You are on page 1of 38

PAT 1 (พ.ย.

57) 1
24 Sep 2017

PAT 1 (พ.ย. 57)


รหัสวิชา 71 วิชา ความถนัดทางคณิตศาสตร์ (PAT 1)
วันเสาร์ ที่ 22 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13.00 - 16.00 น.

ตอนที่ 1 ข้ อ 1 - 30 ข้ อละ 6 คะแนน


1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 แทนประพจน์ใดๆ ให้ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) แทนประพจน์ที่ประกอบด้ วยประพจน์ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟
และค่าความจริ งของประพจน์ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) แสดงดังตารางต่อไปนี ้
𝑝 𝑞 𝑟 ค่าความจริงของ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟)
T T T T
T T F T
T F T F
T F F F
F T T T
F T F T
F F T T
F F F T

ประพจน์ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) สมมูลกับประพจน์ใดต่อไปนี ้


1. (𝑞 → 𝑝) ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) 2. (𝑞 → 𝑝) → (𝑝 → ~𝑟)
3. (𝑝 ∧ ~𝑞) → (𝑞 ∧ 𝑟) 4. (𝑝 ∧ ~𝑞) → (𝑝 → ~𝑟)

2. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ { 𝑥 ∈ ℝ | 0 < 𝑥 < 1 } พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


(ก) ประพจน์ ∃𝑥∀𝑦 [ 𝑥 2 − 𝑦 2 < 𝑦 − 𝑥 ] มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
(ข) ประพจน์ ∀𝑥∀𝑦 [ |𝑥 − 𝑦| < 1 − 𝑥𝑦 ] มีคา่ ความจริงเป็ นจริง
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
2 PAT 1 (พ.ย. 57)

3. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มโดยมีความยาวของด้ านตรงข้ ามมุม 𝐴 มุม 𝐵 และมุม 𝐶 เท่ากับ 𝑎 หน่วย
𝑏 หน่วย และ 𝑐 หน่วย ตามลาดับ สมมุติวา่ มุม 𝐴 มีขนาดเป็ นสามเท่าของมุม 𝐵 และ 𝑎 = 2𝑏
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ มมุมฉาก
(ข) ถ้ า 𝑎 = 𝑘𝑐 แล้ ว 𝑘 สอดคล้ องกับ 3𝑥 3 − 9𝑥 2 − 𝑥 + 3 = 0
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

4. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนเต็มบวก นิยาม 𝑎R𝑏 หมายถึง 𝑎 หารด้ วย 𝑏 ลงตัว พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) ถ้ า 𝑥R𝑦 และ 𝑦R𝑧 แล้ ว 𝑥R(𝑦 + 𝑧) สาหรับทุกจานวนเต็มบวก 𝑥, 𝑦 และ 𝑧
(ข) ถ้ า 𝑤R𝑥 และ 𝑦R𝑧 แล้ ว (𝑤𝑦)R(𝑥𝑧) สาหรับทุกจานวนเต็มบวก 𝑤, 𝑥, 𝑦 และ 𝑧
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

5. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ งบวกที่มากกว่า 1 และสอดคล้ องกับ log 𝑎 4 + log 𝑏 4 = 9 log 𝑎𝑏 2
𝑎2
ค่ามากสุดของ log 𝑎 (𝑎𝑏 5 ) + log 𝑏 ( )
√𝑏
เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 13.5 2. 11.5 3. 9 4. 7
PAT 1 (พ.ย. 57) 3

sin 25° sin 85° sin 35°


6. sin 75°
ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
1. tan 15° 2. sin 15° sin 75°
3. cos 20° cos 40° cos 80° 4. sec 420°

7. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ ง และกาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 เมื่อ 𝑥 ≠ 0 โดยที่ 𝑦 = 𝑓(𝑥) เป็ นเส้ นโค้ งที่สม
ั ผัส
กับเส้ นตรง 𝑦 = 1 ที่จดุ (1, 1) พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) 𝑓 มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์ที่ 𝑥 = −1
(ข) lim
x 1
(𝑓 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑓(2𝑎2 + 2𝑏 2 )

ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
4 PAT 1 (พ.ย. 57)

8. ให้ 𝑆 = {1, 2, 3, … , 15} และให้ 𝐴 เป็ นสับเซตของ 𝑆 โดยมีจานวนสมาชิกชองเซต 𝐴 เท่ากับ 4 ความน่าจะเป็ น


ที่จะได้ เซต 𝐴 โดยที่สมาชิกในเซต 𝐴 จัดเรี ยงเป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มีผลต่างร่วมเป็ นจานวนเต็มบวก เท่ากับข้ อใด
ต่อไปนี ้
3 4
1. 455 2. 455 3. 911 4. 912

9. กาหนดให้ 𝑧 เป็ นจานวนเชิงซ้ อน ที่สอดคล้ องกับสมการ |𝑧| + 2𝑧̅ − 3𝑧 = 3 − 45i เมื่อ |𝑧| แทนค่าสัมบูรณ์
(absolute value) ของ 𝑧 และ 𝑧̅ แทนสังยุค (conjugate) ของ 𝑧 ค่าของ |𝑧̅|2 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 95 2. 225 3. 245 4. 375
PAT 1 (พ.ย. 57) 5

10. กาหนดให้ 𝑦 2 − 2𝑥 2 + 8𝑥 − 6 = 0 เป็ นสมการของไฮเพอร์ โบลา ให้ เส้ นตรง 𝑦 = √2 ตัดกับเส้ นกากับของ
ไฮเพอร์ โบลาที่จดุ 𝐴 และจุด 𝐵 เมื่อจุด 𝐵 อยูท่ างขวามือของจุด 𝐴 และเส้ นตรง 𝑦 = √2 ตัดกับกราฟ
ไฮเพอร์ โบลาที่จดุ 𝑃 และจุด 𝑄 เมื่อจุด 𝑄 อยูท่ างขวามือของจุด 𝑃 สมการของวงรี ทมี่ ีจดุ ยอดอยูท่ จี่ ดุ 𝑃 และจุด 𝑄
โฟกัสของวงรี อยูท่ ี่จดุ 𝐴 และจุด 𝐵 มีสมการตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 2𝑥 2 + 𝑦 2 − 8𝑥 + 4√2𝑦 − 4 = 0 2. 2𝑥 2 + 𝑦 2 − 8𝑥 − 2√2𝑦 + 8 = 0
3. 𝑥 2 + 2𝑦 2 − 4𝑥 − 4√2𝑦 + 6 = 0 4. 𝑥 2 + 2𝑦 2 + 4𝑥 + 4√2𝑦 + 6 = 0

11. ให้ 𝐶 เป็ นวงกลมมีสมการ 𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝐷𝑥 + 𝐸𝑦 + 𝐹 = 0 มีจดุ ศูนย์กลางอยูใ่ นควอดรันต์ (quadrant) ที่ 1


และวงกลม 𝐶 สัมผัสแกน 𝑦 ให้ 𝑃 เป็ นพาราโบลามีสมการ 𝐷𝑥 = 𝑦 2 + 𝐸𝑦 + 𝐹 ผ่านจุด (−4, −1) และระยะ
ระหว่างจุดยอดกับโฟกัสเท่ากับ 1 หน่วย พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) 𝐷2 + 𝐸2 + 𝐹 2 = 133
(ข) เส้ นตรง 4𝑥 + 3𝑦 − 7 = 0 สัมผัสกับวงกลม 𝐶
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
6 PAT 1 (พ.ย. 57)

12. กาหนดให้ 𝐴𝐵𝐶 เป็ นรูปสามเหลีย่ ม โดยทีด่ ้ าน 𝐴𝐵 ยาว 5 หน่วย ด้ าน 𝐵𝐶 ยาว 12 หน่วย และมุม 𝐴𝐵̂𝐶 เท่ากับ
60° ถ้ าเวกเตอร์ 𝑢̅ = 𝐴𝐵
̅̅̅̅ เวกเตอร์ 𝑣̅ = 𝐵𝐶
̅̅̅̅ และเวกเตอร์ 𝑤
̅ = 𝐶𝐴̅̅̅̅ แล้ ว (2𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ 𝑤
̅ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 64 2. 109 3. 114 4. 124

13. ให้ 𝐴 เป็ นเอกภพสัมพัทธ์ที่ทาให้ ประพจน์ ∀𝑥[ 2𝑥 2 + 𝑥 − 3 ≤ 0 และ |𝑥 − 2| ≤ 3 ] มีคา่ ความจริ งเป็ นจริ ง
และให้ 𝐵 เป็ นเซตคาตอบของอสมการ 6𝑥 −2 − 5𝑥 −1 − 1 > 0 ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. 𝐴 ⊂ 𝐵 2. 𝐴 − 𝐵 มีสมาชิก 2 ตัว
3. (𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴) = (−6, 1) 4. (−6, 0) ⊂ (𝐵 − 𝐴)

14. ถ้ า 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริ งบวกและสอดคล้ องกับสมการ 2 log 2 (𝑥 − 2𝑦) + log 1 𝑥 + log 1 𝑦 = 0
2 2
𝑥 2
แล้ ว ( )
𝑦
+1 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 2 2. 5 3. 10 4. 17
PAT 1 (พ.ย. 57) 7

15. ให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 และ 𝑥 เป็ นจานวนเต็มบวกใดๆ พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


𝑎 𝑐
(ก) ถ้ า 𝑏
<𝑑 แล้ ว 𝑎+𝑥
𝑏
𝑐+𝑥
< 𝑑
(ข) 𝑎𝑏 < 𝑎+𝑥
𝑏+𝑥
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

16. กาหนดให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของจานวนจริ ง โดยทัง้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ที่
สามารถหาอนุพนั ธ์ได้ และสอดคล้ องกับ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = √𝑥 2 + 5 สาหรับทุก 𝑥 ที่อยูใ่ นโดเมนของ 𝑓 ∘ 𝑔
และ ∫ 𝑔(𝑥) 𝑑𝑥 = 𝑥 2 − 4𝑥 + 𝐶 เมื่อ 𝐶 เป็ นค่าคงตัว ถ้ า 𝐿 เป็ นเส้ นตรงที่สมั ผัสเส้ นโค้ ง 𝑦 = 𝑓(𝑥) ณ 𝑥 = 0
แล้ วเส้ นตรง 𝐿 ตังฉากกั
้ บเส้ นตรงที่มีสมการตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 𝑥 + 𝑦 − 3 = 0 2. 2𝑥 + 𝑦 − 7 = 0
3. 3𝑥 + 𝑦 − 5 = 0 4. 5𝑥 + 𝑦 − 2 = 0

