่าสัมบูรณ์ กับข้างนอกค่าสัมบูรณ์ มีคทู่ ี่สว่ นเหมือนกัน บวกลบกันได้ง่ายๆ อยู่
ดังนัน้ จะพยายามถอดค่าสัมบูรณ์ โดยไม่คิดเลข ด้วยสมบัติ |𝑎| = { 𝑎 เมื่อ 𝑎 ≥ 0
−𝑎 เมื่อ 𝑎 < 0
ซึง่ จะใช้สมบัตินไี ้ ด้ เราต้องรูว้ า่ ข้างในค่าสัมบูรณ์ เป็ นบวกหรือเป็ นลบก่อน
49 50
เนื่องจาก 100 <
99
(เศษส่วนที่มี “เศษ” น้อย และ “ส่วน” มาก จะมีคา่ น้อย)
49 50 49 50 49 50
ดังนัน้ 100 − จะเป็ นค่าติดลบ → | − | ต้องใช้สตู รล่าง ได้เป็ น − ( − )
99 100 99 100 99
49 50 49 1 49 50 49 1
ดังนัน้ |100 − 99 | + 99 − 100 = − (100 − 99 ) + 99 − 100
49 50 49 1
= − 100 + 99 + 99 − 100
−49−1 50+49
= 100
+ 99
50 99
= − 100 + 99
1 1
= −2 + 1 = 2

2. 3
√216 − √0.216
3
มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5.04 2. 5.16 3. 5.40 4. 5.46 5. 5.96
ตอบ 3
หารากที่ 3 ต้องแยกตัวประกอบ แล้วจับตัวซา้ 3 ตัว ยุบเหลือ 1 ตัว
2 ) 216 → จะได้ √216 = 2 × 3 = 6
3

ได้ 2 หนึ่งตัว 2 ) 108


2 ) 54 และทศนิยม จะถูกยุบลง 3 เท่าด้วย
3 ) 27 3
0.216 มี 3 ตาแหน่ง → จะถูกยุบเหลือ 3 = 1 ตาแหน่ง
ได้ 3 หนึ่งตัว 3)9
→ จะได้ √0.216 = 0.6
3
3
ดังนัน้ 3√216 − 3√0.216 = 6 − 0.6 = 5.4 = 5.40
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 11

3. จานวนจริง 𝑥 ที่สอดคล้องกับสมการ 2𝑥 ∙ 3𝑥 = (62𝑥−3 )2 อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้


1. [−4, −2) 2. [−2, 0) 3. [0, 2) 4. [2, 4) 5. [4, 6)
ตอบ 4
2𝑥 ∙ 3𝑥 = (62𝑥−3 )2
(𝑎𝑏)𝑛 = 𝑎𝑛 𝑏 𝑛
(2 ∙ 3)𝑥 = (62𝑥−3 )2 (𝑎𝑚 )𝑛 = 𝑎𝑚𝑛
6𝑥 = 6(2𝑥−3)(2)
𝑥 = (2𝑥 − 3)(2)
𝑥 = 4𝑥 − 6
6 = 3𝑥
2 = 𝑥 → อยูใ่ นช่วง [2, 4)

4. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก ซึง่ มีมมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก


ถ้า sin 𝐴 = 13 แล้ว sin 𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1 2 2√2
1. 4
2. 2
3. √2
4. 3
5. 3
ตอบ 5 𝐵
1 ข้าม
sin 𝐴 = 3
= ฉาก → จะวาดได้ดงั รูป 3
1 พีทากอรัส จะได้ 𝐴𝐶 = √32 − 12
𝐴 𝐶 = √8 = 2√2
ถ้าใช้ 𝐵 เป็ นมุมอ้างอิง จะได้ ข้าม คือ 𝐴𝐶
ข้าม 𝐴𝐶 2√2
จะได้ sin 𝐵 = ฉาก = 𝐴𝐵
= 3

9 19
5. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ 𝑥+2 < 2 < 𝑥+2 มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 5 2. 6 3. 7 4. 8 5. 9
ตอบ 1
19
จะเห็นว่า 𝑥 + 2 ต้องเป็ นบวก ไม่งนั้ 𝑥+2 จะติดลบ และไม่มีทางมากกว่า 2 ได้
ดังนัน้ เราสามารถคูณ 𝑥 + 2 ตลอดได้ โดยไม่ตอ้ งกลับเครือ่ งหมายของอสมการ
9 19
𝑥+2
< 2 < 𝑥+2
คูณ 𝑥 + 2 ตลอด
9 < 2(𝑥 + 2) < 19 ไม่ตอ้ งกลับมากกว่าน้อยกว่า
4.5 < 𝑥 + 2 < 9.5
2.5 < 𝑥 < 7.5

จะเห็นว่าคาตอบ สอดคล้องกับเงื่อนไข 𝑥 + 2 ต้องเป็ นบวก → คาตอบคือช่วง 2.5 ถึง 7.5


เอาเฉพาะจานวนเต็ม จะได้ 3, 4, 5, 6, 7 ซึง่ มีทงั้ หมด 5 จานวน

6. ถ้า 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเรขาคณิต ซึง่ มี 𝑎1 = 8 และอัตราส่วนร่วมเท่ากับ − √12


