You are on page 1of 21

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค.

58) 1
13 May 2023

วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)


วันอาทิตย์ที่ 27 ธันวาคม 2558 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบที่ถกู ที่สดุ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน
1. ให้ 𝑆 = { 𝑥 | 𝑥 เป็ นจานวนเต็ มที่สอดคล้องกับ อสมการ 6|𝑥 − 3| < 5𝑥 }
จานวนสมาชิกของ 𝑆 เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. 14 2. 15 3. 16
4. 17 5. 18

2. กาหนดให้ 𝑃 (𝑥 ) = 𝑎𝑥 5 + 𝑏𝑥 3 + 𝑐𝑥 + 𝑑 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เป็ นค่ าคงตัว ถ้า 𝑥 − 1 หาร 𝑃 (𝑥 ) เหลือเศษ 10


และ 𝑥 หาร 𝑃 (𝑥 ) เหลือเศษ 6 แล้ว 𝑥 + 1 หาร 𝑃 (𝑥 ) เหลือเศษเท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. −10 2. −6 3. 2
4. 4 5. 6

3. ถ้า 𝑢̅ และ 𝑣̅ เป็ นเวกเตอร์ในระบบพิ กดั ฉาก 3 มิติ โดยที่ |𝑢̅ | = √5 และ |𝑣̅ | = √3
แล้ว |𝑢̅ ∙ 𝑣̅ |2 + |𝑢̅ × 𝑣̅ |2 เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. √15 2. √5 + √3 3. 8
4. 5√3 + 3√5 5. 15
2 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

4. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้า log 𝑎2 𝑏 = 5 แล้ว log 𝑏2 𝑎 เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1 1
1. 20 2. 10 3. 15
4. 10 5. 20

5. ถ้า 𝑆 เป็ นเซตของจานวนจริง 𝑎 ซึ่งทาให้ระบบสมการ 𝑎𝑥 + 2𝑦 − 2𝑧 = −1


𝑥+𝑦−𝑧 = 0
2𝑥 + 𝑦 + 2𝑧 = 2
มีคาตอบเพี ยงคาตอบเดี ยว แล้ว 𝑆 คื อเซตในข้อใดต่ อไปนี ้
1. (−∞, 1) ∪ (1, ∞) 2. (−∞, −1) ∪ (0, ∞) 3. (−∞, 2) ∪ (2, ∞)
4. (−∞, −2) ∪ (−2, ∞) 5. { −2, −1, 1, 2 }

𝜋 3
6. tan [ + arcsin (− )]
4 5
มีค่าเท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1
1. −
7
2. − 19 3. 1
9
1
4. 7
5. 9
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 3

7. ตารางแจกแจงความถี่สมั พัทธ์ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มหนึ่งเป็ นดังนี ้


คะแนนสอบ ความถี่สัมพัทธ์
0 – 19 0.1
20 – 39 0.1
40 – 59 0.3
60 – 79 0.3
80 – 99 0.2

ค่ าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มนี ้ เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้


1. 57.5 คะแนน 2. 58.5 คะแนน 3. 60.5 คะแนน
4. 62.5 คะแนน 5. 63.5 คะแนน

2 1 8
8. พิ จารณา lim (𝑥−2 +
𝑥 +2

𝑥2 −4
) ข้อใดต่ อไปนีเ้ ป็ นจริง
x2

1. หาค่ าไม่ได้ 2. มีค่าเท่ากับ − 34 3. มีค่าเท่ากับ − 14


4. มีค่าเท่ากับ 14 5. มีค่าเท่ากับ 34

9. ถ้า 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเรขาคณิต โดยที่ 𝑎1 = 96 และ 𝑎4 = 12



แล้ว  𝑎𝑛 เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
n 1

1. 120 2. 128 3. 144


4. 192 5. 288
4 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

(𝑥 + 1)2 − 5 เมื่อ 𝑥 < −1


10. ถ้า 𝑓 (𝑥 ) = { −5 เมื่อ −1 ≤ 𝑥 ≤ 1
(𝑥 − 1) − 5 เมื่อ
2
𝑥>1
แล้ว (𝑓 ∘ 𝑓 )′ (2) เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. −12 2. −8 3. 0
4. 8 5. 12

ตอนที่ 2 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบที่ถกู ที่สดุ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 4 คะแนน รวม 80 คะแนน
11. กาหนดให้ 𝑧1, 𝑧2 และ 𝑧3 เป็ นรากที่ 3 ของจานวนเชิงซ้อนจานวนหนึ่ง
ถ้า 𝑧1 อยู่ในควอดรันต์ที่ 1 โดยที่ |𝑧1| = 2 และ 𝑧3 = 𝑧̅1 แล้ว 𝑧2 + 𝑧3 เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. 1 + √3i 2. −1 − √3i 3. −1 + √3i
4. −√2 + √2i 5. √2 − √2i

12. เศษเหลือที่ได้จากการหาร 11111 ด้วย 1,210 เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้


1. 1 2. 11 3. 111
4. 121 5. 211
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 5

13. ถ้า 𝑎 และ 𝑏 เป็ นค่ าคงตัว ซึ่งอสมการ (𝑥𝑥+𝑏


+𝑎
)2
≥ 0 มีเซตคาตอบคื อช่วง (1, ∞)
แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. −2 2. −1 3. 0
4. 1 5. 2

14. กาหนดให้ ABC เป็ นสามเหลี่ยมหน้าจั่วซึ่งมีด้าน AB = AC ถ้ามุม A = 150° และด้าน BC ยาวเท่ากับ 16 หน่วย
แล้ว พื น้ ที่สามเหลี่ยม ABC เท่ากับข้อไปต่ อไปนี ้
1. 643
ตารางหน่วย 2. 64(2 − √3) ตารางหน่วย 3. 32(3 − √2) ตารางหน่วย
4. 64 ตารางหน่วย 5. 64(2 + √3) ตารางหน่วย

15. ให้ 𝑢̅, 𝑣̅ และ 𝑤


เป็ นเวกเตอร์ใดๆ ในระบบพิ กดั ฉากสามมิติ พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
̅
ก. (𝑢̅ × 𝑣̅ ) ∙ 𝑤̅ = 𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤̅ ) ข. (𝑢̅ × 𝑣̅ ) × 𝑤̅ = 𝑢̅ × (𝑣̅ × 𝑤̅ )
ค. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = |𝑢̅|2 − |𝑣̅ |2 ง. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) × (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 2(𝑢̅ × 𝑣̅ )
จานวนข้อความที่ถกู ต้อง เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีข้อความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4
6 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

16. ให้ 𝑠 เป็ นวงกลมที่อยู่ในควอดรันต์ที่ 1 ซึ่งสัมผัสแกน X และ แกน Y และเส้นตรง ℓ ซึ่งมีสมการเป็ น