17. กาหนดให้ 𝐿1 เป็ นเส้ นตรงผ่านจุด (−2, −4) มีความชันเป็ นจานวนเต็มบวก และตัดแกน 𝑋 และแกน 𝑌 ที่จดุ 𝐴
และจุด 𝐵 ตามลาดับ โดยผลบวกของระยะตัดแกน 𝑋 และระยะตัดแกน 𝑌 เท่ากับ 3 หน่วย ให้ 𝐿2 เป็ นเส้ นตรงที่
ขนานกับเส้ นตรง 𝐿1 และผ่านจุด (0, −13) ถ้ า 𝐶 เป็ นจุดบนเส้ นตรง 𝐿2 โดยที่ 𝐶𝐴 = 𝐶𝐵 แล้ วพื ้นที่ของรูป
สามเหลีย่ ม 𝐴𝐵𝐶 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 8.5 ตารางหน่วย 2. 7.5 ตารางหน่วย 3. 6.5 ตารางหน่วย 4. 5.5 ตารางหน่วย
8 PAT 1 (พ.ย. 57)

18. กาหนดให้ ฟังก์ชนั จุดประสงค์ 𝑃1 = 5𝑥 + 2𝑦 และ 𝑃2 = 4𝑥 + 3𝑦โดยมีอสมการข้ อจากัดดังนี ้


2𝑥 + 3𝑦 ≥ 6 , 3𝑥 − 𝑦 ≤ 15 , −𝑥 + 𝑦 ≤ 4 , 2𝑥 + 5𝑦 ≤ 27 , 𝑥 ≥ 0 และ 𝑦 ≥ 0
ให้ ค่ามากที่สดุ ของ 𝑃1 และ 𝑃2 เท่ากับ 𝑀1 และ 𝑀2 ตามลาดับ
และค่าน้ อยที่สดุ ของ 𝑃1 และ 𝑃2 เท่ากับ 𝑁1 และ 𝑁2 ตามลาดับ พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) 𝑀1 มีคา่ มากกว่า 𝑀2
(ข) 𝑁1 มีคา่ น้ อยกว่า 𝑁2
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

2
64
19. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 เมื่อ 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนจริง โดยที่  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = − 3
2

ถ้ า 𝑔(𝑥) เป็ นพหุนามซึง่ 𝑔 = 𝑓(𝑥) และ 𝑔


′ (𝑥) ′ (1)
=𝑔 ′ (0)
= 𝑔(0) = 0
แล้ ว 𝑔′′ (𝑥) = 𝑔′ (𝑥) + 𝑔(𝑥) ตรงกับสมการในข้ อใดต่อไปนี ้
1. 𝑥 4 − 4𝑥 3 + 12𝑥 2 − 6𝑥 = 0 2. 𝑥 4 − 8𝑥 3 − 12𝑥 2 − 6𝑥 = 0
3. 3𝑥 4 − 16𝑥 3 + 48𝑥 2 − 24𝑥 = 0 4. 3𝑥 4 + 8𝑥 3 − 48𝑥 2 + 24𝑥 = 0
PAT 1 (พ.ย. 57) 9

1 1
20. กาหนดให้ {𝑎𝑛 } เป็ นลาดับของจานวนจริ ง โดยที่ 𝑎1 = 6 และ 𝑎𝑛 = 𝑎𝑛−1 − 3𝑛 สาหรับ 𝑛 = 2, 3, 4, …
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) nlim

𝑎𝑛 = 0

(ข) อนุกรม 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … เป็ นอนุกรมลูเ่ ข้ า มีผลบวกเท่ากับ 0.75


ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

21. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนจริงบวก โดยที่ 𝑎𝑏 = 24 และ 𝑐𝑑 = 8 พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้


√𝑎 √𝑐
(ก) ถ้ า 𝑑 > 𝑏 แล้ ว (𝑐+1) 𝑏 < (𝑎+1)𝑑

(ข) ถ้ า 𝑎 < 𝑐 แล้ ว (0.01)𝑏 < (0.05)𝑑


ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

22. นิยาม จานวนสามหลักลด คือ จานวน 𝐴𝐵𝐶 โดยที่ 𝐴, 𝐵, 𝐶 ∈ {0, 1, … , 9} และ 𝐴>𝐵>𝐶 จานวนวิธีสร้ าง
จานวนสามหลักลด ที่มคี า่ มากกว่า 500 มีจานวนทังหมดเท่
้ ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 119 2. 117 3. 114 4. 110
10 PAT 1 (พ.ย. 57)

23. ให้ 𝑆 เป็ นเซตของข้ อมูลชุดหนึง่ ประกอบด้ วยจานวนเต็ม 𝑛 จานวนทีแ่ ตกต่างกัน ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้ อมูลใน 𝑆
เท่ากับ 22 ถ้ านาค่าตา่ สุดของข้ อมูลออกจาก 𝑆 จะได้ คา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 24 ถ้ านาค่าสูงสุดของข้ อมูลออก
จาก 𝑆 จะได้ คา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 15 แต่ถ้านาทังค่
้ าตา่ สุดและค่าสูงสุดออกจาก 𝑆 จะได้ คา่ เฉลีย่ เลขคณิต
เท่ากับ 16 พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) พิสยั ของข้ อมูลเท่ากับ 96
(ข) 𝑛 = 9
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

24. กาหนดให้ เส้ นตรง 𝐿 เป็ นความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั ระหว่าง 𝑥 และ 𝑦 ที่กาหนดในตารางต่อไปนี ้ โดยที่ 𝑥 เป็ นตัวแปร
อิสระ
𝑥 1 2 3 4 5
𝑦 9 11 𝑏 17 19

และให้ (3, 𝑏) เป็ นจุดบนเส้ นตรง 𝐿 เมื่อ 𝑏 เป็ นจานวนจริง พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) 𝑏 = 13
(ข) ถ้ าค่าของ 𝑥 เพิ่มขึ ้น 0.5 แล้ วค่าของ 𝑦 จะเพิ่มขึ ้น 1.3
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
PAT 1 (พ.ย. 57) 11

25. กาหนดให้ 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥𝑛 เป็ นจานวนจริ งบวก ข้ อมูลชุดที่ 1 คือ 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥𝑛 และ


ข้ อมูลชุดที่ 2 คือ 2𝑥1 + 1 , 2𝑥2 + 1 , … , 2𝑥𝑛 + 1
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้ อมูลชุดที่ 1 มากกว่า สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้ อมูลชุดที่ 2
(ข) สัมประสิทธิ์พิสยั ของข้ อมูลชุดที่ 1 น้ อยกว่า สัมประสิทธิ์พิสยั ของข้ อมูลชุดที่ 2
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด

1 6
26. กาหนดให้ 𝐴 เป็ น 2 × 3 เมทริ กซ์ 𝐵 เป็ น 3 × 2 เมทริ กซ์ และ 𝐶 เป็ น 2 × 2 เมทริ กซ์ โดยที่ 𝐴𝐵𝐶 = [
1 14
]
พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
(ก) det(𝐴𝐵) − det(𝐵𝐴) = 0
(ข) ถ้ า 𝐶 = [−1 1
2
2
] แล้ ว 𝐶𝐴𝐵 = [
5 7
]
6 10
ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
12 PAT 1 (พ.ย. 57)

27. คะแนนสอบของนักเรี ยน 160 คน มีการแจกแจงปกติ โดยมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 60 คะแนน มีนกั เรี ยนเพียง 4
คนทีส่ อบได้ คะแนนมากกว่า 84.5 คะแนน นักเรี ยนที่สอบได้ 55 คะแนนจะอยูต่ าแหน่งเปอร์ เซนไทล์เท่ากับข้ อใด
ต่อไปนี ้ เมื่อกาหนดพื ้นทีใ่ ต้ เส้ นโค้ งปกติ ระหว่าง 0 ถึง 𝑧 ดังตารางต่อไปนี ้
𝑍 0.3 0.4 0.5 1.0 1.1 1.96 2.0
พื ้นที่ 0.1179 0.1554 0.1915 0.3413 0.3643 0.4750 0.4773

1. 19.15 2. 15.54 3. 34.46 4. 30.85

28. ข้ อมูลชุดหนึง่ มี 5 จานวนที่แตกต่างกัน โดยที่คา่ เฉลีย่ ของควอร์ ไทล์ที่หนึง่ และควอร์ ไทล์ที่สาม เท่ากับมัธยฐาน ถ้ า
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ เท่ากับ 2.8 และมัธยฐานเท่ากับ 15 แล้ วส่วนเบี่ยงเบนควอร์ ไทล์เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 3.5 2. 5.25 3. 7.5 4. 11.25

sin4 𝑥 cos4 𝑥 2 2
29. ถ้ า 5
+ 7
1
= 12 สาหรับบาง 𝑥 > 0 แล้ วค่าของ sin 5(2𝑥) + cos 7(2𝑥) ตรงกับข้ อใดต่อไปนี ้
1 25
1. 144
2. 126 3. 29 4. 16
PAT 1 (พ.ย. 57) 13

30. กาหนดให้ 𝐴, 𝐵, 𝐶 และ 𝐷


เป็ นจานวนจริงบวกที่สอดคล้ องกับ
𝐵 = 𝐶 + 𝐷 , 𝐷 = 𝐴 + 𝐶 − 𝐵 และ 𝐴 = 2𝐶 − 𝐵 ข้ อใดต่อไปนี ้ถูกต้ อง
1. 𝐷 < 𝐴 < 𝐶 < 𝐵 2. 𝐴 < 𝐷 < 𝐶 < 𝐵
3. 𝐷 < 𝐶 < 𝐴 < 𝐵 4. 𝐶 < 𝐴 < 𝐷 < 𝐵