แล้ว 𝑎15 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
√2 √2 1 1 1
1. − 32 2. − 16 3. 16
4. 8
5. 4
ตอบ 3
1
จากสูตรลาดับเรขาคณิต 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1 แทน 𝑛 = 15 , 𝑎1 = 8 และ 𝑟=−
√2
1 15−1 1 14 1 1 1
จะได้ 𝑎15 = 8 (−
√2
) = 8 (−
√2
) = 8 (27 ) = 24
= 16
12 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

7. ถ้า 𝑎1, 𝑎2, 𝑎3, … 𝑎100 เป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มี 𝑎1 − 𝑎2 + 𝑎3 − 𝑎4 + … + 𝑎99 − 𝑎100 = 40
แล้วผลต่างร่วมของลาดับเลขคณิตนี ้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. − 109 2. − 45 3. − 25 4. 25 5. 45
ตอบ 2
𝑎1 − 𝑎2 + 𝑎3 − 𝑎4 + … + 𝑎99 − 𝑎100 = 40 คูณ −1 ตลอด
−𝑎1 + 𝑎2 − 𝑎3 + 𝑎4 − … − 𝑎99 + 𝑎100 = −40
(𝑎2 − 𝑎1 ) + (𝑎4 − 𝑎3 ) + … + (𝑎100 − 𝑎99 ) = −40 พจน์คทู่ ี่ติดกันในลาดับเลขคณิต ห่างกัน = 𝑑
𝑑 + 𝑑 +…+ 𝑑 = −40
100 พจน์ = 50 คู่
50𝑑 = −40
4
𝑑 = −5

8. แผนภาพกล่องต่อไปนี ้ แสดงผลสรุปของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ซงึ่ มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน ของนักเรียนกลุม่


หนึง่ ข้อใดต่อไปนีส้ รุปไม่ถกู ต้อง

60 100
67 75 88

1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบคือ 75 คะแนน


2. มัธยฐานของคะแนนสอบคือ 75 คะแนน
3. มีนกั เรียนทาคะแนนสอบได้ 100 คะแนน
4. ควอร์ไทล์ที่สามของคะแนนสอบคือ 88 คะแนน
5. คะแนนสอบที่อยูร่ ะหว่าง 67 และ 88 คะแนน มีประมาณ 50% ของจานวนคะแนนสอบทัง้ หมด
ตอบ 1
จากแผนภาพกล่อง จะได้ min = 60 , 𝑄1 = 67 , 𝑄2 = 75 , 𝑄3 = 88 และ max = 100
ดังนัน้ มัธยฐาน = 𝑄2 = 75 → 2. ถูก
จาก max = 100 ดังนัน้ มีนกั เรียนได้ 100 คะแนน → 3. ถูก
จาก 𝑄3 = 88 → 4. ถูก
ระหว่าง 67 และ 88 จะมี 2 ควอร์ไทล์ = 2(25%) = 50% → 5. ถูก (1 ควอร์ไทล์ = 25%)
เหลือข้อ 1. → แผนภาพกล่อง จะบอกเกี่ยวกับ “ตาแหน่ง” ของข้อมูล → จะไม่สามารถโยงไปหา 𝑥̅ ได้โดยตรง
และจากแผนภาพ สองกล่องทางฝั่งขวาใหญ่กว่าสองกล่องทางฝั่งซ้าย → ฝั่งขวาหนาแน่นน้อยกว่า → ข้อมูลเบ้ขวา
จึงมีแนวโน้มที่ 𝑥̅ จะไม่เท่ากับ มัธยฐาน (75) → 1. ผิด

9. จากแผนภาพต้น-ใบ ที่กาหนดให้ 4 2 4 5 6
5 1 1 2 3 5 8
มัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ 6 0 1 1 3
7 0 1 2
8 1 2 3
1. 55 2. 56.5 3. 58 4. 59 5. 60.5
ตอบ 4
นับจานวนข้อมูลจากตัวเลขฝั่งขวาของเส้นคั่น จะได้ 𝑁 = 20 จานวน
จะได้มธั ยฐานอยูต่ วั ที่ 𝑁+1
2
20+1
= 2 = 10.5 → ระหว่างตัวที่ 10 กับตัวที่ 11
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 13

5 1 1 2 3 5 8
6 0 1 1 3
ตัวที่ 10 มีคา่ 58 จะได้มธั ยฐาน =
58+60
= 59
ตัวที่ 11 มีคา่ 60 2

10. ในกล่องมีเสือ้ กีฬาจานวน 100 ตัว ซึง่ มีขนาด S, M และ L เป็ นจานวน 35, 45 และ 20 ตัว ตามลาดับ
ถ้าสุม่ หยิบเสือ้ มา 1 ตัว แล้วความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้เสือ้ ขนาด M หรือ L เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 15 2. 207
3. 209 4. 1120
5. 13 20
ตอบ 5
มีเสือ้ 100 ตัว → จานวนแบบทัง้ หมด = 100 แบบ
จานวนเสือ้ ขนาด M หรือ L = 45 + 20 = 65 ตัว → จานวนแบบที่สนใจ = 65 แบบ
65 13
จะได้ความน่าจะเป็ น = 100 = 20

11. จานวนจริง 𝑥 ที่สอดคล้องกับสมการ |𝑥 2 + 1| − |2𝑥 − 1 − 𝑥 2 | = −5 คือจานวนในข้อใดต่อไปนี ้