3𝑥 − 4𝑦 + 24 = 0 ถ้า C เป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลม 𝑠 และ P เป็ นจุดที่วงกลม 𝑠 สัมผัสเส้นตรง ℓ
แล้วสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด C และจุด P คื อข้อใดต่ อไปนี ้
1. 4𝑥 + 3𝑦 − 28 = 0 2. 4𝑥 + 3𝑦 − 32 = 0 3. 4𝑥 + 3𝑦 − 40 = 0
4. 3𝑥 + 4𝑦 − 28 = 0 5. 3𝑥 + 4𝑦 − 32 = 0

17. กาหนดให้ 𝐴 เป็ นเมทริกซ์มิติ 3 × 3 ซึ่ง [𝐴 : 𝐼] ~ [𝐼 : 𝑃] โดยที่ 𝐼 เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์มิติ 3 × 3


1 2 0 1 𝑎
และ 𝑃 = [0 −1 2] ถ้า 𝐴 [2] = [ 𝑏] แล้ว 𝑎 มีค่าเท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1 0 −1 3 𝑐
17
1. −17 2. −5 3. −
5
5 17
4. 17
5. 5

18. ผลบวกของคาตอบของสมการ 9log 𝑥 − 10(3 log 𝑥 ) + 9 = 0 เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้


1. 11 2. 99 3. 101
4. 111 5. 1001
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 7

2𝑥
19. กาหนดให้ 𝑆 = { 𝑥 | 0 < 𝑥 < 2𝜋 และ 125(54 cos 2𝑥 ) = 4(54 cos ) + 25 }
𝑆 เป็ นสับเซตของเซตในข้อใดต่ อไปนี ้
𝜋 3𝜋 5𝜋 10𝜋 12𝜋 14𝜋 𝜋 2𝜋 4𝜋 7𝜋 8𝜋 9𝜋
1. { ,
8 8
,
8
,
8
,
8
,
8
} 2. { ,
6 6
,
6
,
6
,
6
,
6
}
𝜋 2𝜋 3𝜋 5𝜋 6𝜋 7𝜋 𝜋 𝜋 3𝜋 3𝜋 8𝜋 7𝜋
3. { ,
4 4
,
4
,
4
,
4
,
4
} 4. { , ,
6 4 6
,
4
,
6
,
4
}
𝜋 𝜋 2𝜋 3𝜋 5𝜋 7𝜋
5. { , ,
3 4 3
,
4
,
3
,
4
}

20. ความสูง (เซนติ เมตร) ของเด็ กกลุ่มหนึ่งจานวน 9 คน


152 , 153 , 155 , 158 , 159 , 160 , 162 , 166 , 175
ถ้าสุ่มเลือกเด็ กกลุ่มนีม้ า 3 คน ความน่าจะเป็ นที่เด็ กทัง้ สามคนเตี ย้ กว่าค่ าเฉลี่ยเลขคณิตของความสูงของเด็ กกลุ่มนี ้
เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
3 5 5
1. 84 2. 42 3. 28
5 25
4. 15
5. 42

21. มีเลขโดด 9 จานวน คื อ −7 , −5 , −3 , −1 , 0 , 2 , 4 , 6 , 10 ถ้าสุ่มเลขโดดนีม้ า 4 จานวน


แล้วความน่าจะเป็ นที่ผลคูณของเลขโดด 4 จานวนนีไ้ ม่เป็ นจานวนลบเท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
47 70
1. 126 2. 126 3. 41
63
47 56
4. 63
5. 63
8 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

22. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ถ้าผลต่ างของคะแนนที่ เปอร์เซนไทล์ 67 และ


เปอร์เซนไทล์ที่ 33 เท่ากับ 11 คะแนน แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคื อข้อใดต่ อไปนี ้
เมื่อกาหนดตารางแสดงพื น้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติ
𝑧 0.17 0.33 0.44 0.67
พืน้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติ 0.066 0.13 0.17 0.25

1. 9.5 คะแนน 2. 11 คะแนน 3. 12.5 คะแนน


4. 14 คะแนน 5. 15.5 คะแนน

23. ให้ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥11 เป็ นข้อมูล 11 จานวน ซึ่งเรียงกันเป็ นลาดับเรขาคณิต


ถ้าผลคูณ 𝑥1 ∙ 𝑥2 ∙ 𝑥3 ∙ … ∙ 𝑥11 = 233 ∙ 322 แล้วมัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. 36 2. 72 3. 144
4. 216 5. 426

n ( n  2)
2 
1 𝑎𝑛
24. ถ้าลาดับ 𝑎𝑛 = 
𝑥2
𝑑𝑥 แล้ว  มีค่าเท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
n n 1 𝑛
1 1 3
1. 4
2. 2
3. 4
5
4. 1 5. 4
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 9

25. กาหนดให้ 𝑓 (𝑥 ) เป็ นฟั งก์ชนั พหุนาม ซึ่ง 𝑓 ′(𝑥 ) = 3𝑥 2 − 6𝑥 และ 𝐺 (𝑥 ) = {


𝑥+5 เมื่อ 𝑥 < −1
𝑓 (𝑥 ) เมื่อ 𝑥 ≥ −1
ถ้า 𝐺 (𝑥 ) ต่ อเนื่องที่ 𝑥 = −1 แล้ว 𝑓 มีค่าต่ าสุดสัมพัทธ์เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. −2 2. −1 3. 2
4. 3 5. 4

26. ผลการสอบวิชาประวัติศาสตร์ซึ่งมีคะแนนเต็ ม 20 คะแนนของนักเรียน 10 คน เป็ นดังนี ้


𝑥 , 16 , 8 , 12 , 13 , 7 , 9 , 11 , 18 , 𝑦
ถ้าค่ าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ 12.7 คะแนน แล้วมัธยฐานของคะแนนสอบเท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. 10 คะแนน 2. 11 คะแนน 3. 11.5 คะแนน
4. 12 คะแนน 5. 12.5 คะแนน

100
1
27. ถ้า 𝑓 (𝑥 ) =  𝑘 ∙ 𝑥 2𝑘−1 แล้ว √2
𝑓 (√2) มีค่าเท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
k 1

1. 1 + 99 ∙ 299 2. 1 + 100 ∙ 299 3. √2 + 99 ∙ 299


4. 1 + 99 ∙ 2100 5. 1 + 100 ∙ 2100
10 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

28. กาหนดให้ 𝐴 = { 1, 2, 3, … , 155 } และ i เป็ นจานวนเชิงซ้อน ซึ่ง i2 = −1


1+i 2𝑥−5
ถ้า 𝐵={𝑥 ∈𝐴|(
1−i
) = i𝑥 −2 } แล้วจานวนสมาชิกของ 𝐵 เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. 19 2. 20 3. 35
4. 38 5. 39