ตอนที่ 2 ข้ อ 31 - 45 ข้ อละ 8 คะแนน


31. ให้ 𝑆′ แทนคอมพลีเมนท์ของเซต 𝑆 และ 𝑛(𝑆) แทนจานวนสมาชิกของเซต 𝑆 ให้ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นสับเซตของ
เอกภพสัมพัทธ์ 𝒰 โดยที่ 𝐴 ∩ 𝐶 = ∅ , 𝐴 − 𝐵 ≠ ∅ , 𝐵 − 𝐴 ≠ ∅ , 𝐵 − 𝐶 ≠ ∅ และ 𝐶 − 𝐵 ≠ ∅
ถ้ า 𝑛(𝒰) = 20 , 𝑛(𝐴′ ) = 12 , 𝑛(𝐵′ ) = 9 , 𝑛(𝐶 ′ ) = 15 , 𝑛((𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴)) = 11
และ 𝑛((𝐵 − 𝐶) ∪ (𝐶 − 𝐵)) = 12 แล้ ว 𝑛((𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐶 − 𝐵)) เท่ากับเท่าใด

32. ให้ 𝐴 = cos 15° + cos 87° + cos 159° + cos 231° + cos 303°
และ 𝐵 = sin (arctan(15 8
4
) + arccos(5))
ถ้ า 𝐴 + 𝐵 = 𝑎𝑏 เมื่อ ห.ร.ม. ของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับ 1 แล้ วค่าของ 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
14 PAT 1 (พ.ย. 57)

33. ให้ 𝑧1 และ 𝑧2 เป็ นจานวนเชิงซ้ อน โดยที่ |𝑧1 | = √2 , |𝑧2 | = √3 และ |𝑧1 − 𝑧2 | = 1
แล้ วค่าของ |𝑧1 + 𝑧2 | เท่ากับเท่าใด เมื่อ |𝑧| เทนค่าสัมบูรณ์ของ 𝑧

34. ให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริ ง โดยที่ 𝑎 > 0 และ 𝑏 > 1 ถ้ า 𝑎𝑏 = 𝑏 𝑎 และ 𝑏 = 𝑎𝑏 3𝑎 แล้ ว 20𝑎 + 14𝑏
เท่ากับเท่าใด

35. ให้ เป็ นจานวนจริ งบวก และให้ {𝑏𝑛 } เป็ นลาดับของจานวนจริง โดยที่ 𝑏𝑛 = (𝑎 + 𝑛 − 1)(𝑎 + 𝑛) สาหรับ
𝑎
𝑎+1 𝑎+2 𝑎+𝑛 1
𝑛 = 1, 2, 3, … ถ้ า 𝑎 สอดคล้ องกับ lim (𝑏 𝑏 + 𝑏 𝑏 + ⋯ + 𝑏 𝑏 ) = 312 แล้ วค่าของ 𝑎2 + 57 เท่ากับ
n 1 2 2 3 𝑛 𝑛+1

เท่าใด
PAT 1 (พ.ย. 57) 15

|𝑥| 1 𝑦 3 10 + 𝑥 0 𝑡
36. ถ้ า 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจานวนจริ งที่สอดคล้ องกับ [
2 𝑥 − |𝑦|
] + 2[
−1 |𝑦|
]=[
7 7−𝑦
]
แล้ วค่าของ 𝑥+𝑦 เท่ากับเท่าใด

37. กาหนดให้ 𝒰 = {1, 2, 3, 4, 5} ให้ 𝑆 เป็ นเซตของคูอ่ นั ดับ (𝐴, 𝐵) ทังหมด


้ โดยที่จานวนสมาชิกของเซต 𝐴 ∩ 𝐵
เท่ากับ 2 เมื่อ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นสับเซตของ 𝒰 จานวนสมาชิกของเซต 𝑆 เท่ากับเท่าใด

38. ให้ {𝑎𝑛 } เป็ นลาดับเลขคณิต โดยที่ 𝑎1 = 2 และ 𝑎1 < 𝑎2 < 𝑎3 < … สมมุตวิ า่ 𝑎2 , 𝑎4 , 𝑎8 เรี ยงกันเป็ น
(𝑎1 −1)3 +(𝑎2 −1)3 + … +(𝑎𝑛 −1)3 391
ลาดับเรขาคณิต จงหาค่าของ 𝑛 ที่ทาให้ 𝑎13 +𝑎23 + … +𝑎𝑛
3 = 450
16 PAT 1 (พ.ย. 57)

39. ให้ 𝑆 แทนเซตคาตอบของสมการ 3√2 + 𝑥 − 6√2 − 𝑥 + 4√4 − 𝑥 2 = 10 − 3𝑥 ถ้ าผลบวกของสมาชิก


𝑎
ทังหมดในเซต
้ 𝑆 เท่ากับ เมื่อ ห.ร.ม. ของ 𝑎 และ 𝑏 เท่ากับ 1 แล้ ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าใด
𝑏

𝜃 5𝜃
40. กาหนดให้ 8 cos(2𝜃) + 8 sec(2𝜃) = 65 เมื่อ 0 < 𝜃 < 90° ค่าของ 160 sin(2 ) sin( 2 ) เท่ากับเท่าใด

41. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตของจานวนจริ ง โดยที่ 𝑓(2𝑥 − 1) = 4𝑥 2 − 10𝑥 + 𝑎
4
เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง และ 𝑓(0) = 12 ค่าของ  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 เท่ากับเท่าใด
1
PAT 1 (พ.ย. 57) 17

42. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริ ง ให้ 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ และ 𝑔 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั
โดยที่ 𝑔(𝑥) = 2𝑓(𝑥) + 5 สาหรับทุกจานวนจริ ง 𝑥
ถ้ า 𝑎 เป็ นจานวนจริ งที่ (𝑓 ∘ 𝑔−1 )(1 + 𝑎) = (𝑔 ∘ 𝑓 −1)(1 + 𝑎) แล้ วค่าของ 𝑎2 เท่ากับเท่าใด

43. ให้ 𝐴 แทนเซตคาตอบของสมการ (4𝑥 + 2𝑥 − 6)3 = (2𝑥 − 4)3 + (4𝑥 − 2)3 ผลบวกของสมาชิกทังหมดใน

เซต 𝐴 เท่ากับเท่าใด
18 PAT 1 (พ.ย. 57)

44. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : ℝ → ℝ , 𝑔 : ℝ → ℝ และ 𝑠 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่


𝑓(𝑥) = 𝑥 + 1 สาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ 𝑔(𝑓(𝑥)) = 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 สาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ
2 2
(𝑔(𝑥+ℎ)) −(𝑔(𝑥))
และ 𝑠(𝑥) = lim
h 0 ℎ
สาหรับทุก 𝑥 ∈ ℝ ค่าของ (𝑠𝑔)(1) เท่ากับเท่าใด

45. ให้ กาหนดให้ 𝑎(𝑛, 𝑚) ∈ 𝐴 สาหรับทุก 𝑛, 𝑚 ∈ 𝐴 โดยที่


𝐴 = {0, 1, 2, …}
(ก) 𝑎(𝑛, 0) = 𝑛 + 1 สาหรับทุก 𝑛 ∈ 𝐴
(ข) 𝑎(0, 𝑚) = 𝑎(1, 𝑚 − 1) สาหรับทุก 𝑚 ∈ 𝐴 − {0}
(ค) 𝑎(𝑛 + 1, 𝑚 + 1) = 𝑎(𝑎(𝑛, 𝑚 + 1), 𝑚) สาหรับทุก 𝑛, 𝑚 ∈ 𝐴
ถ้ า 𝑥 ∈ 𝐴 และ 𝑎(𝑥, 2) = 2557 แล้ วค่าของ 𝑥 เท่ากับเท่าใด
PAT 1 (พ.ย. 57) 19

เฉลย
1. 3 11. 1 21. 3 31. 7 41. 34.5
2. 3 12. 4 22. 4 32. 169 42. 36
3. 2 13. 2 23. 4 33. 3 43. 3.5
4. 3 14. 4 24. 3 34. 66 44. 4
5. 2 15. 4 25. 4 35. 201 45. 1277
6. 2 16. 3 26. 4 36. 3
7. 1 17. 1 27. 3 37. 270
8. 4 18. 1 28. 1 38. 14
9. 2 19. 4 29. 2 39. 11
10. 3 20. 2 30. 1 40. 55

แนวคิด
1. 3
จะไล่แทนแต่ละข้ อดูก็ได้ หรื ออีกวิธีคือ สังเกตว่า 4 แถวล่างของตารางที่ 𝑝 เป็ น F จะได้ ช่องผลลัพธ์เป็ น T
ดังนัน้ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) น่าจะอยูใ่ นรูป ~𝑝 ∨ ____ (เพราะ ~F ∨ ___ ≡ T ∨ ___ จะเป็ น T เสมอ)
และ 4 แถวบน จะได้ ผลลัพธ์เหมือน 𝑞 ดังนัน้ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) ≡ ~𝑝 ∨ 𝑞
ทาแต่ละข้ อให้ อยูใ่ นรูปอย่างง่าย จะได้ ตรงกับข้ อ 3
1. ≡ ~𝑞 ∨ 𝑝 ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) กระจาย ~𝑞 ∨
≡ 𝑝 ∨ [(~𝑞 ∨ 𝑞) ∧ (~𝑞 ∨ 𝑟)] เข้ าไปในวงเล็บ
≡𝑝∨[ T ∧ (~𝑞 ∨ 𝑟)]
≡𝑝∨ (~𝑞 ∨ 𝑟)

2. ≡ ~(~𝑞 ∨ 𝑝) ∨ (~𝑝 ∨ ~𝑟)


≡ (𝑞 ∧ ~𝑝) ∨ ~𝑝 ∨ ~𝑟 เปลี่ยน ~𝑝 เป็ น T ∧ ~𝑝
≡ (𝑞 ∧ ~𝑝) ∨ (T ∧ ~𝑝) ∨ ~𝑟 เพื่อดึงตัวร่วม กาจัด 𝑞 หรือจะใช้ สตู ร 𝑝 ∧ (𝑝 ∨ 𝑞) ≡ 𝑝
≡ [ (𝑞 ∨ T) ∧ ~𝑝] ∨ ~𝑟 𝑝 ∨ (𝑝 ∧ 𝑞) ≡ 𝑝
≡[ T ∧ ~𝑝] ∨ ~𝑟
≡ ~𝑝 ∨ ~𝑟 ใช้ สตู รล่าง จะทาจากบรรทัด 2 ไปบรรทัดสุดท้ ายเลยได้

3. ≡ ~(𝑝 ∧ ~𝑞) ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) 4. ≡ ~(𝑝 ∧ ~𝑞) ∨ (𝑝 → ~𝑟)