1. − 72 2. − 52 3. −
7
4
4. 5
2
5. 72
ตอบ 2
ถ้ารูเ้ ครือ่ งหมายของตัวที่อยูใ่ นค่าสัมบูรณ์ จะถอดค่าสัมบูรณ์ได้ดว้ ยสมบัติ เมื่อ 𝑎 ≥ 0
|𝑎| = { 𝑎
เมื่อ 𝑎 < 0 −𝑎
(หมายเหตุ : เมื่อ 𝑎 = 0 จะใช้ 𝑎 หรือ −𝑎 ก็ได้ เพราะเป็ น 0 เหมือนกัน)
เนื่องจาก 𝑥 2 ≥ 0 เสมอ ดังนัน้ 𝑥 2 + 1 เป็ นบวกเสมอ ดังนัน้ |𝑥 2 + 1| = 𝑥 2 + 1
และ 2𝑥 − 1 − 𝑥 2 = −(𝑥 2 − 2𝑥 + 1) = = −(𝑥 − 1)2 จะเป็ นลบหรือศูนย์เสมอ
ผลกาลังสอง ≥ 0 เสมอ
ดังนัน้ |2𝑥 − 1 − 𝑥 2 | = −(2𝑥 − 1 − 𝑥 2 ) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 1
แทนในอสมการโจทย์จะได้ |𝑥 2 + 1| − |2𝑥 − 1 − 𝑥 2 | = −5
(𝑥 2 + 1) − (𝑥 2 − 2𝑥 + 1) = −5
𝑥 2 + 1 − 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 = −5
2𝑥 = −5
5
𝑥 = −2

𝑥−7 𝑥+3
12. จานวนเต็ม 𝑥 ที่สอดคล้องกับอสมการ 𝑥+3
+ 𝑥−7 < 0 มีจานวนทัง้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 9 2. 10 3. 11 4. 12 5. 13
ตอบ 1
𝑥−7 𝑥+3
+ < 0
𝑥+3 𝑥−7
ตัวหาร ห้ามเป็ น 0 → 𝑥 + 3 และ 𝑥 − 7 ≠ 0
(𝑥−7)2 +(𝑥+3)2
(𝑥+3)(𝑥−7)
< 0 และเนื่องจากผลกาลังสอง ห้ามเป็ นลบ
1
< 0 ดังนัน้ (𝑥 − 7)2 + (𝑥 + 3)2 > 0
(𝑥+3)(𝑥−7)
→ หารตลอดด้วย (𝑥 − 7)2 + (𝑥 + 3)2 ได้
+ − +
−3 7

จานวนเต็มระหว่าง −3 และ 7 จะมี −2 , −1 , 0 , … , 6 ซึง่ มีทงั้ หมด 6 − (−2) + 1 = 9 จานวน


14 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

27
13. จานวนจริงบวก 𝑥 ที่สอดคล้องกับสมการ คือจานวนในข้อใดต่อไปนี ้
3
√3𝑥 = √5√5
1 √3 3 5 5
1. 3
2. 5
3. 5
4. 3
5. √3
ตอบ 3
3 27
√3𝑥 = √5√5 3
√3𝑥 = 1
3 33 52
√3𝑥 = √ 1
3
2
51 ∙52 3𝑥 = ( 1 )
3 33 52
√3𝑥 = √ 1 9
1+
5 2 3𝑥 = 5
1
33 3 3
√3𝑥 = ( ) 𝑥 =
3 5
52

14. ให้ ABDE เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ซึง่ มีความยาวด้าน BD = 20 หน่วย A E

AĈB = 60° และ EĈD = 30° ดังรู ป


พืน้ ที่รูปสีเ่ หลีย่ ม ABDE เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
60° 30°
B D
1. 80 ตารางหน่วย 2. 100 ตารางหน่วย C
20
3. 60√3 ตารางหน่วย 4. 80√3 ตารางหน่วย
5. 100√3 ตารางหน่วย
ตอบ 5
จะได้ AĈE = 180° − 60° − 30° = 90° → ∆ACE เป็ น ∆ มุมฉาก 20
A E
30°
และจากสมบัติมมุ แย้ง จะได้ AÊC = EĈD = 30° ดังรูป
ข้าม AC
ใช้อตั ราส่วนตรีโกณฯ กับ ∆ACE จะได้ sin 30° = ฉาก = AE
1 AC 60° 30°
= B D
2 20 C
10 = AC
ข้าม AB
ใช้อตั ราส่วนตรีโกณฯ กับ ∆ABC จะได้ sin 60° = ฉาก = AC
√3 AB
2
= 10
5√3 = AB
จะได้ พืน้ ที่สเี่ หลีย่ ม ABDE = กว้าง × ยาว = AB × AE = 5√3 × 20 = 100√3

15. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก ซึง่ มีมมุ 𝐶 เป็ นมุมฉาก และความยาวด้าน 𝐴𝐵 เท่ากับ 10 หน่วย
ถ้าพืน้ ที่รูปสามเหลีย่ มมุมฉากเท่ากับ 24 ตารางหน่วย แล้ว sin 𝐴 + sin 𝐵 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 57 2. 34 3. 1 4. 43 5. 75
ตอบ 5
A จากพีทากอรัส จะได้ 𝑎2 + 𝑏2 = 102 …(1)
𝑏 10
โจทย์ให้พนื ้ ที่ = 24 ดังนัน้ 12 𝑎𝑏 = 24
C 𝑎 B 𝑎𝑏 = 48 …(2)
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 15