𝜋 𝜋
cos − sin
29. กาหนดให้ 𝐴=[ 3
𝜋
3
𝜋 ] และ 𝑆 = { 1, 2, 3, … , 100 } ถ้าสุ่มสมาชิก 1 ตัวจาก 𝑆
sin cos
3 3
แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้จานวนนับ 𝑘 ซึ่ง 𝐴𝑘 = 𝐼 โดยที่ 𝐼 เป็ นเมทริกซ์เอกลักษณ์ เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
9 16 18
1. 100 2. 100 3. 100
24 29
4. 100
5. 100

30. กาหนดให้ 𝑃 (𝑥 ) เป็ นพหุนามซึ่งมีสมั ประสิทธิเ์ ป็ นจานวนเต็ มบวก ถ้า 𝑃 (1) = 10 และ 𝑃 (10) = 2,116
แล้ว 𝑃(−1) เท่ากับข้อใดต่ อไปนี ้
1. 4 2. 10 3. 51
4. 106 5. 1,053
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 11

เฉลย
1. 3 7. 1 13. 1 19. 3 25. 5
2. 3 8. 5 14. 2 20. 2 26. 5
3. 5 9. 4 15. 4 21. 4 27. 4
4. 1 10. 1 16. 1 22. 3 28. 5
5. 3 11. 2 17. 5 23. 2 29. 2
6. 4 12. 4 18. 3 24. 3 30. 1

แนวคิ ด
1. 3
จากสมบัติของค่ าสัมบูรณ์ จะได้ −5𝑥 < 6(𝑥 − 3) < 5𝑥 และ 5𝑥 > 0
𝑥 > 0 …(3)
−5𝑥 < 6𝑥 − 18 และ 6𝑥 − 18 < 5𝑥
18 < 11𝑥 𝑥 < 18 …(2)
18
< 𝑥 …(1)
11

จาก (1), (2), (3) จะได้ 18 11


< 𝑥 < 18
ดังนัน้ 𝑥 ที่เป็ นจานวนเต็ ม จะมีค่าตัง้ แต่ 2, 3, … , 17 ซึ่งมีจานวน 17 − 2 + 1 = 16 ตัว

2. 3
จากทฤษฎีเศษ 𝑥−1 หาร 𝑃 (𝑥 ) เหลือเศษ 10 จะได้ 𝑎 (15 ) + 𝑏 (13 ) + 𝑐 (1) + 𝑑 = 10
𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 10 …(1)
𝑥 หาร 𝑃 (𝑥 ) เหลือเศษ 6 จะได้ 𝑎 (05 ) + 𝑏 (03 ) + 𝑐 (0) + 𝑑 = 6
𝑑 = 6 …(2)
แทน 𝑑=6 ใน (1) จะได้ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 = 4 …(3)
ดังนัน้ 𝑥+1 หาร 𝑃 (𝑥 ) จะเหลือเศษ = 𝑎(−1)5 + 𝑏(−1) 3 + 𝑐 (−1) + 𝑑
= −𝑎 − 𝑏 − 𝑐 + 𝑑
= −(𝑎 + 𝑏 + 𝑐 ) + 𝑑 จาก (2) และ (3)
= −( 4 )+6
= 2

3. 5
| 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ |2 + |𝑢̅ × 𝑣̅ |2 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅ ||𝑣̅ | cos 𝜃
2
= ||𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃 | + (|𝑢̅||𝑣̅ | sin 𝜃 )2 |𝑢̅ × 𝑣̅ | = |𝑢̅ ||𝑣̅ | sin 𝜃
2 2
= |√5√3 cos 𝜃 | + (√5√3 sin 𝜃 )
= 15 cos 2 𝜃 + 15 sin2 𝜃
= 15(cos 2 𝜃 + sin2 𝜃) sin2 𝜃 + cos 2 𝜃 = 1
= 15

4. 1
1
จาก log 𝑎2 𝑏 = 5 ดังนัน้ log 𝑏2 𝑎 =
2
log 𝑏 𝑎
1
log 𝑎 𝑏 = 5 1 1 log 𝑏 𝑎 กับ log 𝑎 𝑏 เป็ นส่วนกลับกัน
2 = ( )
2 10
log 𝑎 𝑏 = 10 1
=
20
12 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

5. 3 𝑎 2 −2
ระบบสมการจะมีคาตอบเดี ยว เมื่อ det [สปส] ≠ 0 → |1 1 −1| ≠0
2 1 2
(2𝑎 − 4 − 2) − (−4 − 𝑎 + 4) ≠ 0
3𝑎 ≠6
𝑎 ≠2
→ เขี ยนเป็ นช่วงได้เป็ น (−∞, 2) ∪ (2, ∞)

6. 4
𝜋 3
𝜋 3 tan + tan (arcsin (− ))
4 5
tan [ + arcsin (− )] = 𝜋 3
4 5 1 − tan tan ( arcsin ( − ))
4 5
3
1 + tan (arcsin ( − )) 3
=
1 −
5
3
tan(arcsin ( − ))
… (∗) → ต้องหา tan (arcsin (− ))
5
มาแทน
5
3
1. คิ ดเครื่องหมายตามจตุภาค : arcsin (− )
5
คื อมุมที่ sin แล้วเป็ นลบ → Q3 หรือ Q 4
แต่ เรนจ์ของ arcsin คื อ Q 1 หรือ Q 4 ดังนัน้ arcsin (− 35) เป็ นมุมใน Q 4
ดังนัน้ tan (arcsin (− 35)) = tan (มุมใน Q 4) → เป็ นลบ
2. หาค่ า tan (arcsin (− 35)) แบบไม่สนเครื่องหมาย → ใช้สามเหลี่ยม
5
3
arcsin 3
5

จากด้านชุด 3 4 5
→ ได้ tan = 34 จะได้ = 4
3 3
รวมสองขัน้ ตอน จะได้ tan (arcsin (− )) = −
5 4
3 1
1 + (− ) 1
แทนใน (∗) จะได้ = 4
3
1 − (− )
= 4
7 =
7
4 4

7. 1

ตัวเลขที่เป็ นสัดส่วนกับความถี่ (เช่น ความถี่สมั พัทธ์ = ความถี


𝑁

) สามารถใช้หา 𝑥̅ ได้ในลักษณะเดี ยวกับความถี่เลย

(เพราะ เศษ และ ส่วน ของ 𝑁𝑥𝑖 จะถูกทอนเท่าๆกัน ทาให้มีค่าเท่าเดิ ม)
ตารางอันตรภาคชัน้ เป็ นช่วง → ประมาณแต่ ละชัน้ ด้วยจุดกึ่งกลางชัน้
คะแนนสอบ จุดกึ่งกลางชั้น ความถี่สัมพัทธ์ ผลคูณ
0 – 19 9.5 0.1 0.95
20 – 39 29.5 0.1 2.95
40 – 59 49.5 0.3 14.85
60 – 79 69.5 0.3 20.85
80 – 99 89.5 0.2 17.90 57.5
1.0 57.50 จะได้ 𝑥̅ =
1
= 57.5
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 13