≡ ~𝑝 ∨ 𝑞 ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) คราวนี ้ขอใช้ สตู รในกรอบสี่เหลี่ยม (สูตรล่าง) ≡ ~𝑝 ∨ 𝑞 ∨ (~𝑝 ∨ ~𝑟)
≡ ~𝑝 ∨ 𝑞 (หรือจะเปลี่ยน 𝑞 เป็ น 𝑞 ∧ T ≡ ~𝑝 ∨ 𝑞 ∨ ~𝑟
แล้ วดึงตัวร่วม 𝑞 ∧ แบบข้ อ 2 ก็ได้ )

2. 3
ก. ∃𝑥∀𝑦 เป็ นจริงเมื่อ มี 𝑥 หนึง่ ค่า ที่คกู่ บั 𝑦 ได้ ทกุ ตัว
สังเกตว่า ถ้ า 𝑦 = 𝑥 ประโยคนี ้จะกลายเป็ น 0 < 0 ซึง่ ไม่จริ ง ดังนัน้ 𝑥 จะคูก่ บั 𝑦 ไม่ได้ ทกุ ตัว
(เช่น 𝑥 = 0.2 จะคูก่ บั 𝑦 = 0.2 ไม่ได้ , 𝑥 = 0.7 จะคูก่ บั 𝑦 = 0.7 ไม่ได้ ) → ก. ผิด

ข. จะเห็นว่า อสมการเป็ นบวกทังสองฝั


้ ่ง (เพราะเอกภาพสัมพัทธ์คอื (0, 1) บังคับใช้ กบั ทัง้ 𝑥 และ 𝑦 ซึง่ จะทาให้ 1 − 𝑥𝑦
เป็ นบวก) ดังนัน้ จะสามารถยกกาลังสองทังสองข้
้ างเพื่อกาจัดเครื่องหมายค่าสัมบูรณ์ได้
|𝑥 − 𝑦|2 < (1 − 𝑥𝑦)2 ไม่ต้องกระจาย แต่ให้ ย้ายข้ าง
(𝑥 − 𝑦)2 < (1 − 𝑥𝑦)2
(𝑥 − 𝑦)2 − (1 − 𝑥𝑦)2 < 0 แล้ วเข้ าสูตร น2 − ล2 = (น + ล)(น − ล)
(𝑥 − 𝑦 + 1 − 𝑥𝑦)(𝑥 − 𝑦 − 1 + 𝑥𝑦) < 0
20 PAT 1 (พ.ย. 57)

(𝑥 + 1 − 𝑦 − 𝑥𝑦)(𝑥 − 1 − 𝑦 + 𝑥𝑦) < 0


(𝑥 + 1 − 𝑦(1 + 𝑥))(𝑥 − 1 + 𝑦(−1 + 𝑥)) < 0
(𝑥 + 1)(1 − 𝑦) (𝑥 − 1)(1 + 𝑦) < 0
เนื่องจาก 𝑥, 𝑦 ∈ (0, 1) → ( + )( + ) ( − )( + ) → เป็ น ลบ < 0 จริ ง → ข. ถูก

3. 2
ก. จากกฎของ sin จะได้ sin𝑎 𝐴 = sin𝑏 𝐵 = sin𝑐 𝐶 แทน 𝐴 = 3𝐵 และ 𝑎 = 2𝑏 ในคูแ่ รก จะได้ sin2𝑏3𝐵 = sin𝑏 𝐵
2𝑏 𝑏 2
จากสูตรมุม 3 เท่า จะได้ 3 sin 𝐵−4 sin3 𝐵
=
sin 𝐵
ตัด 𝑏 กับ sin 𝐵 ตลอดทังสองฝั
้ ่ง เหลือ 3−4 sin2𝐵 = 1

แก้ สมการ จะได้ 2 = 3 − 4 sin2 𝐵


1
= sin2 𝐵 แต่มมุ ใน ∆ อยูใ่ นช่วง 0° ถึง 180° → sin เป็ นบวก
4
1
± 2 = sin 𝐵 ได้ sin 𝐵 = 12 → 𝐵 = 30° , 150°
แต่ 𝐵 = 150° ไม่ได้ เพราะจะทาให้ 𝐴 = 3(150°) เกิน 180° → 𝐵 = 30° , 𝐴 = 3(30°) = 90° → ก. ถูก
𝐶
ข. วาดรูปได้ 𝑎 ดังนัน้ 𝑘 = 𝑎𝑐 = sec 30° = √23 ลองแทนในสมการในข้ อ ข.
𝑏
𝐴
30°
𝐵
จะได้ 3 (3√83) − 9 (43) − √23 + 3 = √83 − 12 − √23 + 3 ≠0 → ข. ผิด
𝑐

4. 3
ข้ อนี ้ต้ องระวังคาว่า “หารด้ วย” → 𝑎 หารด้ วย 𝑏 ลงตัว คือ 𝑎 เป็ นตัวตัง้ (แต่ 𝑎 หาร 𝑏 ลงตัว คือ 𝑏 เป็ นตัวตัง)้
𝑎R𝑏 ก็คือ 𝑏 | 𝑎 นัน ่ เอง ดังนัน้ ก. และ ข. เปลีย่ นเป็ นสัญลักษณ์ที่เราคุ้นเคยได้ เป็ น
ก. ถ้ า 𝑦 | 𝑥 และ 𝑧 | 𝑦 แล้ ว (𝑦 + 𝑧) | 𝑥
จะเห็นว่าผิด เช่น ถ้ า 𝑥= 𝑦 = 𝑧 = 1 จะได้ 1 | 1 และ 1 | 1 แต่ 2 ∤ 1 → ก. ผิด
ข. ถ้ า 𝑥 | 𝑤 และ 𝑧 | 𝑦 แล้ ว 𝑥𝑧 | 𝑤𝑦 ข้ อนี ้ ตรงตามสมบัติของการหารลงตัว → ข. ถูก
(หรื อพิสจู น์โดยให้ 𝑤 = 𝑚𝑥 , 𝑦 = 𝑛𝑧 คูณกันได้ 𝑤𝑦 = (𝑚𝑛)(𝑥𝑧) → 𝑥𝑧 | 𝑤𝑦 ก็ได้ )

5. 2
เปลีย่ น 4 เป็ น 22 แล้ วโยนเลขชี ้กาลังไปหน้ า log จะได้ 2 log 𝑎 2 + 2 log 𝑏 2 = 9 log 𝑎𝑏 2
คูณตลอดด้ วย log 2 𝑎𝑏 : (2 log 𝑎 2)(log 2 𝑎𝑏) + (2 log 𝑏 2)(log 2 𝑎𝑏) = (9 log 𝑎𝑏 2)(log 2 𝑎𝑏)
2 log 𝑎 𝑎𝑏 + 2log 𝑏 𝑎𝑏 = 9
2(log 𝑎 𝑎 + log 𝑎 𝑏) + 2(log 𝑏 𝑎 + log 𝑏 𝑏) = 9
2( 1 + log 𝑎 𝑏) + 2(log 𝑏 𝑎 + 1 ) = 9
2 log 𝑎 𝑏 + 2 log 𝑏 𝑎 – 5 = 0
log 𝑎 𝑏 กับ log 𝑏 𝑎 เป็ นส่วนกลับกัน ดังนัน้ ถ้ าให้ log 𝑎 𝑏 = 𝑘 จะได้ log 𝑏 𝑎 = 𝑘1
ดังนัน้ สมการจะกลายเป็ น 2
2𝑘 + 𝑘 − 5 =0
2
2𝑘 + 2 − 5𝑘 =0
2𝑘 2 − 5𝑘 + 2 =0
(2𝑘 − 1)(𝑘 − 2) = 0
1 1
𝑘 = 2 , 2 → log 𝑎 𝑏 = 2 , 2
𝑎2
โจทย์ถาม log 𝑎 (𝑎𝑏 5 ) + log 𝑏 ( ) = log 𝑎 𝑎 + log 𝑎 𝑏 5 + log 𝑏 𝑎2 − log 𝑏 √𝑏
√𝑏
1
= 1 + 5 log 𝑎 𝑏 + 2 log 𝑏 𝑎 −
2
PAT 1 (พ.ย. 57) 21

แทนค่าหาตัวมาก → ถ้ า log 𝑎 𝑏 = 12 จะได้ log 𝑏 𝑎 = 2 → แทนได้ 1


1 + 5(2) + 2(2) − 2
1

→ ถ้ า log 𝑎 𝑏 = 2 จะได้ log 𝑏 𝑎 = 12 → แทนได้ 1


1 + 5(2) + 2(2) − 2 →
1
มากกว่า
1 1
จะได้ คา่ มากสุด = 1 + 5(2) + 2(2) − 2 = 1 + 10 + 1 – 0.5 = 11.5

6. 2
(−2 sin 25° sin 85°) sin 35°
= คูณ −2 บนล่างให้ เข้ าสูตร
−2 sin 75°
[cos 110°−cos(−60°)] sin 35°
= −2 sin 75° sin(𝐴 + 𝐵) + sin(𝐴 − 𝐵) = 2 sin 𝐴 cos 𝐵
1
[cos 110°−
2
] sin 35° sin(𝐴 + 𝐵) − sin(𝐴 − 𝐵) = 2 cos 𝐴 sin 𝐵
= −2 sin 75° cos(𝐴 + 𝐵) + cos(𝐴 − 𝐵) = 2 cos 𝐴 cos 𝐵
1 cos(𝐴 + 𝐵) − cos(𝐴 − 𝐵) = −2 sin 𝐴 sin 𝐵
cos 110° sin 35° − sin 35°
2
= −2 sin 75°
2 cos 110° sin 35° − sin 35°
คูณ 2 บนล่างให้ เข้ าสูตร
= −4 sin 75°
sin 145°−sin 75° − sin 35°
= −4 sin 75°
− sin 75° sin 145° = sin 35°
= −4 sin 75°
1
เพราะมุมรวมกันได้ 180°
=
4
1
1. tan 15° เป็ นค่าติดรูทไม่ลงตัว≠4 แน่นอน
(2 cos 20° cos 40°) cos 80°
2. =
−2 sin 15° sin 75°
−2
3. =
2
cos 90°−cos(−60°) [cos 60°+cos(−20°)] cos 80°
= = 2
−2
1 1
0− 1 [ + cos 20°] cos 80° cos(−𝜃) = cos 𝜃
= −22 = 4 → ถูก = 2
2
1
cos 80° + cos 20° cos 80°
=2 cos 80° กับ cos 100° เป็ นลบซึง่
2
cos 80° + 2 cos 20° cos 80°
= กันและกัน จะตัดกันได้
4
1
cos 80° + cos 100°+cos(−60°) cos(−60°) 2 1
= = = =
4 4 4 8
4. = sec 60° = 2