𝑎 𝑏
จะได้ sin 𝐴 + sin 𝐵 =
10
+
10
𝑎+𝑏
พยายามโยงไปหา (1) กับ (2) =
10
(𝑎, 𝑏 เป็ นบวก) =
√(𝑎+𝑏)2
10
√𝑎 2 +2𝑎𝑏+𝑏2
= √196
10 = 10
√(𝑎2 +𝑏2 )+2𝑎𝑏 14
= 10
=
จาก (1) และ (2) 10
√ 102 +2(48) 7
= = 5
10

16. จากการสอบถามผูช้ มทีวีกลุม่ หนึง่ จานวน 100 คน ถึงความชอบในการรับชมรายการทีวี 3 ประเภท คือ ดนตรี กีฬา
และละคร โดยผูช้ มแต่ละคนเลือกได้ไม่เกิน 2 รายการ พบว่ามี
5 คนไม่ชอบรายการทัง้ 3 ประเภท
50 คน ชอบรายการดนตรี
40 คน ชอบรายการกีฬา
25 คน ชอบทัง้ รายการดนตรีและกีฬา
จานวนผูช้ มที่ชอบรายการละครเพียงประเภทเดียว เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 30 คน 2. 35 คน 3. 40 คน 4. 45 คน 5. 50 คน
ตอบ 1
ละครอย่างเดียว 𝑥 คน …(1)
จะใช้วิธีบวกลบแผนภาพ โดยพยายามประกอบชิน้ ส่วนให้ครบ (ทัง้ หมด = 100 คน) ดนตรี กีฬา
สมมติให้จานวนผูช้ มทีช่ อบละครเพียงประเภทเดียว มี 𝑥 คน → ส่วนที่แรเงา = 𝑥 ดังรูป
ละคร

และจากข้อมูลทัง้ หมดที่โจทย์โจทย์กาหนด จะได้แผนภาพดังรูป


ไม่ชอบเลย 5 คน …(2) ดนตรี 50 คน …(3) กีฬา 40 คน …(4) ดนตรีและกีฬา 25 คน …(5)

(4) − (5) : 40 − 25 = 15 คน …(6)

จะเห็นว่า ชิน้ ส่วนที่แรเงาใน (1) + (2) + (3) + (6) จะประกอบกัน


ได้ครบทัง้ รูป (= 100 คน) พอดี → 𝑥 + 5 + 50 + 15 = 100
𝑥 = 30
16 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

17. จากแบบรูปที่กาหนดให้
1
2 3 4
5 6 7 8 9
10 11 12 13 14 15 16
17 18 19 20 21 22 23 24 25
26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36

9,999 เป็ นจานวนซึง่ อยูใ่ นแถวที่เท่าใดต่อไปนี ้


1. 50 2. 51 3. 52 4. 99 5. 100
ตอบ 5
สังเกตว่าตัวสุดท้ายของแถว = (หมายเลขแถว)2 เสมอ 12
1 22
ดังนัน้ ต้องหาว่า 9,999 มีคา่ ประมาณ 𝑛2 ตัวไหน 2 3 4 32
→ 1002 = 10,000 มีคา่ มากกว่า 9,999 อยูน ่ ิดๆ 5 6 7 8 9 42
10 11 12 13 14 15 16 52
ดังนัน้ 9,999 จะอยูภ่ ายในแถวที่ 100 17 18 19 20 21 22 23 24 25

18. กาหนดให้ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑦 = 2𝑥 } และความสัมพันธ์ 𝑟1 มีกราฟดังรูป 𝑦

ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนีท้ ี่เป็ นไปได้ที่จะเป็ นความสัมพันธ์ 𝑟1 𝑟1

1. { (𝑥, −𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 } 2. { (−𝑥, 𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 }


3. { (−𝑥, −𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 } 4. { ( 𝑥2 , 𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 } (0, 1)

5. { ( 𝑥2 , −𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 } 0
𝑥

ตอบ 2
𝑟 เป็ นเอกซ์โพเนนเชียล ฐาน 2
𝑟1 𝑦
𝑟
ซึง่ ถ้านาไปวาดบนแกนเดียวกับ 𝑟1จะมีกราฟเป็ นเส้นประตามรูป
จะเห็นว่า มีความเป็ นไปได้ที่ 𝑟1 จะสมมาตรกับ 𝑟 รอบแกน 𝑦 (−1, 2) (1, 2)

ซึง่ จุดที่สมมาตรรอบแกน 𝑦 จะมีคา่ 𝑥 ที่สลับเครือ่ งหมายกัน (0, 1)


𝑥
(เช่น เมื่อ (1, 2) อยูบ่ น 𝑟 จะได้ (−1, 2) อยูบ่ น 𝑟1 ดังรูป) 0
นั่นคือ เมื่อ (𝑥, 𝑦) อยูบ่ น 𝑟 จะได้ (−𝑥, 𝑦) จะอยูบ่ น 𝑟1
ดังนัน้ 𝑟1 คือ { (−𝑥, 𝑦) | (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑟 }
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 17