8. 5
แทน 𝑥 = 2 จะเห็นว่ามีสองตัวที่ส่วน = 0 ลบกันอยู่ ดังนัน้ ต้องจัดรูปให้ 𝑥−2 ตัดกันก่อน
2 1 8 1 2 8
+ − = + − ( )( ) 1
𝑥2 −4
𝑥−2 𝑥 +2 𝑥+2
1
𝑥−2 𝑥−2 𝑥 +2
2 (𝑥 +2 ) − 8 𝑥+2
ไม่ต้องเอาไปรวมก็ได้ เพราะหา lim ได้
x2
= + (𝑥 −2 )(𝑥 +2 )
𝑥+2
1 2𝑥 − 4
= + (𝑥 −2 )(𝑥 +2 )
𝑥+2
1 2 (𝑥 −2 )
= + (𝑥 −2 )(𝑥 +2 )
𝑥+2
1 2
= +
𝑥+2 𝑥 +2
3
=
𝑥+2
3 3
แทน 𝑥 = 2 ใหม่ จะได้ ลิมิต =
2+2
=
4

9. 4
จาก 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1 แทน 𝑛=4 จะได้ 𝑎4 = 𝑎1 𝑟 4−1
12 = 96𝑟 3
1
= 𝑟3
8
1 𝑎1
2
= 𝑟 → |𝑟 | < 1 ดังนัน้ จะใช้สตู ร 𝑆∞ =
1 −𝑟
ได้

96 96
จะได้  𝑎𝑛 =
1−
1 = 1 = 192
n 1 2 2

10. 1
จากสูตร ดิ ฟลูกโซ่ ในรูปแบบฟั งก์ชนั คอมโพสิท (𝑔 ∘ 𝑓 )′ (𝑥 ) = 𝑔′ (𝑓 (𝑥 )) ∙ 𝑓 ′ (𝑥 )
จะได้ (𝑓 ∘ 𝑓 )′ (2) = 𝑓 ′( 𝑓 (2) ) ∙ 𝑓 ′ (2) หา 𝑓 (2) ใช้สูตรล่าง เพราะ 2 > 1
= 𝑓 ′((2 − 1)2 − 5) ∙ 𝑓 ′ (2)
= 𝑓 ′( −4 ) ∙ 𝑓 ′ (2) …(∗)

หา 𝑓 ′ (−4) : เมื่อ 𝑥 < −1 จะได้ 𝑓 (𝑥 ) = (𝑥 + 1)2 − 5


𝑓 ′ (𝑥 ) = 2(𝑥 + 1)(1)
𝑓 ′ (−4) = 2( −4 + 1) = −6
หา 𝑓 ′ (2) : เมื่อ 𝑥 > 1 จะได้ 𝑓 (𝑥 ) = (𝑥 − 1)2 − 5
แทนใน (∗)
𝑓 ′ (𝑥 ) = 2(𝑥 − 1)(1)
𝑓 ′ (2) = 2(2 − 1) = 2 จะได้ (𝑓 ∘ 𝑓 )′ (2) = (−6)(2)
= −12
11. 2
ให้ 𝑧1 = 𝑟 cis 𝜃 เมื่อ 0 < 𝜃 < 90° (โจทย์ให้ 𝑧1อยู่ใน Q 1)
เนื่องจาก |𝑧1| = 2 จะได้ 𝑟 = 2 ดังนัน้ 𝑧1 = 2 cis 𝜃
เนื่องจาก รากที่ 3 แต่ ละรากจะมีมมุ เพิ่ มทีละ 360°
3
= 120°
ดังนัน้ อีก 2 รากที่เหลือคื อ 2 cis(𝜃 + 120°) กับ 2 cis(𝜃 + 240°) (ยังไม่รวู ้ ่าตัวไหนคื อ 𝑧2 ตัวไหนคื อ 𝑧3)
โจทย์ให้ 𝑧3 = 𝑧̅1 → ดังนัน้ 𝑧3 อยู่ใน Q 4 𝑎 + 𝑏i
→ แต่ 2 cis(𝜃 + 120°) ไม่มีทางอยู่ใน Q 4 ได้ (เพราะ 0 < 𝜃 < 90°)
→ ดังนัน้ 𝑧3 = 2 cis(𝜃 + 240°)
𝑎 − 𝑏i
14 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

จากสมบัติของคอนจูเกต และขนาดของมุม จะได้ว่ามุมของ 𝑧1 กับ 𝑧3 จะต้องรวมกันได้ 360°


𝜃 + (𝜃 + 240°) = 360°
2𝜃 = 120°
𝜃 = 60°
แทนค่ า 𝜃 จะได้ 𝑧2 + 𝑧3 = 2 cis(60° + 120°) + 2 cis(60° + 240°)
= 2 cis( 180° ) + 2 cis( 300° )
= −2 + 2 (cos 300° + 𝑖 sin 300°)
1 √3
= −2 +2( + 𝑖 (− ) )
2 2
= −2 + 1 − √3𝑖 = −1 − √3𝑖

12. 4
111 109
จะเห็นว่า 11
1210
ตัด 11 ได้สองตัว เหลือ 1110 ดังนัน้ จะหาว่า 11109 หารด้วยด้วย 10 เหลือเศษเท่าไหร่ ก่อน
แล้วตอนจบ ค่ อยเอา 11 สองตัวที่ตัดไป คูณกลับเข้าไป ให้ตัวหารกลายเป็ น 1210 เท่าเดิ ม
“เศษเหลือจากการหารด้วย 10” จะเท่ากับ “หลักหน่วย”
เนื่องจาก 11 มีหลักหน่วยคื อ 1 ดังนัน้ ถ้าเอา 11 มาคูณกันเอง ไม่ว่าจะคูณกี่ตัว หลักหน่วยก็ยงั เป็ น 1 เหมือนเดิ ม
(เพราะ 1 × 1 = 1) ดังนัน้ 11109 จะมีหลักหน่วยคื อ 1
ดังนัน้ 11109 หารด้วย 10 จะเหลือเศษ 1 → 11109 = 10 𝑞 + 1
คูณ 11 × 11 ตลอด
→ 11111 = 1210𝑞 + 121
→ 11111 หารด้วย 1210 จะเหลือเศษ 121