7. 1
เส้ นตรง 𝑦 = 1 เป็ นเส้ นแนวนอน มีความชัน = 0 → ความชัน 𝑦 = 𝑓(𝑥) ที่ 𝑥 = 1 ต้ องเป็ น 0 ด้ วย → 𝑓 ′(1) = 0
จาก 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 = 𝑎𝑥 + 𝑏𝑥 −1 → ดิฟได้ 𝑓 ′(𝑥) = 𝑎 − 𝑏𝑥 −2 ดังนัน้ 𝑎 − 𝑏(1−2 ) = 0
𝑎−𝑏 = 0 …(1)
𝑦 = 𝑓(𝑥) ผ่านจุด (1, 1) แสดงว่า แทน (1, 1) แล้ วสมการต้ องเป็ นจริ ง
จะได้ 1 = 𝑎(1) + 𝑏1 แก้ (1) กับ (2) บวกสองสมการ 𝑏 จะตัดกันได้ เหลือ 2𝑎 = 1
1
1=𝑎 + 𝑏 …(2) 𝑎 = 2
แทนใน (1) จะได้ 𝑏 = 12 ด้ วย
1 1
ก. หาค่าสูงสุดสัมพัทธ์ ต้ องแก้ 𝑓 ′(𝑥) = 0 → 𝑓 ′ (𝑥) = 𝑎 − 𝑏𝑥 −2 = 2
− 2 𝑥 −2 = 0
𝑥 −2 = 1
𝑥 = ±1
หาว่าสูงหรื อต่า ต้ องดูวา่ 𝑓 ′′ (𝑥) < 0 มัย้ → 𝑓 ′′ (𝑥) = 0 + 2𝑏𝑥 −3 = 2 (12) 𝑥 −3 = 𝑥 −3
จะเห็นว่า 𝑓 ′′ (1) = 1−3 = 1 → > 0 → ต่าสุดสัมพัทธ์
𝑓 ′′ (−1) = (−1)−3 = −1 → < 0 → สูงสุดสัมพัทธ์ → ก. ถูก
22 PAT 1 (พ.ย. 57)

0
ข. หา lim
x 1
→ เทคนิคคือ จะลองแทน 𝑥 = 1 ลงไปดูก่อน ถ้ าหาค่าได้ ( ≠ 0 ) ก็ไม่ต้องจัดรู ป
1 1 1 1
(𝑓 ∘ 𝑓)(1) = 𝑓(𝑓(1)) = 𝑓 ( (1) + (1−1 )) = 𝑓(1) =
2 2 2
(1) + (1−1 )
2
= 1 ไม่อยูใ่ นรูป 00
ดังนัน้ lim
x 1
(𝑓 ∘ 𝑓)(𝑥) =1 ได้ เลย
1 2 1 2 1 1
และ 𝑓(2𝑎2 + 2𝑏 2 ) = 𝑓 (2 ( ) + 2 ( ) ) = 𝑓 ( + ) = 𝑓(1)
2 2 2 2
เท่ากัน → ข. ถูก

8. 4
15∙14∙13∙12
จานวนแบบทังหมด
้ : เลือก 4 ตัวจาก 𝑆 ได้ (15
4
) = 4∙3∙2 = 15 ∙ 7 ∙ 13
จานวนแบบที่โจทย์ต้องการ : จะได้ 4 ตัวใน 𝐴 ต้ องอยูใ่ นรูป 𝑎1 , 𝑎1 + 𝑑 , 𝑎1 + 2𝑑 , 𝑎1 + 3𝑑 โดยมีเงื่อนไขคือ
𝑎1 และ 𝑑 ต้ องเป็ นจานวนเต็มบวก และตัวสุดท้ าย 𝑎1 + 3𝑑 ต้ องไม่เกิน 15 นัน ่ คือ 𝑎1 + 3𝑑 ≤ 15
กรณี 𝑑 = 1 : จะได้ 𝑎1 + 3(1) ≤ 15 → 𝑎1 ≤ 12 → 𝑎1 = 1, 2, … , 12 ทังหมด ้ 12 แบบ
กรณี 𝑑 = 2 : จะได้ 𝑎1 + 3(2) ≤ 15 → 𝑎1 ≤ 9 → 𝑎1 = 1, 2, … , 9 ทังหมด ้ 9 แบบ
กรณี 𝑑 = 3 : จะได้ 𝑎1 + 3(3) ≤ 15 → 𝑎1 ≤ 6 → 𝑎1 = 1, 2, … , 6 ทังหมด ้ 6 แบบ
กรณี 𝑑 = 4 : จะได้ 𝑎1 + 3(4) ≤ 15 → 𝑎1 ≤ 3 → 𝑎1 = 1, 2, 3 ทังหมด ้ 3 แบบ
กรณี 𝑑 = 5 : จะได้ 𝑎1 + 3(5) ≤ 15 → 𝑎1 ≤ 0 เป็ นไปไม่ได้ เพราะ 𝑎1 ต้ องเป็ นจานวนเต็มบวก
จะเห็นว่า ถ้ า 𝑑 > 5 จะหา 𝑎1 ที่สอดคล้ องกับเงื่อนไขไม่ได้ แล้ ว
30 2 2
รวมทุกกรณี จะได้ จานวนแบบ = 12 + 9 + 6 + 3 = 30 → ความน่าจะเป็ น = 15∙7∙13 =
7∙13
=
91

9. 2
ให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦i จะได้ |𝑧| = √𝑥 2 + 𝑦 2 และ 𝑧̅ = 𝑥 − 𝑦i แทนในสมการ แล้ วจับกลุม่ จานวนจริ ง กับจานวนจินต
ภาพ จะได้ √𝑥 2 + 𝑦 2 + 2(𝑥 − 𝑦i) − 3(𝑥 + 𝑦i) = 3 − 45i
√𝑥 2 + 𝑦 2 + 2𝑥 − 2𝑦i − 3𝑥 − 3𝑦i = 3 − 45i
(√𝑥 2 + 𝑦 2 − 𝑥) − 5𝑦i = 3 − 45i

เทียบส่วนจริง = ส่วนจริ ง และ ส่วนจินตภาพ = ส่วนจินตภาพ จะได้ √𝑥 2 + 𝑦 2 − 𝑥 = 3 และ 5𝑦 = 45


𝑦 = 9
แทน 𝑦 = 9 จะได้ √𝑥 2 + 92 − 𝑥 = 3
√𝑥 2 + 92 = 𝑥+3
𝑥 2 + 81 = 𝑥 2 + 6𝑥 + 9 อย่าลืมตรวจคาตอบด้ วย ‼
72 = 6𝑥 เพราะมีการยกกาลังสองทังสองข้
้ าง
12 = 𝑥
2
จะได้ |𝑧̅|2 = |12 − 9i|2 = √122 + 92 = 144 + 81 = 225

10. 3
จัดรูปไฮเพอร์ โบลา : 𝑦 2 − 2(𝑥 2 − 4𝑥) = 6
𝑦 2 − 2(𝑥 2 − 4𝑥 + 4) = 6 − 2(4)
𝑦 2 − 2(𝑥 − 2)2 = −2
𝑦2 2(𝑥−2)2
− = 1
−2
(𝑥−2)2
−2
𝑦2 หาสมการเส้ นกากับ ให้ เปลีย่ น 1 ทางขวาเป็ น 0
− = 1 (𝑥−2)2 𝑦2
1 2
จะได้ สมการเส้ นกากับคือ 1
− 2
= 0
PAT 1 (พ.ย. 57) 23

หาจุดตัดเส้ นตรง กับ ไฮเพอร์ โบลา หาจุดตัดเส้ นตรง กับ เส้ นกากับ
แทน 𝑦 = √2 ในสมการไฮเพอร์ โบลา แทน 𝑦 = √2 ในสมการเส้ นกากับ
2 2
(𝑥−2)2 √2 (𝑥−2)2 √2
− = 1 1
− 2 = 0
1 2
(𝑥 − 2)2 − 1 = 1 (𝑥 − 2)2 − 1 = 0
(𝑥 − 2)2 = 2 (𝑥 − 2)2 = 1
𝑥−2 = √2 , −√2 𝑥−2 = 1 , −1
𝑥 = 2 + √2 , 2 − √2 𝑥 = 3, 1

วาดทัง้ 4 จุด จะได้ วงรี แนวนอนดังรูป และจะได้ จดุ ศูนย์กลาง (2, √2) และ 𝑎 = 𝑂𝑄 = √2 , 𝑐 = 𝑂𝐵 = 1
𝑥=1 𝑥=3 และจะได้ 𝑏 = √𝑎2 − 𝑐 2 = √2 − 1 = 1
2
(𝑥−2)2 (𝑦−√2)
𝑃 𝑂 𝑄 ดังนัน้ สมการวงรีคือ 2 + 12
= 1
𝑦 = √2 √2
𝐴 𝐵 1(𝑥 2 − 4𝑥 + 4) + 2(𝑦 2 − 2√2𝑦 + 2) = 2
𝑥 2 + 2𝑦 2 − 4𝑥 − 4√2𝑦 + 6 = 0
𝑥 = 2−√2 𝑥=2 𝑥 = 2+√2

11. 1
ให้ วงกลมมี ศก อยูท่ ี่ (𝑎, 𝑏) เนื่องจาก ศก อยูใ่ นควอดรันต์ 1 ดังนัน้ 𝑎 > 0 และ 𝑏 > 0 (𝑎,𝑏)
เนื่องจากวงกลมสัมผัสแกน 𝑦 ดังนัน้ วงกลมจะมีรัศมี 𝑟 ยาวเท่ากับ 𝑎 ดังรูป 𝑎