19. ให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ เซตคาตอบของอสมการ 𝑓(𝑥) ≤ 𝑔(𝑥) คือ [0, 3]
เซตคาตอบของอสมการ 0 ≤ 𝑔(𝑥) คือ [0, 4]
แล้วกราฟในข้อใดต่อไปนีท้ ี่เป็ นไปได้ที่จะเป็ นกราฟของ 𝑦 = 𝑓(𝑥) และ 𝑦 = 𝑔(𝑥)
1. 𝑦 2. 𝑦

𝑥 𝑥
0 0

3. 𝑦 4. 𝑦

𝑥 𝑥
0 0

5. 𝑦

𝑥
0

ตอบ 3
คาตอบของ 𝑓(𝑥) ≤ 𝑔(𝑥) คือ [0, 3] แสดงว่าในช่วง 𝑥 = 0 ถึง 3 กราฟของ 𝑓 ต้องสูงน้อยกว่าหรือเท่ากับกราฟ 𝑔
และนอกช่วง [0, 3] กราฟ 𝑓 ต้องสูงกว่ากราฟ 𝑔
จะเห็นว่าข้อ 2. 4. และ 5. ช่วงทีก่ ราฟเส้นหนึง่ สูงน้อยกว่าหรือเท่ากับอีกเส้น ไม่ใช่ [0, 3] → ใช้ไม่ได้
2. 𝑦 4. 𝑦 5. 𝑦

𝑥 𝑥 𝑥
0 0 0

ส่วนข้อ 1. และ 3. จะมีกราฟหนึง่ สูงน้อยกว่าหรือเท่ากับอีกเส้น ในช่วง [0, 3] → ใช้ได้ และจะได้กราฟล่างคือ 𝑓 ดังรูป


1. 𝑦 3. 𝑦
𝑔
𝑓
𝑥 𝑥
0 𝑔 0
𝑓

ถัดมา โจทย์ให้คาตอบของ 0 ≤ 𝑔(𝑥) คือ [0, 4] → แสดงว่าในช่วง 𝑥 = 0 ถึง 4 กราฟ 𝑔 ต้อง ≥ 0


จะเห็นว่าข้อ 1. ช่วง [0, 4] กราฟ 𝑔 มีสว่ นที่อยูใ่ ต้แกน 𝑥 จึงเป็ นลบและใช้ไม่ได้
18 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

ในขณะที่ขอ้ 3. ช่วง [0, 4] กราฟ 𝑔 ไม่มีสว่ นที่อยูใ่ ต้แกน 𝑥 → ตอบ 3.

20. ถ้ากราฟของฟังก์ชนั กาลังสอง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดแกน X ที่ (−4, 0) และ (2, 0) ตัดแกน Y ที่จดุ (0, 16)
แล้วข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง
1. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดเท่ากับ −18 2. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดเท่ากับ −17 3. 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่ากับ 16
4. 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่ากับ 18 5. 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่ากับ 20
ตอบ 4
ตัดแกน X ที่ (−4, 0) และ (2, 0) แสดงว่าสมการ 𝑓(𝑥) = 0 มีคาตอบคือ −4 และ 2
แต่สมการกาลังสอง ที่มีคาตอบ คือ −4 และ 2 จะต้องอยูใ่ นรูป 𝑘(𝑥 + 4)(𝑥 − 2) = 0 เมื่อ 𝑘 เป็ นค่าคงที่
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = 𝑘(𝑥 + 4)(𝑥 − 2) …(∗)
โจทย์ให้กราฟตัดแกน Y ที่จดุ (0, 16) แสดงว่า 𝑓(0) = 16
แทน 𝑥 = 0 ใน (∗) จะได้ 𝑓(0) = 𝑘(0 + 4)(0 − 2)
16 = 𝑘( 4 )( −2 )
−2 = 𝑘
แทน 𝑘 = −2 ใน (∗) จะได้ 𝑓(𝑥) = −2(𝑥 + 4)(𝑥 − 2)
= −2(𝑥 2 + 2𝑥 − 8)
= −2𝑥 2 − 4𝑥 + 16
เทียบกับรูปสมการ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 จะได้ 𝑎 = −2 , 𝑏 = −4 และ 𝑐 = 16
4𝑎𝑐−𝑏2 4(−2)(16)−(−4)2 (−4)2
𝑎 เป็ นลบ แสดงว่าเป็ นพาราโบลาคว่า จะได้คา่ สูงสุด = 4𝑎
= 4(−2)
= 16 − 4(−2) = 18

21. เพื่อนกลุม่ หนึง่ ให้บริษัททัวร์จดั เทีย่ วหนึง่ วันแบบไปเช้า – เย็นกลับ บริษัททัวร์คิดค่าใช้จา่ ยรวมทัง้ สิน้ 4,950 บาท
เมื่อถึงวันเดินทาง มีเพื่อนในกลุม่ 2 คน ไปไม่ได้ คนที่ไปเที่ยวจึงต้องจ่ายเงินแทนเพื่อนที่ไปไม่ได้ โดยแต่ละคนจ่าย
เพิ่มคนละ 100 บาทพอดี จานวนเพื่อนในกลุม่ เมื่อเริม่ ต้นจัดทัวร์ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 11 คน 2. 12 คน 3. 13 คน 4. 14 คน 5. 15 คน
ตอบ 1
ให้ตอนแรกมี 𝑥 คน ค่าใช้จา่ ยรวม 4950 บาท → ต้องจ่ายคนละ 4950 𝑥
บาท
ตอนหลัง หายไป 2 คน → เหลือ 𝑥 − 2 คน → ตอนหลังต้องจ่ายคนละ 4950 𝑥−2
บาท
ตอนหลังจ่ายเพิม่ คนละ 100 บาท → จะได้สมการคือ 4950
𝑥−2