13. 1
𝑥 +𝑎
เนื่องจาก 𝑥 + 𝑏 เป็ นตัวหาร ดังนัน้ 𝑥 ≠ −𝑏 : (𝑥 +𝑏) 2
≥ 0 เนื่ องจาก (𝑥 + 𝑏)2 > 0 ดังนั้ น จะย้าย (𝑥 + 𝑏)2
𝑥+𝑎 ≥ 0 มาคูณทางขวาได้ โดยไม่ตอ้ งเปลี่ยน ≥ เป็ น ≤
𝑥 ≥ −𝑎
ดังนัน้ คาตอบของอสมการคื อ 𝑥 ≥ −𝑎 และ 𝑥 ≠ −𝑏 …(∗)
แต่ โจทย์ให้คาตอบคื อ (1, ∞) ซึ่งเขี ยนในรูปอสมการได้เป็ น 𝑥 > 1
ซึ่งเขี ยนในรูปแบบเดี ยวกับ (∗) ได้เป็ น 𝑥 ≥ 1 และ 𝑥≠1
เทียบกับ (∗) จะได้ 𝑎 = −1 และ 𝑏 = −1
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = (−1) + (−1) = −2

14. 2
จะได้มมุ ที่ฐาน = 180° −2 150° = 15° A
ลากส่วนสูง AD จาก ∆ หน้าจั่ว จะได้ AD แบ่งครึ่งฐาน เป็ นฝั่งละ 8 ดังรูป 150°
จาก tan C = AD CD
จะได้ tan 15° = AD 8 15° 15°
B 8 C
AD D 8
tan(60° − 45°) =
8
tan 60° − tan 45° AD
=
1 + tan 60° tan 45° 8
√3 − 1 AD 8 (√3−1 ) √3−1 8 (3−2√3+1 )
1 + √3
=
8
จะได้ AD =
√3+1

√3−1
=
2
= 8(2 − √3)
1 1
ดังนัน้ ∆ABC =
2
× BC × AD =
2
× 16 × 8(2 − √3 ) = 64(2 − √3)
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 15

15. 4
ก. การ ดอท&ครอส จะได้ผลเท่าเดิ มเสมอ ตราบใดที่ตาแหน่ง 𝑢̅ , 𝑣̅ , 𝑤̅ ยังคงเรียงเป็ นวงกลมแบบเดี ยวกัน
𝑢̅
𝑢̅ ∙ (𝑣̅ × 𝑤
̅ ) = 𝑣̅ ∙ ( 𝑤
̅ × 𝑢̅ ) = 𝑤̅ ∙ ( 𝑢̅ × 𝑣̅ )
𝑤
̅ 𝑣̅ = (𝑢̅ × 𝑣̅ ) ∙ 𝑤
̅ = (𝑣̅ × 𝑤 ̅ ) ∙ 𝑢̅ = (𝑤̅ × 𝑢̅ ) ∙ 𝑣̅ → ก. ถูก

ข. เนื่องจาก ผลครอส จะมีทิศตัง้ ฉากกับระนาบของตัวตัง้ ดังนัน้ การเปลี่ยนกลุ่มอาจทาให้ผลลัพธ์มีทิศผิดไปจากเดิ มได้


หรือ จะลองแทนด้วยเวกเตอร์ง่ายๆดู เช่น (𝑖̅ × 𝑖̅) × 𝑗̅ = 0̅ × 𝑗̅ = 0̅
แต่ 𝑖̅ × (𝑖̅ × 𝑗̅) = 𝑖̅ × 𝑘̅ ≠ 0̅ → ข. ผิด
ค. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 𝑢̅ ∙ 𝑢̅ + 𝑢̅ ∙ 𝑣̅ − 𝑣̅ ∙ 𝑢̅ − 𝑣̅ ∙ 𝑣̅
= |𝑢̅ |2 − |𝑣̅ |2 → ค. ถูก
ง. (𝑢̅ − 𝑣̅ ) × (𝑢̅ + 𝑣̅ ) = 𝑢̅ × 𝑢̅ + 𝑢̅ × 𝑣̅ − 𝑣̅ × 𝑢̅ − 𝑣̅ × 𝑣̅
= 0̅ + 𝑢̅ × 𝑣̅ + 𝑢̅ × 𝑣̅ − 0̅ 𝑢̅ × 𝑣̅ = −𝑣̅ × 𝑢̅
= 2( 𝑢̅ × 𝑣̅ ) → ง. ถูก
16. 1
จากข้อมูลที่โจทย์ให้ จะวาดได้ดังรูป → จะได้พิกดั ของ C คื อ (𝑟, 𝑟)
3𝑥 − 4𝑦 + 24 = 0
และจาก CP = 𝑟 ระยะจากจุด (𝑎, 𝑏) ถึง
P |3𝑟−4𝑟+24 |
√ 3 2 +(−4 ) 2
= 𝑟 เส้นตรง 𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝐶 = 0
𝑟 | |
𝑟 C |−𝑟 + 24| = 5𝑟 คือ 𝐴𝑎+𝐵𝑏+𝐶
√𝐴2+𝐵2

𝑟
−𝑟 + 24 = 5𝑟 −𝑟 + 24 = −5𝑟
4 = 𝑟 −6 = 𝑟

เนื่องจากรัศมีเป็ นลบไม่ได้ จะได้ 𝑟 = 4 เท่านัน้ ดังนัน้ จะได้ พิ กดั C คื อ (4, 4)


หาความชัน CP : เนื่องจาก CP ⊥ ℓ ดังนัน้ ความชันต้องคูณกันได้ −1
3
หาความชัน ℓ : 3𝑥 − 4𝑦 + 24 = 0 → ความชัน ℓ =
4
3
𝑥 + 6 =𝑦 4
4 → ดังนัน้ ความชัน CP = −
3
4 𝑦−4 4
ดังนัน้ เส้นตรงที่ผ่าน CP จะมีความชัน − 3 และผ่าน C(4, 4) ซึ่งจะมีสมการคื อ 𝑥−4 = − 3
3𝑦 − 12 = −4𝑥 + 16
4𝑥 + 3𝑦 − 28 = 0

17. 5
จาก [𝐴 : 𝐼] ~ [𝐼 : 𝑃] จะได้ 𝐴𝑃 = 𝐼 นั่นคื อ 𝑃 = 𝐴−1
1 𝑎 1 𝑎
จาก 𝐴 [ 2] = [ 𝑏 ] ย้ายข้าง 𝐴 ทางซ้าย จะได้ [2] = 𝐴−1 [𝑏]
3 𝑐 3 𝑐
1 𝑎
[2] = 𝑃 [𝑏 ]
3 𝑐
1 1 2 0 𝑎
[2] = [0 −1 2 ] [𝑏 ]
3 1 0 −1 𝑐
จะแปลงเป็ นระบบสมการ แล้วแก้หา 𝑎 ก็ได้ แต่ ข้อนีโ้ จทย์ถาม 𝑎 ค่ าเดี ยว → ใช้กฎของเครเมอร์ จะง่ายกว่า
16 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