ดังนัน้ สมการวงกลม จะอยูใ่ นรูป (𝑥 − 𝑎)2 + (𝑦 − 𝑏)2 = 𝑎2


𝑥 2 − 2𝑎𝑥 + 𝑎2 + 𝑦 2 − 2𝑏𝑦 + 𝑏 2 = 𝑎2
𝑥 2 + 𝑦 2 − 2𝑎𝑥 − 2𝑏𝑦 + 𝑏 2 = 0
เทียบกับ 𝑥 2 + 𝑦 2 + 𝐷𝑥 + 𝐸𝑦 + 𝐹 = 0 จะได้ 𝐷 = −2𝑎 , 𝐸 = −2𝑏 และ 𝐹 = 𝑏2 …(1)
เนื่องจาก 𝑎 เป็ นบวก จะได้ 𝐷 เป็ นลบ ดังนัน้ พาราโบลา 𝐷𝑥 = 𝑦 2 + 𝐸𝑦 + 𝐹 เป็ นพาราโบลาแบบเปิ ดซ้ าย (เพราะ
กาลังสองอยูท่ ี่ 𝑦 และ 𝐷 เป็ นลบ) จะได้ รูปสมการคือ (𝑦 − 𝑘)2 = −4𝑐(𝑥 − ℎ)
โจทย์ให้ ระยะโฟกัส 𝑐 = 1 แทนแล้ วจัดในรูป 𝐷𝑥 = 𝑦 2 + 𝐸𝑦 + 𝐹 จะได้ 𝑦 2 − 2𝑘𝑦 + 𝑘 2 = −4𝑥 + 4ℎ
𝑦 2 − 2𝑘𝑦 + 𝑘 2 − 4ℎ = −4𝑥
−4𝑥 = 𝑦 2 − 2𝑘𝑦 + 𝑘 2 − 4ℎ
เทียบกับ 𝐷𝑥 = 𝑦 2 + 𝐸𝑦 + 𝐹 จะได้ 𝐷 = −4 , 𝐸 = −2𝑘 และ 𝐹 = 𝑘 2 − 4ℎ …(2)
พาราโบลาผ่าน (−4, −1) ดังนันต้
้ องแทนในสมการพาราโบลาแล้ วเป็ นจริ ง → 𝐷(−4) = (−1)2 + 𝐸(−1) + 𝐹
แทน 𝐷 = −4 จาก (2) แทน 𝐸 = −2𝑏 , 𝐹 = 𝑏2 จาก (1) จะได้ (−4)(−4) = (−1)2 + (−2𝑏)(−1) + 𝑏2
16 = 1 + 2𝑏 + 𝑏 2
0 = 𝑏 2 + 2𝑏 − 15
0 = (𝑏 + 5)(𝑏 − 3)
แต่ 𝑏 เป็ นบวก ดังนัน้ 𝑏 = 3 แทนใน (1) จะได้ 𝐸 = −6 , 𝐹 = 9
ก. 𝐷2 + 𝐸2 + 𝐹 2 = (−4)2 + (−6)2 + 92 = 16 + 36 + 81 = 133 → ถูก
ข. วงกลม จะสัมผัสเส้ นตรง เมื่อ ระยะจาก ศก ไปเส้ นตรง = รัศมี
จาก (1) : 𝐷 = −2𝑎 จะได้ −4 = −2𝑎 → 𝑎 = 2 ดังนัน้ ศก (𝑎, 𝑏) = (2, 3) และรัศมี = 𝑎 = 2
จากสูตรระยะห่างจากจุด (𝑎, 𝑏) ไปเส้ นตรง 𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝐶 = 0 เท่ากับ |𝐴𝑎+𝐵𝑏+𝐶|
√𝐴2 +𝐵2
|4(2)+3(3)−7|
จะได้ ระยะห่างจาก (2, 3) ไปเส้ นตรง 4𝑥 + 3𝑦 − 7 = 0 เท่ากับ √42+32 = 10 5
= 2 = รัศมี → ถูก
24 PAT 1 (พ.ย. 57)

12. 4
𝐶 𝑤 ⃗⃗⃗⃗⃗ = 𝐶𝐵
̅ = 𝐶𝐴 ⃗⃗⃗⃗⃗ + 𝐵𝐴
⃗⃗⃗⃗⃗ = −𝑣̅ − 𝑢̅
ดังนัน้ ̅ = (2𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ (−𝑣̅ − 𝑢̅)
(2𝑢̅ − 𝑣̅ ) ∙ 𝑤 การ dot กระจายในการบวกลบเวกเตอร์ ได้
𝑤
̅ 𝑣̅
= −2𝑢̅ ∙ 𝑣̅ − 2𝑢̅ ∙ 𝑢̅ + 𝑣̅ ∙ 𝑣̅ + 𝑣̅ ∙ 𝑢̅ 𝑣̅ ∙ 𝑢̅ = 𝑢̅ ∙ 𝑣̅
60° = −𝑢̅ ∙ 𝑣̅ − 2|𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2 𝑢̅ ∙ 𝑢̅ = |𝑢̅|2
𝐴 𝑢̅ 𝐵
= −|𝑢̅||𝑣̅ | cos 120° − 2|𝑢̅|2 + |𝑣̅ |2
𝐶 1
𝑢̅ ∙ 𝑣̅ = |𝑢̅||𝑣̅ | cos 𝜃 = −(5)(12) (− 2) − 2(52 ) + 122
เมื่อ 𝜃 เป็ นมุมที่ 𝑢̅ ทากับ 𝑣̅ = 30 − 50 + 144
𝑣̅
= 124
แบบหัวต่อหัว (หรือหางต่อหาง)
60° 120°
𝑢̅ 𝐵 𝑢̅

13. 2
หา 𝐴 : 2𝑥 2 + 𝑥 − 3 ≤ 0 |𝑥 − 2| ≤ 3
(2𝑥 + 3)(𝑥 − 1) ≤ 0 และ −3 ≤ 𝑥 − 2 ≤ 3
3 −1 ≤ 𝑥 ≤ 5
+ − + 𝑥 ∈ [− 2 , 1] ∩
𝑥 ∈ [−1, 5]
3
− 1
2
จะได้ สว่ นที่ซ้อนทับกัน คือ [− 32 , 1] ∩ [−1, 5] = [−1, 1] ดังนัน้ ถ้ า เอกภพสัมพัทธ์ 𝐴 อยูภ่ ายในช่วง [−1, 1] ก็จะ
ทาให้ ประพจน์อนั แรกจริ งได้ → สังเกตว่า 𝐴 ไม่จาเป็ นต้ องเท่ากับ [−1, 1] แค่ 𝐴 ⊂ [−1, 1] ก็พอ
แต่ ถ้ าคิดให้ 𝐴 ⊂ [−1, 1] ข้ อนี ้จะไม่มีคาตอบ ดังนัน้ คนออกข้ อสอบน่าจะตังใจให้
้ 𝐴 = [−1, 1] ซึง่ ในกรณีนี ้ ควรแก้
ข้ อความในโจทย์เป็ น “ให้ 𝐴 เป็ นเอกภพสัมพัทธ์ ที่ใหญ่ที่สดุ ที่ทาให้ ประพจน์ ∀𝑥 [2𝑥 2 + 𝑥 … เป็ นจริ ง”
หา 𝐵 : 6𝑥 −2 − 5𝑥 −1 − 1 > 0 ไม่ควรคูณ 𝑥 2 ตลอด เพราะจะพลาดกรณีที่ 𝑥 = 0
6 5
− −1 >0
𝑥2 𝑥
6−5𝑥−𝑥 2
𝑥2
>0
−𝑥 2 −5𝑥+6
>0
𝑥2 คูณ – ตลอด ต้ องเปลี่ยน > เป็ น <
𝑥 2 +5𝑥−6
𝑥2
<0
(𝑥+6)(𝑥−1)
<0 วงเล็บกาลังคู่ ใช้ เครื่องหมายเดิม
𝑥2
+ − − +
จะได้ 𝐵 = (−6, 0) ∪ (0, 1)
−6 0 1

ก. 𝐴⊂𝐵 ผิด เพราะ 𝐴 มี 0 แต่ 𝐵 ไม่มี → ผิด


𝐴
𝐵 ข. 𝐴 − 𝐵 = {0, 1} มี 2 ตัว → ถูก
ค. (𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴) = {0, 1} ∪ (−6, −1) → ผิด
−6 −1 0 1
ง. (−6, 0) ⊂ (𝐵 − 𝐴) = (−6, −1) → ผิด

14. 4
1 1
log 2 (𝑥 − 2𝑦)2 + −1 log 2 𝑥 + −1 log 2 𝑦 = 0 (𝑥 − 2𝑦)2 = 𝑥𝑦
log 2 (𝑥 − 2𝑦)2 − log 2 𝑥 − log 2 𝑦 = 0 𝑥 2 − 4𝑥𝑦 + 4𝑦 2 = 𝑥𝑦
(𝑥−2𝑦)2 𝑥 2 − 5𝑥𝑦 + 4𝑦 2 = 0
log 2 = 0
𝑥𝑦 (𝑥 − 4𝑦)(𝑥 − 𝑦) = 0
(𝑥−2𝑦)2
= 1 𝑥 = 4𝑦 หรื อ 𝑥 = 𝑦
𝑥𝑦
PAT 1 (พ.ย. 57) 25

แต่หลัง log ต้ องเป็ นบวก และ โจทย์ให้ 𝑥, 𝑦 เป็ นบวก ดังนัน้ 𝑥=𝑦 ใช้ ไม่ได้ เพราะจะทาให้ 𝑥 − 2𝑦 หลัง log ตัวแรก
𝑥 𝑥 2
เป็ นลบ → เหลือ 𝑥 = 4𝑦 → จะได้ 𝑦
=4 ดังนัน้ (𝑦) + 1 = 42 + 1 = 17