4950
𝑥
= 100
÷ 50 ตลอด
99 99
𝑥−2
− 𝑥
= 2
99𝑥 − 99(𝑥 − 2) =
2(𝑥 − 2)(𝑥)
99𝑥 − 99𝑥 + 198 =
2(𝑥 − 2)(𝑥)
99 =
(𝑥 − 2)(𝑥)
0 𝑥 2 − 2𝑥 − 99
=
0 (𝑥 + 9)(𝑥 − 11)
=
𝑥 = −9 , 11
แต่จานวนคน เป็ นลบไม่ได้ → ตอบ 11 คน
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 19

22. กาหนดให้ 1 , 𝑏1 , 𝑏2 , 𝑏3 , …. , 𝑏𝑛 , 16 เป็ นลาดับเลขคณิตซึง่ มีผลต่างร่วมเท่ากับ 13


ค่าของ 𝑏1 + 𝑏2 + 𝑏3 + … + 𝑏𝑛 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 250 2. 274 3. 350 4. 364 5. 374
ตอบ 5
ผลต่างร่วม = 13 ดังนัน้ 𝑏1จะเพิ่มจากพจน์ก่อนหน้า = 13 → จะได้ 𝑏1 = 1 + 13 = 43
และ 𝑏𝑛 จะน้อยกว่าพจน์ก่อนหน้า = 13 → จะได้ 𝑏𝑛 = 16 − 13 = 47 3
จากสูตรลาดับเลขคณิต จะได้ 𝑏𝑛 = 𝑏1 + (𝑛 − 1)𝑑
47 4 1
3
= 3
+ (𝑛 − 1) (3)
43 = 𝑛−1
44 = 𝑛
จากสูตรอนุกรมเลขคณิต จะได้ 𝑏1 + 𝑏2 + 𝑏3 + … + 𝑏𝑛 =
𝑛
2
(𝑏1 + 𝑏𝑛 )
44 4 47
= 2 3
( + 3)
= 22( 17 ) = 374

23. จากแบบรูปของเซตที่กาหนดให้ตอ่ ไปนี ้ เซตที่ 1 คือ {1}


เซตที่ 2 คือ {2, 3}
เซตที่ 3 คือ {4, 5, 6}
เซตที่ 4 คือ {7, 8, 9, 10}
⋮ ⋮
จานวนเต็มที่เล็กที่สดุ ของเซตที่ 50 คือจานวนใดต่อไปนี ้
1. 1,225 2. 1,226 3. 1,250 4. 1,274 5. 1,275
ตอบ 2
จะหาจานวนเต็มที่เล็กที่สดุ ของเซตที่ 50 ต้องหาว่าเซตทุกเซตก่อนหน้า (เซตที่ 1 ถึง 49) นับไปถึงตัวที่เท่าไหร่
สังเกตว่า เซตที่ 1 มีสมาชิก 1 ตัว
เซตที่ 2 มีสมาชิก 2 ตัว
เซตที่ 3 มีสมาชิก 3 ตัว

เซตที่ 49 มีสมาชิก 49 ตัว
49(49+1)
ดังนัน้ รวม 49 เซตก่อนหน้า จะนับไปถึงตัวที่ 1 + 2 + … + 49 = 2
= 1225
→ ตัวแรกของเซตที่ 50 จะมีคา่ ถัดไป ซึง่ คือ 1226
20 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

24. ในปี ที่ 1 สมาคมแห่งหนึง่ มีสมาชิก 5 คน


ในปี ที่ 2 สมาชิกแต่ละคนจากปี ที่ 1 ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ในปี ที่ 3 สมาชิกแต่ละคนที่เข้าใหม่ในปี ที่ 2 ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ในปี ที่ 4 สมาชิกแต่ละคนที่เข้าใหม่ในปี ที่ 3 ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ในทุกๆ ปี สมาชิกแต่ละคนทีเ่ ข้าใหม่ในปี ที่แล้ว ต่างหาสมาชิกใหม่ได้คนละ 3 คน
ถ้าการเพิ่มสมาชิกของสมาคมทาโดยวิธีนเี ้ ท่านัน้ ในปี ที่ 8 สมาคมจะมีสมาชิกรวมทัง้ หมด เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 3,280 คน 2. 5,465 คน 3. 6,561 คน
4. 16,400 คน 5. 49,205 คน
ตอบ 4
จะได้ ปี ที่ 2 มีสมาชิกใหม่ 5 × 3 = 15 คน
ปี ที่ 3 มีสมาชิกใหม่ 15 × 3 = 45 คน
ปี ที่ 4 มีสมาชิกใหม่ 45 × 3 = 135 คน