1 2 0
|2 −1 2 |
(1+12+0 )− (0+0−4 ) 17
จากกฎของเครเมอร์ จะได้ 𝑎 = 3
1
0
2
−1
0 = (1+4+0 )− (0+0+0 )
=
5
|0 −1 2 |
1 0 −1

18. 3
log 𝑥
9 − 10(3 log 𝑥 ) + 9 = 0
32 log 𝑥 − 10(3log 𝑥 ) + 9 = 0
(3log 𝑥
− 1)( 3log 𝑥
− 9) = 0
log 𝑥
3 = 1 , 9
log 𝑥
3 = 30 , 32
log 𝑥 = 0 , 2
𝑥 = 100 , 102 = 1 , 100 → จะได้ผลบวกคาตอบ = 1+ 100 = 101

19. 3
2 เลขยกกาลังฐาน 5
125(54 cos 2𝑥 ) = 4( 54 cos 𝑥 ) + 25
2 𝑥 − 1) 2 เป็ นลบไม่ได้
125( 54(2 cos ) = 4( 54 cos 𝑥 ) + 25
2𝑥 − 4 2
125( 58 cos ) = 4( 54 cos 𝑥 ) + 25 2𝑥
2
54 cos = 25 , −5
125 (5 8 cos 𝑥 ) 4 cos2 𝑥
4 cos2 𝑥 ) = 52
= 4( 5 + 25 5
54
2
5 8cos 𝑥 2
4 cos 2 𝑥 = 2
= 4( 54 cos 𝑥 ) + 25 cos 2 𝑥 =
1
5
2
2𝑥 2𝑥
58 cos = 20 (54 cos ) + 125 cos 𝑥 = ±
1
2𝑥 2𝑥 √2
58 cos − 20 (54 cos ) − 125 = 0 𝜋 3𝜋 5𝜋 7𝜋
2𝑥 2𝑥
𝑥 = , , ,
4 4 4 4
(54 cos − 25)(54 cos + 5) = 0
→ เป็ นสับเซตของข้อ 3.

20. 2
หา 𝑛(𝑆) : จานวนแบบทัง้ หมด → เลือก 3 คน จาก 9 คน ได้ ( 93) แบบ
หา 𝑛(𝐸 ) : จะลุยหา 𝑥̅ เลยก็ได้ แต่ ต้องคิ ดเลขเยอะหน่อย
หรือจะเอาข้อมูลทุกตัวมาหัก 150 ก่อน เพื่ อให้คิดเลขน้อยลงก็ได้
152 153 155 158 159 160 162 166 175

2 3 5 8 9 10 12 16 25

หาค่ าเฉลี่ยได้ 2+3+5+8+9+10+12+16+25


9
=
90
9
= 10 → บวก 150 กลับ จะได้ 𝑥̅ = 10 + 150 = 160
จะเห็นว่ามีเด็ ก 5 คน ที่เตี ย้ กว่า 160 → เลือก 3 คน จาก 5 คน ได้ (53) แบบ
5∙4∙3
(5) 5∙4∙3 5
ดังนัน้ ความน่าจะเป็ น = 3
(9)
= 3∙2∙1
9∙8∙7 =
9∙8∙7
=
42
3 3∙2∙1
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 17

21. 4
ไม่เป็ นลบ จะมีหลายกรณี (ศูนย์ หรือ บวก) → จะคานวณแบบตรงข้าม (คื อแบบที่เป็ นลบ) แล้วเอา 1 ตัง้ ลบ
หา 𝑛(𝑆) : จานวนแบบทัง้ หมด → เลือก 4 จานวน จาก 9 จานวน ได้ (94) = 9∙8∙7∙6 4∙3∙2∙1
= 3 ∙ 7 ∙ 6 แบบ
หา 𝑛(𝐸 ) : เป็ นจานวนลบ → จะมี 2 กรณีดังนี ้
กรณี เป็ นบวก 3 ตัว ลบ 1 ตัว เลือก 3 ตัว จากเลขบวก 4 ตัว ได้ (43) แบบ
เลือก 1 ตัว จากเลขลบ 4 ตัว ได้ (41) แบบ
→ ได้จานวนแบบ = (43)(41) = (4)(4) = 16 แบบ
กรณี เป็ นบวก 1 ตัว ลบ 3 ตัว เลือก 1 ตัว จากเลขบวก 4 ตัว ได้ (41) แบบ
เลือก 3 ตัว จากเลขลบ 4 ตัว ได้ (43) แบบ
→ ได้จานวนแบบ = (1)(3) = (4)(4) = 16 แบบ
4 4

รวมได้ 𝑛(𝐸 ) = 16 + 16 = 32 แบบ


32 16
ดังนัน้ ความน่าจะเป็ นที่ ผลคูณของเลข 4 ตัวเป็ นลบ = 3∙7∙6 =
63
ดังนัน้ ความน่าจะเป็ นที่ ผลคูณของเลข 4 ตัวไม่เป็ นลบ = 1 − 1663
=
47
63

22. 3
𝑃67 คื อ มีพืน้ ที่ 0.67 อยู่ทางซ้าย → จะวาดได้ดังรูป
0.67
แต่ พืน้ ที่ที่ใช้เปิ ดตาราง ต้องวัดจากแกนกลาง
ครึ่งซ้าย พื น้ ที่ = 0.5 → จะได้พืน้ ที่ที่ลน้ ไปทางขวา = 0.67 – 0.5 = 0.17
𝑃 −𝑥̅ 𝑍
เปิ ดตารางตรงพื น้ ที่ = 0.17 จะได้ 𝑧 = 0.44 ดังนัน้ 67𝑠 = 0.44 𝑃67
𝑃67 − 𝑥̅ = 0.44𝑠 …(1)

ทานองเดี ยวกัน 𝑃33 คื อ มีพืน้ ที่ 0.33 อยู่ทางซ้าย → จะวาดได้ดังรูป


0.33
แต่ พืน้ ที่ที่ใช้เปิ ดตาราง ต้องวัดจากแกนกลาง
ครึ่งซ้าย พื น้ ที่ = 0.5 → เหลือพื น้ ที่จากแกนกลาง = 0.5 – 0.33 = 0.17
𝑍
𝑃33
เปิ ดตารางตรงพื น้ ที่ = 0.17 จะได้ 𝑧 = 0.44 แต่ ฝ่ งั ซ้ายของโค้ง จะมี 𝑧 เป็ นลบ
จะได้ 𝑧 = −0.44 ดังนัน้ 𝑃33 −𝑥̅ = −0.44
𝑠
𝑃33 − 𝑥̅ = −0.44𝑠 …(2)

(1) − (2) : (𝑃67 − 𝑥̅ ) − (𝑃33 − 𝑥̅ ) = 0.44𝑠 − (−0.44𝑠)