15. 4
ทุกตัวเป็ นบวก → ย้ ายข้ างแบบคูณหารได้ โดยไม่ต้องกลับเครื่ องหมายมากกว่าน้ อยกว่า
ก. 𝑎𝑏 < 𝑑𝑐 คูณไขว้ จะได้ 𝑎𝑑 < 𝑏𝑐 ประโยคหลัง 𝑎+𝑥 𝑏
𝑐+𝑥
< 𝑑 คูณไขว้ จะได้ 𝑎𝑑 + 𝑥𝑑 < 𝑏𝑐 + 𝑏𝑥
ดังนัน้ ประโยคในข้ อ ก. คือ ถ้ า 𝑎𝑑 < 𝑏𝑐 แล้ ว 𝑎𝑑 + 𝑥𝑑 < 𝑏𝑐 + 𝑏𝑥 ดังรูป 𝑎𝑑 < 𝑏𝑐
จะเห็นว่า ถ้ า 𝑥𝑑 มากกว่า 𝑏𝑥 มากๆ ประโยคหลังจะผิดได้ 𝑎𝑑 + 𝑥𝑑 < 𝑏𝑐 + 𝑏𝑥
นัน่ คือ ถ้ าให้ 𝑑 มากกว่า 𝑏 มากๆ ประโยคนี ้จะผิด
เช่น 𝑎 = 1 , 𝑏 = 2 , 𝑐 = 11 , 𝑑 = 20 จะได้ 12 < 11 20
แต่ 1+1 2
<
11+1
20
ผิด
ข. 𝑎
<
𝑎+𝑥
𝑏 𝑏+𝑥
𝑎𝑏 + 𝑎𝑥 < 𝑎𝑏 + 𝑏𝑥
𝑎𝑥 < 𝑏𝑥 ดังนัน้ ถ้ า 𝑎 > 𝑏 ประโยคนี ้จะผิด
𝑎 < 𝑏 2 2+1
เช่น ถ้ า 𝑎 = 2 , 𝑏 = 1 จะเห็นว่า 1
< 1+1 ผิด

16. 3
(𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = √𝑥 2 + 5
1 1 ดิฟด้ วยกฎลูกโซ่
ดิฟฟังก์ชนั คอมโพสิท (𝑓 ∘ 𝑔)′ (𝑥) = (𝑥 2 + 5)−2 (2𝑥)
2
𝑥
ด้ วยกฎลูกโซ่ 𝑓 ′ (𝑔(𝑥)) ∙ 𝑔′ (𝑥) = …(∗)
√𝑥 2 +5

เราจะหา 𝑔(𝑥) และ 𝑔′ (𝑥) มาแทนใน (∗)


จาก ∫ 𝑔(𝑥) 𝑑𝑥 = 𝑥 2 − 4𝑥 + 𝐶 ดิฟทังสองข้
้ าง ฝั่งซ้ าย ดิฟจะตัดกับอินทิเกรตได้
𝑔(𝑥) = 2𝑥 − 4
𝑔′ (𝑥) =2
แทน 𝑔(𝑥) และ 𝑔′ (𝑥) ที่ได้ ใน (∗) จะได้ 𝑓 ′(2𝑥 − 4) ∙ (2) = √𝑥𝑥2+5 …(∗∗)
จากสมบัติของอนุพนั ธ์ จะได้ ความชันของ 𝐿 = 𝑓 ′ (0) → จาก (∗∗) ต้ องเทียบให้ 2𝑥 − 4 = 0
𝑥 = 2
2 2 1
แทน 𝑥 = 2 ใน (∗∗) จะได้ 𝑓 ′ (0)
∙ (2) = 2 = → หารด้ วย 2 ตลอดได้ 𝑓 ′ (0) = 3
√2 +5 3
ดังนัน้ 𝐿 มีความชัน = 13 ดังนัน้ เส้ นตรงที่ตงฉากกั
ั้ บ 𝐿 ต้ องมีความชัน = −3 (ตังฉากกั
้ น ความชันคูณกันได้ −1)
จะเห็นว่า ข้ อ 3 คือ 𝑦 = −3𝑥 + 5 → ชัน = −3

17. 1
ให้ 𝐿1 ตัดแกน 𝑋 และแกน 𝑌 ที่จดุ 𝐴(𝑎, 0) และ 𝐵(0, 𝑏) จากโจทย์จะได้ 𝑎+𝑏 =3
𝑎 = 3 − 𝑏 …(1)
เนื่องจาก (−2, −4) , 𝐴(𝑎, 0) และ 𝐵(0, 𝑏) อยูบ่ นเส้ นตรง 𝐿1 เหมือนกัน ดังนัน้ จะใช้ จดุ ไหนมาหาความชันของ 𝐿1 ก็
ต้ องได้ ความชันเท่ากัน นัน่ คือ ความชันจาก (−2, −4) ไป 𝐴(𝑎, 0) จะเท่ากับ ความชันจาก (−2, −4) ไป 𝐵(0, 𝑏)
จากสูตรความชัน = ∆𝑦 ∆𝑥
0−(−4)
จะได้ 𝑎−(−2) 𝑏−(−4)
= 0−(−2)
26 PAT 1 (พ.ย. 57)

คูณไขว้ จะได้ (4)(2) = (𝑏 + 4)(𝑎 + 2) แทน 𝑎 = 3 − 𝑏 จาก (1)


8 = (𝑏 + 4)(3 − 𝑏 + 2)
8 = (𝑏 + 4)(5 − 𝑏) 𝑏 2 − 𝑏 − 12 = 0
8 = 5𝑏 − 𝑏 2 + 20 − 4𝑏 (𝑏 − 4)(𝑏 + 3) = 0
𝑏 = 4, −3

แต่ถ้า 𝑏 = −3 จะได้ ความชัน 𝐿1 = −3−(−4)


0−(−2)
1
= 2 ใช้ ไม่ได้ เพราะโจทย์ให้ ความชัน 𝐿1 เป็ นจานวนเต็ม
ถ้ า 𝑏 = 4 จะได้ ความชัน 𝐿1 = 4−(−4)
0−(−2)
8
= 2 = 4 ใช้ ได้ และจาก (1) จะได้ 𝑎 = 3 − 4 = −1
จะได้ 𝐴(−1, 0) และ 𝐵(0, 4) ซึง่ จะวาดได้ ดงั รูป
𝐵(0, 4)
จะได้ พื ้นที่ ∆𝐴𝐵𝐶 = 12 × 𝐴𝐵 × ℎ …(∗)
ℎ จะได้ 𝐴𝐵 = √(∆𝑥)2 + (∆𝑦)2 = √(−1 − 0)2 + (0 − 4)2 = √17
𝐴(–1, 0) 𝐶 |𝐶1 −𝐶2 |
และ ℎ = ระยะระหว่าง 𝐿1 กับ 𝐿2 = √𝐴 2 +𝐵2

𝐿1 𝐿2 (จริ งๆข้ อนี ้ ไม่ต้องบอก 𝐶𝐴 = 𝐶𝐵 มาก็ได้ )


𝐿1 ชัน = 4 และตัดแกน 𝑌 ที่ (0, 4) ดังนัน้ สมการ 𝐿1 คือ 𝑦 = 4𝑥 + 4 → จัดรู ปได้ 𝐿1 : 4𝑥 − 𝑦 + 4 = 0
𝐿2 ขนาน 𝐿1 ดังนัน้ จะชัน = 4 ด้ วย และ 𝐿2 ตัดแกน 𝑌 ที่ (0, −13) ดังนัน้ สมการ 𝐿2 คือ 𝑦 = 4𝑥 − 13
→ จัดรู ปได้ 𝐿2 : 4𝑥 − 𝑦 − 13 = 0
|4−(−13)| 17 1 17 17
จะได้ ℎ = √4 2 +(−1)2
= 17 → แทนค่า 𝐴𝐵 กับ ℎ ใน (∗) จะได้ ∆𝐴𝐵𝐶 = 2 × √17 × 17 = 2 = 8.5
√ √

18. 1
หาจุดตัดแกน 𝑋 (แทน 𝑦 = 0) และจุดตัดแกน 𝑌 (แทน 𝑥 = 0) −𝑥 + 𝑦 = 4
ของสมการข้ อจากัด แล้ ววาดกราฟหาพื ้นที่ที่ซ้อนทับกัน จะได้ ดงั รูป 3𝑥 − 𝑦 = 15

( 𝑥 ≥ 0 , 𝑦 ≥ 0 คือ เอาเฉพาะบริเวณใน 𝑄1 )
𝑥=0 𝑦=0 2𝑥 + 5𝑦 = 27
2𝑥 + 3𝑦 = 6 (0, 2) (3, 0)
3𝑥 − 𝑦 = 15 (0, –15) (5, 0) 2𝑥 + 3𝑦 = 6
−𝑥 + 𝑦 = 4 (0, 4) (–4, 0)
2𝑥 + 5𝑦 = 27 (0, 5.4) (13.5, 0)

หาจุดที่ได้ คา่ มากสุด-น้ อยสุดโดยการ “เลือ่ นเส้ นจุดประสงค์”


𝑃1 = 5𝑥 + 2𝑦 𝑃2 𝑃1
𝑃2 = 4𝑥 + 3𝑦
𝑃2 𝑃1
เลื่อน 𝑃1 , 𝑃2 ได้ มากสุดที่จดุ A → ค่ามากสุด
A
5 4 เลื่อน 𝑃1 , 𝑃2 ได้ น้อยสุดที่จดุ B → ค่าน้ อยสุด
B
2 3

จะได้ จุด A ให้ คา่ 𝑃1 , 𝑃2 มากสุด และ จุด B ให้ คา่ 𝑃1 , 𝑃2 น้ อยสุด
ถัดมา จะเทียบว่า 𝑃1 = 5𝑥 + 2𝑦 กับ 𝑃2 = 4𝑥 + 3𝑦 อันไหนมากกว่ากัน
จะเห็นว่า 𝑃1 มี 𝑥 มากกว่า 𝑃2 อยู่ 5 − 4 = 1 ตัว แต่ 𝑃2 ก็มี 𝑦 มากกว่า 𝑃1 อยู่ 3 − 2 = 1 ตัวเช่นกัน
ดังนัน้ ถ้ า 𝑥 > 𝑦 จะได้ 𝑃1 > 𝑃2 แต่ถ้า 𝑥 < 𝑦 จะได้ 𝑃1 < 𝑃2
ค่ามากสุด : จุด A อยูใ่ กล้ แกน 𝑋 มากกว่าแกน 𝑌 ดังนัน้ จะมีพิกดั 𝑥 > 𝑦 → 𝑃1 > 𝑃2 → 𝑀1 > 𝑀2 → ก. ถูก
ค่าน้ อยสุด : จุด B อยูบ่ นแกน 𝑌 บวก จะมีพิกดั 𝑥 = 0 ดังนัน้ 𝑥 < 𝑦 → 𝑃1 < 𝑃2 → 𝑁1 < 𝑁2 → ข. ถูก
PAT 1 (พ.ย. 57) 27