จะเห็นว่า สมาชิกใหม่ของปี ถดั ไป จะเท่ากับสมาชิกใหม่ของปี ก่อนหน้า คูณ 3
ดังนัน้ จานวนสมาชิกใหม่ของแต่ละปี จะเป็ นลาดับเรขาคณิต ที่มี 𝑎1 = 5 และ 𝑟 = 3
จานวนสมาชิกรวมในปี ที่ 8 จะหาได้จากผลรวมของจานวนสมาชิกใหม่ในแต่ละปี ตัง้ แต่ปีที่ 1 ถึงปี ที่ 8 → = 𝑆8
𝑎1 (1−𝑟 𝑛 ) 5(1−38 ) 5(−6560)
จากสูตรอนุกรมเรขาคณิต 𝑆𝑛 =
1−𝑟
→ แทน 𝑛 = 8 จะได้ 𝑆8 =
1−3
=
−2
= 16400

25. ข้อมูลชุดใดต่อไปนี ้ มีฐานนิยม มัธยฐาน และค่าเฉลีย่ เลขคณิต เท่ากัน


1. 3 , 3 , 3 , 5 , 7 , 7 2. 2 , 2 , 3 , 3 , 3 , 4 3. 4 , 4 , 4 , 5 , 5 , 6 , 6
4. 5 , 6 , 7 , 7 , 7 , 8 , 9 5. 2 , 2 , 2 , 2 , 2 , 3 , 4
ตอบ 4
ฐานนิยม = มัธยฐาน แสดงว่า “ตัวซา้ มากสุด ต้องอยูต่ าแหน่งตรงกลาง”
จะเห็นว่าข้อ 1. 3. และ 5. ตัวซา้ มากสุด คือตัวแรก ทางซ้ายสุด → ผิด
เหลือข้อ 2. กับ 4. ต้องหา 𝑥̅ มาดูวา่ เท่ากับฐานนิยมหรือไม่
2. 𝑥̅ = 2+2+3+3+3+46
17
= 6 ไม่ตรงกับข้อมูลไหนเลย จึงไม่เท่ากับฐานนิยมแน่นอน
4. 𝑥̅ = 5+6+7+7+7+8+97
49
= 7 = 7 ตรงกับข้อมูลที่ซา้ มากสุด (= ฐานนิยม) → ตอบ 4.
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 21

26. จากคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ พบว่า คะแนนสูงสุดของนักเรียนในห้องคือ 18 คะแนน


คะแนนต่าสุดของนักเรียนในห้องคือ 10 คะแนน
คะแนนสูงสุดของนักเรียนหญิงคือ 17 คะแนน
คะแนนต่าสุดของนักเรียนชายคือ 11 คะแนน
ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ถกู ต้อง
1. พิสยั ของคะแนนสอบของนักเรียนในห้องคือ 8 คะแนน
2. พิสยั ของคะแนนสอบของนักเรียนชายคือ 7 คะแนน
3. พิสยั ของคะแนนสอบของนักเรียนหญิงคือ 8 คะแนน
4. นักเรียนที่ได้คะแนนสูงสุดในห้อง เป็ นนักเรียนชาย
5. นักเรียนที่ได้คะแนนต่าสุดในห้อง เป็ นนักเรียนหญิง
ตอบ 3
สังเกตว่า สูงสุดหญิง (17) ไม่เท่ากับ สูงสุดทัง้ ห้อง (18) แสดงว่า สูงสุดทัง้ ห้อง ต้องมาจาก นร.ชาย → 4. ถูก
และจะสรุปได้วา่ สูงสุดชาย = สูงสุดทัง้ ห้อง = 18
ทานองเดียวกัน ต่าสุดชาย (11) ไม่เท่ากับ ต่าสุดทัง้ ห้อง (10) แสดงว่า ต่าสุดทัง้ ห้อง ต้องมาจาก นร. หญิง → 5. ถูก
และจะสรุปได้วา่ ต่าสุดหญิง = ต่าสุดทัง้ ห้อง = 10
จะได้ พิสยั ทัง้ ห้อง = สูงสุดทัง้ ห้อง − ต่าสุดทัง้ ห้อง = 18 − 10 = 8 → 1. ถูก
พิสยั ชาย = สูงสุดชาย − ต่าสุดชาย = 18 − 11 = 7 → 2. ถูก
พิสยั หญิง = สูงสุดหญิง − ต่าสุดหญิง = 17 − 10 = 7 → 3. ผิด

27. ข้อมูลชุดหนึง่ เรียงลาดับจากน้อยไปมากได้ดงั นี ้ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥18 , 𝑥19


ถ้า ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 30 คะแนน
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูล 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥9 , 𝑥10 เท่ากับ 24.5 คะแนน
และ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูล 𝑥10 , 𝑥11 , 𝑥12 , … , 𝑥18 , 𝑥19 เท่ากับ 35 คะแนน
แล้ว มัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 24.5 คะแนน 2. 25 คะแนน 3. 25.5 คะแนน
4. 26 คะแนน 5. 26.5 คะแนน
ตอบ 2
มัธยฐาน จะอยูต่ วั ที่ 𝑁+1
2
=
19+1
2
= 10 → มัธยฐาน = 𝑥10
ค่าเฉลีย่ ของข้อมูล = 30 → 𝑥1 + 𝑥2 19 + … + 𝑥19
= 30
𝑥1 + 𝑥2 + … + 𝑥19 = 570 …(1)

ค่าเฉลีย่ 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥10 = 24.5 →


𝑥1 + 𝑥2 + … + 𝑥10
10
= 24.5
𝑥1 + 𝑥2 + … + 𝑥10 = 245 …(2)