จากโจทย์ จะได้ 𝑃67 − 𝑃33 = 11
11 = 0.88𝑠

11 1100 100
จะได้ 𝑠 =
0.88
=
88
=
8
= 12.5

23. 2
ให้ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥11 มี 𝑎1 = 𝑥1 และ อัตราส่วนร่วม = 𝑟
จากสูตร 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1
จะได้ 𝑥1 ∙ 𝑥2 ∙ 𝑥3 ∙ … ∙ 𝑥11 = 233 ∙ 322
𝑥1 ∙ 𝑥1 𝑟 ∙ 𝑥1𝑟 2 ∙ … ∙ 𝑥1 𝑟10 = 233 ∙ 322
(𝑥1)11 (𝑟1+2+3+ … +10 ) = 233 ∙ 322 𝑛(𝑛+1)
10( 10+1) 1+2+…+𝑛 =
2
(𝑥1)11 ( 𝑟 2 ) = 233 ∙ 322
18 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

1 (𝑥1)11 ( 𝑟 55 ) = 233 ∙ 322


ยกกาลัง 11 ทั้งสองฝั่ง
𝑥1 𝑟5 = 23 ∙ 32 …(∗)
มัธยฐาน = ตัวตรงกลาง = 𝑥11+1 = 𝑥6
2

ซึ่งจากสูตร 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1
จะได้ 𝑥6 = 𝑥1 𝑟 5 ซึ่งจาก (∗) จะได้เท่ากับ 23 ∙ 32 = 72

24. 3
n ( n  2)
2 𝑛( 𝑛+2) −1
𝑥 −1 𝑛(𝑛 +2 )
อินทิเกรต จะได้ 𝑎𝑛 =  𝑥 −2
𝑑𝑥 = | 2 = − (( ) − (𝑛) −1 )
−1 2
n
𝑛 2 1
= −( − )
𝑛(𝑛 +2 ) 𝑛
2 − (𝑛+2 )
= −( )
𝑛 (𝑛+2 )
−𝑛
= −( )
𝑛(𝑛 +2 )
1
=
𝑛+2
  
1 1 1
ดังนัน้  𝑎𝑛
= 
1
=  −
n 1 𝑛 n 1 𝑛 (𝑛+2 ) 2 n 1 𝑛 𝑛+2

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
= ( − + − + − + − + − + − + …)
2 1 3 2 4 3 5 4 6 5 7 6 8

จะเห็นว่า ตัวลบ จะตัดกับตัวบวกของพจน์ถดั ไปสองพจน์ได้


เหลือตัวบวกสองตัวแรก ( คื อ 11 และ 12 ) กับ ตัวลบสองตัวสุดท้าย (ซึ่งเข้าใกล้ 0 เมื่อ 𝑛 → ∞)
ดังนัน้ จะได้คาตอบ = 12 ( 11 + 12) = 12 (32) = 34

25. 5
3𝑥3 6𝑥2
อินทิเกรต 𝑓 ′ (𝑥 ) = 3𝑥 2 − 6𝑥 จะได้ 𝑓(𝑥 ) = 3

2
+𝑐
= 𝑥 − 3𝑥 2 + 𝑐 …(∗)
3

𝐺 (𝑥 ) ต่ อเนื่องที่ 𝑥 = −1 ดังนัน้ บริเวณรอยต่ อที่ 𝑥 = −1 ต้องได้ 𝑥 + 5 = 𝑓(𝑥 )


−1 + 5 = 𝑓(−1)
4 = (−1) 3 − 3(−1)2 + 𝑐
8 = 𝑐
แทนใน (∗) จะได้ 𝑓 (𝑥 ) = 𝑥 3 − 3𝑥 2 + 8
ค่ า สูงสุด/ต่ าสุด สัมพัทธ์ จะเกิดที่ 𝑓 ′ (𝑥 ) = 0 → 3𝑥 2 − 6𝑥 = 0
3𝑥(𝑥 − 2) = 0
+ − +
𝑥=0, 2
0 2
ค่ าต่ าสุดสัมพัทธ์ จะเกิด ณ จุดที่ 𝑓 ′ (𝑥 ) เปลี่ยนจาก − เป็ น + นั่นคื อ ที่ 𝑥=2
จะได้ค่าต่ าสุดสัมพัทธ์ = 𝑓(2) = 23 − 3(22 ) + 8 = 4
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 19

26. 5
ค่ าเฉลี่ย = 12.7 ดังนัน้ 𝑥+16+8+12+13+7+9+11+18+𝑦
= 12.7
10
𝑥 + 94 + 𝑦 = 127
𝑥+𝑦 = 33

หามัธยฐาน → มัธยฐานจะอยู่ตาแหน่งที่ 10+1 2


= 5.5 = ระหว่างตัวที่ 5 กับ 6
เรียงข้อมูลจากมากไปน้อย จะได้ 7 , 8 , 9 , 11 , 12 , 13 , 16 , 18 เหลือ 𝑥 กับ 𝑦 ที่ยงั ไม่รคู ้ ่ า
เนื่องจาก 𝑥, 𝑦 มากสุดคื อ 20 (คะแนนเต็ ม 20) และ 𝑥 + 𝑦 = 33 ดังนัน้ 𝑥 หรือ 𝑦 จะน้อยกว่า 13 ไม่ได้ (ถ้ามีตัว
ไหนน้อยกว่า 13 อีกตัวต้องมากกว่า 20 ถึงจะบวกกันเป็ น 33 ได้) → 𝑥, 𝑦 ≥ 13
ดังนัน้ ตัวที่ 5.5 จะอยู่ระหว่าง 12 กับ 13 ดังรูป 𝑥, 𝑦 ≥ 13

7 , 8 , 9 , 11 , 12 , 13 , 16 , 18

ตัวที่ 5 ตัวที่ 6
12+13
จะได้ ตัวที่ 5.5 =
2
= 12.5

27. 4
100 100 2𝑘−1
จาก 𝑓(𝑥 ) =  𝑘 ∙ 𝑥 2𝑘−1 จะได้ 𝑓 (√2) =  𝑘 ∙ √2
k 1 k 1
100 2𝑘−1
1 1
ดังนัน้ √2
𝑓(√2 ) =  𝑘 ∙ √2
√2 k 1

100 2 𝑘
1 (√2 )
= 𝑘∙
√2 k 1 √2
100
1
=  𝑘 ∙ 2𝑘
2 k 1
1
= (1 ∙ 21 + 2 ∙ 22 + 3 ∙ 23 + … + 100 ∙ 2100)
2
= 1 ∙ 20 + 2 ∙ 21 + 3 ∙ 22 + … + 100 ∙ 299
เป็ นอนุกรมผสมเรขาคณิต → ต้องใช้วิธีคูณ 𝑟 ให้ตาแหน่งเลื่อน แล้วหักด้วยตัวมันเอง
0 1 2 3 99
คูณ 2 ให้ 1 ∙ 2 + 2 ∙ 2 + 3 ∙ 2 + 4 ∙ 2 + … + 100 ∙ 2 = 𝑥 …(1)
พจน์เลื่อน 1 2 3 99
1 ∙ 2 + 2 ∙ 2 + 3 ∙ 2 + … + 99 ∙ 2 + 100 ∙ 2100 = 2𝑥 …(2)