ค่าเฉลีย่ 𝑥10 , 𝑥11 , … , 𝑥19 = 35 →


𝑥10 + 𝑥11 + … + 𝑥19
10
= 35
𝑥10 + 𝑥11 + … + 𝑥19 = 350 …(3)
22 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61)

(2) + (3) : 𝑥1 + 𝑥2 + … + 𝑥10 + 𝑥10 + 𝑥11 + … + 𝑥19 = 245 + 350


𝑥1 + 𝑥2 + … + 𝑥10 +𝑥11 + … + 𝑥19 + 𝑥10 = 595
𝑥 + 𝑥2 + … + 𝑥19 + 𝑥10 = 595
จาก (1) 1 570 + 𝑥10 = 595
𝑥10 = 25
ดังนัน้ มัธยฐาน = 𝑥10 = 25

28. ถ้าทอดลูกเต๋า 3 ลูกพร้อมกันแล้ว ความน่าจะเป็ นที่ลกู เต๋าจะขึน้ แต้มไม่ซา้ กันเลยเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. 19 2. 16 3. 59 4. 23 5. 56
ตอบ 3
จานวนแบบทัง้ หมด : แต่ละลูก มี 6 แบบ โยน 3 ลูก จะมีได้ 6 × 6 × 6 แบบ
จานวนแบบที่แต้มไม่ซา้ : ลูกแรก ไม่ซา้ แน่นอน จะเลือกได้ 6 แบบ
ลูกที่ 2 ต้องไม่ซา้ กับลูกแรก → เหลือ 5 แบบ
ลูกที่ 3 ต้องไม่ซา้ กับสองลูกแรก → เหลือ 4 แบบ
จะได้จานวนแบบ = 6 × 5 × 4 แบบ
จะได้ความน่าจะเป็ น = 6×6×6 = 59
6×5×4

29. ต้องการสร้างจานวนที่มี 5 หลัก จากเลขโดด 0 และ 1 โดยจานวนที่สร้างขึน้ มีคา่ มากกว่า 10,000


จะมีวธิ ีการสร้างได้ทงั้ หมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 15 วิธี 2. 16 วิธี 3. 20 วิธี 4. 31 วิธี 5. 32 วิธี
ตอบ 1
หลักซ้ายสุด ต้องเป็ น 1 เท่านัน้ ไม่งนั้ ค่าจะน้อยกว่า 10000
ส่วน 4 หลักทางขวาเป็ นอะไรก็ได้ ที่ไม่ใช่ 0 หมด (ถ้า 0 หมด จะได้เท่ากับ 10000 → ไม่มากกว่า 10000)
มี 4 หลัก แต่ละหลัก เลือกได้ 2 แบบ (คือ 0 หรือ 1) → จะเลือกได้ 24 = 16 แบบ
หักแบบที่เป็ น 0 หมดออก จะเหลือแบบที่ใช้ได้ = 16 − 1 = 15 แบบ

30. กาหนดให้ 𝐴 = { −5 , −4 , −3 , −2 , −1 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 }
𝑆 = { (𝑎, 𝑏) | 𝑎, 𝑏 ∈ 𝐴 }
ถ้า (𝑎, 𝑏) เป็ นสมาชิกหนึง่ ตัวของ 𝑆 ที่ได้จากการสุม่ แล้ว ความน่าจะเป็ นที่เส้นตรง 𝑦 = 𝑎𝑥 + 𝑏 ตัดกับ
เส้นตรง 𝑦 = 8𝑥 + 1 ที่จดุ (0, 1) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1 1 1 1 1
1. 100 2. 50 3. 40 4. 20 5. 10
ตอบ 5
จานวนแบบทัง้ หมด : นับดูจะได้ 𝐴 มีสมาชิก 10 ตัว → เลือกมา 2 ตัวเพื่อสร้างคูอ่ นั ดับ (𝑎, 𝑏) ได้ 102 = 100 แบบ
จานวนแบบที่สนใจ : เส้นตรง 𝑦 = 𝑎𝑥 + 𝑏 จะตัดเส้นตรง 𝑦 = 8𝑥 + 1 ที่จดุ (0, 1) เมื่อ 𝑦 = 𝑎𝑥 + 𝑏 ผ่าน (0, 1)
และเส้นตรงทัง้ สองเส้นไม่ขนานกัน (ความชันไม่เท่ากัน)
นั่นคือ (0, 1) ต้องแทนใน 𝑦 = 𝑎𝑥 + 𝑏 แล้วเป็ นจริง และ 𝑎 ≠ 8
1 = 𝑎(0) + 𝑏
1= 𝑏
นั่นคือ 𝑏 ต้องเป็ น 1 แบบเดียว และ 𝑎 เป็ นอะไรก็ได้ใน 𝐴 (ไม่มี 8 ใน 𝐴 อยูแ่ ล้ว) → ได้ 10 แบบ
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 (มี.ค. 61) 23

10 1
จะได้ความน่าจะเป็ น = 100
= 10

เครดิต
ขอบคุณ ข้อสอบ และเฉลยละเอียด จาก อ.ปิ๋ ง GTRmath
ขอบคุณ เฉลยละเอียดจาก คุณ คณิต มงคลพิทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขียน Math E-book
ขอบคุณ คุณ Chonlakorn Chiewpanich
และ คุณ Potae Kitti ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like