(1) − (2) : 1 ∙ 20 + 1 ∙ 21 + 1 ∙ 22 + 1 ∙ 23 + … + 1 ∙ 299 − 100 ∙ 2100 = −𝑥

( 𝑛 )
อนุกรมเรขา (𝑎1 = 1 , 𝑟 = 2) ใช้สูตร 𝑆𝑛 = 𝑎1 𝑟−1
𝑟 −1
ได้
1 (2 100 −1 )
− 100 ∙ 2100 = −𝑥
2−1
100 100
2 −1 − 100 ∙ 2 = −𝑥
−1 − 99 ∙ 2100 = −𝑥
1 + 99 ∙ 2100 = 𝑥
20 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58)

28. 5
1+i 1+i 1+i 12 +2i+i2 2i
จัดรูปโดยคูณคอนจูเกตให้ตัวส่วนเป็ นจานวนจริงก่อน จะได้ 1−i
= ∙
1−i 1+i
=
12 −i2
=
2
= i
ดังนัน้ จะได้สมการคื อ i2𝑥−5 = i𝑥 −2
i2𝑥−5
= 1
i𝑥−2
(2𝑥 −5 ) −(𝑥 −2 )
i = 1
𝑥 −3
i = 1 → 𝑥−3 ต้องหารด้วย 4 ลงตัว
นั่นคื อ 𝑥 ต้องหารด้วย 4 เหลือเศษ 3
155−3
เนื่องจาก 𝑥 ∈ { 1, 2, 3, … , 155 } จะได้ 𝑥 = 3 , 7 , 11 , … , 155 → มีทงั ้ หมด 4
+ 1 = 39 จานวน

29. 2
เมทริกซ์ในรูป [cos 𝜃 − sin 𝜃 ] เป็ นเมทริกซ์ที่นิยมนามาออกข้อสอบ เนื่องจาก มันมีสมบัติพิเศษ คื อ หากนาเมทริกซ์
sin 𝜃 cos 𝜃
ในรูปนีม้ าคูณกัน จะสามารถนามุมมาบวกกันได้เลย ดังนี ้
cos 𝛼 − sin 𝛼 cos 𝛽 − sin 𝛽 cos 𝛼 cos 𝛽 − sin 𝛼 sin 𝛽 − cos 𝛼 sin 𝛽 − sin 𝛼 cos 𝛽
[ ][ ] =[ ]
sin 𝛼 cos 𝛼 sin 𝛽 cos 𝛽 sin 𝛼 cos 𝛽 + cos 𝛼 sin 𝛽 − sin 𝛼 sin 𝛽 + cos 𝛼 cos 𝛽
cos(𝛼 + 𝛽 ) − sin(𝛼 + 𝛽 )
= [ ]
sin(𝛼 + 𝛽 ) cos(𝛼 + 𝛽 )

[cos 𝜃 − sin 𝜃 ]𝑛 cos 𝑛𝜃 − sin 𝑛𝜃 ]


ซึ่งจะทาให้ได้ด้วยว่า = [
sin 𝜃 cos 𝜃 sin 𝑛𝜃 cos 𝑛𝜃
𝜋 𝜋 𝑘 𝑘𝜋 𝑘𝜋
cos − sin cos − sin
ดังนัน้ 𝐴𝑘 = [ 3
𝜋
3
𝜋 ] = [ 3
𝑘𝜋
3
𝑘𝜋
] ซึ่งจะเท่ากับ [1 0]
เมื่อ cos
𝑘𝜋
= 1 , sin
𝑘𝜋
=0
sin cos sin cos 0 1 3 3
3 3 3 3 𝑘𝜋
นั่นคื อ เมื่อ 3
= 2𝑛𝜋
𝑘 = 6𝑛
100
ใน { 1, 2, 3, … , 100 } จะมีจานวนที่หารด้วย 6 ลงตัวอยู่ 6
= 16.6… → ปัดลง → 16 จานวน
16
ดังนัน้ จะได้ความน่าจะเป็ น = 100

30. 1
เนื่องจาก 𝑃 (𝑥 ) มี สปส เป็ นจานวนเต็ มบวก ดังนัน้ ถ้า 𝑥 เป็ นบวก จะได้ว่า แต่ ละพจน์ของ 𝑃(𝑥 ) เป็ นบวกทุกพจน์
จาก 𝑃(10) = 2,116 จะสรุปได้ว่า 𝑃 (𝑥 ) มีดีกรีไม่เกิน 3 (เพราะทุกพจน์เป็ นบวก และ 104 เกิน 2116)
ให้ 𝑃 (𝑥 ) = 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ {1, 2, 3, …}
จาก 𝑃 (1) = 10 จะได้ 𝑎(13 ) + 𝑏(12 ) + 𝑐(1) + 𝑑 = 10
𝑎+𝑏+𝑐+𝑑 = 10 …(1)
จาก 𝑃 (10) = 2,116 จะได้ 3 2
𝑎(10 ) + 𝑏(10 ) + 𝑐(10) + 𝑑 = 2116
1000𝑎 + 100𝑏 + 10𝑐 + 𝑑 = 2116 …(2)
จาก (1) จะได้ ( เนื่องจาก 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เป็ นจานวนเต็ มบวก
1 ≤ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ≤ 7
ถ้ามีตัวไหนใน 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เกิน 7 จะทาให้ผลบวก 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 เกิน 10)
เนื่องจาก 2116 เขี ยนกระจายในฐานสิบได้แบบเดี ยวคื อ 2(1000) + 1(100) + 1(10) + 6
และจาก 1 ≤ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ≤ 7 ดังนัน้ จะสรุปได้ว่า 𝑎 = 2 , 𝑏 = 1 , 𝑐 = 1 , 𝑑 = 6 (ซึ่งจะทาให้ (1) จริงด้วย)
ดังนัน้ 𝑃(−1) = 2 (−1)3 + 1(−1)2 + 1(−1) + 6 = 4
วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 1 (ธ.ค. 58) 21

เครดิ ต
ขอบคุณ ข้อสอบ จาก คุณ สนธยา เสนามนตรี และ อ.ปิ ง GTRmath
ขอบคุณเฉลยวิธีทา จาก อ.ปิ ง GTRmath
ขอบคุณ คุณ Hutch LK
และ คุณครูเบิรด์ จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ครูเบิรด์
และ คุณ Sornchai Thongkrajang ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like