19. 4
จาก 𝑔′ (𝑥) = 𝑓(𝑥) จะได้ 𝑔′ (𝑥) = 4𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 …(1) ดังนัน้
𝑔′ (0) = 4(03 ) + 𝑏(02 ) + 𝑐(0) + 𝑑 = 𝑑 แต่โจทย์ให้ 𝑔′ (0) = 0 ดังนัน้ 𝑑=0
𝑔′ (1) = 4(13 ) + 𝑏(12 ) + 𝑐(1) + 0 = 4 + 𝑏 + 𝑐 แต่โจทย์ให้ 𝑔′ (1) = 0 ดังนัน้ 4 + 𝑏 + 𝑐 = 0 …(∗)
จาก 𝑑=0 จะได้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥
2 2
𝑏 𝑐 8𝑏 8𝑏 16𝑏
ดังนัน้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 𝑥 4 + 3 𝑥 3 + 2 𝑥 2 | = (16 + 3
+ 2𝑐) − (16 − 3
+ 2𝑐) = 3
2 −2
2
64 16𝑏 64
แต่โจทย์ให้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = − 3
ดังนัน้ 3
=− 3
จะได้ 𝑏 = −4 แทนใน (∗) จะได้ 𝑐=0
2

แทน 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ใน (1) จะได้ 𝑔′ (𝑥) = 4𝑥 3 − 4𝑥 2 …(2) → ดิฟจะได้ 𝑔′′ (𝑥) = 12𝑥 2 − 8𝑥 …(3)
อินทิเกรต (2) จะได้ 𝑔(𝑥) = 𝑥 4 − 43 𝑥 3 + 𝑘 ดังนัน้ 𝑔(0) = 04 − 43 (03 ) + 𝑘 = 𝑘 แต่โจทย์ให้ 𝑔(0) = 0
ดังนัน้ 𝑘 = 0 จะได้ 𝑔(𝑥) = 𝑥 4 − 43 𝑥 3 …(4)
แทน (2), (3), (4) ในสมการ 𝑔′′ (𝑥) = 𝑔′ (𝑥) + 𝑔(𝑥) จะได้ 12𝑥 2 − 8𝑥 = 4𝑥 3 − 4𝑥 2 + 𝑥 4 − 43 𝑥 3
8
0 = 𝑥 4 + 𝑥 3 − 16𝑥 2 + 8𝑥
3
0 = 3𝑥 4 + 8𝑥 3 − 48𝑥 2 + 24𝑥

20. 2
แทนหาพจน์ตา่ งๆ 𝑎1 =
1
6
=
1
2∙3
1 1 1 1 1 1 1 1 1
𝑎2 = 𝑎1 − 2 = − 2 = ( − ) = ( ) =
3 2∙3 3 3 2 3 3 6 2∙32
1 1 1 1 1 1 1 1 1
𝑎3 = 𝑎2 − 33 = 2∙32
− 33 = (
32 2
− 3
) = ( )
32 6
= 2∙33
1 1 1 1 1 1 1 1 1
𝑎4 = 𝑎3 − 34 = 2∙33
− 34 = ( − 3)
33 2
= ( )
33 6
= 2∙34
1
จะเห็นว่า เราทาซ ้าแบบนี ้ไปได้ เรื่อยๆ และจากแบบรูปที่ได้ จะสรุปได้ วา่ 𝑎𝑛 = 2∙3𝑛
1
ก. nlim 𝑎𝑛 = lim 2∙3𝑛 = 0 → ก. ถูก
 n อนุกรมเรขาคณิตอนันต์
1 𝑎
ข. 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + … =
1 1
+ 2∙32 +
1
+… = 2∙3 𝑆∞ = 1 เมื่อ |𝑟| < 1
1 1−𝑟
2∙3 2∙33 1−
3
1 3 1
= ∙
2∙3 2
= 4
= 0.25 → ข. ผิด

21. 3
ก. ข้ อนี ้ จะแทนตัวเลขก็ได้ ไม่วา่ แทนอะไร ประโยคนี ้จะผิดหมด
เนื่องจาก 𝑎𝑏 = 24 จะได้ 𝑏 = 24 𝑎
และจาก 𝑐𝑑 = 8 จะได้ 𝑑 = 8𝑐 แทนใน 𝑑>𝑏 จะได้ เป็ น 8
𝑐
> 𝑎
24

𝑎 > 3𝑐
ตัวเศษ : เนื่องจาก 𝑎 > 3𝑐 > 𝑐 จะได้ √𝑎 > √𝑐 …(1)
ตัวส่วน : เนื่องจาก 𝑎, 𝑐 > 0 ดังนัน้ (𝑐 + 1)𝑏 , (𝑎 + 1)𝑑 มีฐาน > 1 → ยิ่งยกกาลังมาก ค่าจะยิง่ มาก
และเนื่องจาก 𝑐 < 𝑎 และ 𝑏 < 𝑑 ดังนัน้ (𝑐 + 1)𝑏 < (𝑎 + 1)𝑑 กลับเศษกลับส่วนต้ องกลับเครื่องหมาย
1 1
(𝑐+1)𝑏
> (𝑎+1)𝑑
…(2)
√𝑎 √𝑐
(1) × (2) จะได้ (𝑐+1)𝑏
> (𝑎+1)𝑑 → ก. ผิด
28 PAT 1 (พ.ย. 57)

ข. ทาแบบเดียวกับข้ อ ก. แต่ไปเน้ นที่ 𝑎 กับ 𝑐 แทน


เนื่องจาก 𝑎𝑏 = 24 จะได้ 𝑎 = 24 𝑏
และจาก 𝑐𝑑 = 8 จะได้ 𝑐=
8
𝑑
แทนใน 𝑎<𝑐 จะได้ เป็ น 24
𝑏
8
< 𝑑
3𝑑 < 𝑏
เนื่องจากฐาน 0.01 กับ 0.05 < 1 → ยิ่งยกกาลังมาก ค่าจะยิ่งน้ อย
ดังนัน้ (0.01)𝑏 < (0.01)3𝑑 = (0.013)𝑑 = (0.000001)𝑑 < (0.05)𝑑 → ข. ถูก

22. 4
จะใช้ วิธีนบั แบบตรงข้ าม คือ เอาจานวนแบบทังหมด ้ ลบด้ วยจานวนแบบที่โจทย์ไม่ต้องการ
นัน่ คือ #จานวนสามหลักลดที่มากกว่า 500 = #จานวนสามหลักลดทังหมด ้ – #จานวนสามหลักลดที่ไม่เกิน 500
จานวนสามหลักลดทังหมด ้ : เลือก 3 ตัว จาก 0, 1, … , 9 (= 10 แบบ) แล้ วเอาตัวมากเป็ นหลักร้ อย, ตัวกลางเป็ นหลัก
10∙9∙8
สิบ, ตัวน้ อยเป็ นหลักหน่วย จะได้ จานวนสามหลักลดทังหมด้ → เลือกได้ (10
3
) = 3∙2∙1 = 120 แบบ
จานวนสามหลักลดที่ไม่เกิน 500 : เนื่องจาก 500 ไม่ใช่จานวนสามหลักลด ดังนัน้ หลักร้ อยต้ องเป็ น 4 ลงไป
และจานวนสามหลักลด จะมีหลักสิบกับหลักหน่วยที่น้อยลงไปเรื่อยๆ ดังนัน้ ทังสามหลั
้ กจะเกิดจาก 0, 1, 2, 3, 4
เท่านัน้ → เลือก 3 ตัว จาก 0, 1, 2, 3, 4 (= 5 แบบ) แล้ วเอาตัวมากเป็ นหลักร้ อย, ตัวกลางเป็ นหลักสิบ, ตัวน้ อย
เป็ นหลักหน่วย จะได้ จานวนสามหลักลดทังหมดที้ ่ไม่เกิน 500 → เลือกได้ (53) = 5∙4∙3
3∙2∙1
= 10 แบบ
จะได้ จานวนแบบที่โจทย์ต้องการ = 120 – 10 = 110 แบบ

23. 4
𝑎 + ผลบวกจานวนตรงกลาง + 𝑏
ให้ จานวนน้ อยสุด = 𝑎 , จานวนมากสุด = 𝑏 จากโจทย์ จะได้ วา่ 𝑛
= 22
ผลบวกจานวนตรงกลาง + 𝑏
𝑛−1
= 24
หักออก 1 ตัว เหลือ 𝑛 − 1 ตัว 𝑎 + ผลบวกจานวนตรงกลาง
= 15
𝑛−1
ผลบวกจานวนตรงกลาง
หักออก 2 ตัว เหลือ 𝑛 − 2 ตัว 𝑛−2
= 16

ย้ ายตัวส่วนขึ ้นไปคูณทางขวา จะได้ 𝑎 + ผลบวกจานวนตรงกลาง + 𝑏 = 22𝑛 …(1)


ผลบวกจานวนตรงกลาง + 𝑏 = 24𝑛 − 24 …(2)
𝑎 + ผลบวกจานวนตรงกลาง = 15𝑛 − 15 …(3)
ผลบวกจานวนตรงกลาง = 16𝑛 − 32 …(4)
(1) − (2) : 𝑎 = 22𝑛 − (24𝑛 − 24) = −2𝑛 + 24 …(5)
(3) − (4) : 𝑎 = (15𝑛 − 15) − (16𝑛 − 32) = −𝑛 + 17 …(6)
จะเห็นว่า ฝั่งซ้ ายของ (5) กับ (6) เป็ น 𝑎 ทังคู
้ ่ ดังนัน้ ฝั่งขวาของ (5) กับ (6) ต้ องเท่ากัน −2𝑛 + 24 = −𝑛 + 17
7 = 𝑛
แทน 𝑛 = 7 ใน (6) จะได้ 𝑎 = −7 + 17 = 10
และเอา (2) − (4) จะได้ 𝑏 = (24𝑛 − 24) − (16𝑛 − 32) = 8𝑛 + 8 = 8(7) + 8 = 64
ก. พิสยั = มากสุด – น้ อยสุด = 𝑏 − 𝑎 = 64 – 10 = 54 → ก. ผิด
ข. 𝑛 = 7 → ข. ผิด
PAT 1 (พ.ย. 57) 29

24. 3
ก. จากสมบัติของความสัมพันธ์เชิงฟั งก์ชนั จะได้ วา่ 𝐿 ต้ องผ่านจุดกึ่งกลางของข้ อมูล คือ 𝐿 ต้ องผ่าน (𝑥̅ , 𝑦̅)
จะเห็นว่า 𝑥̅ = 1+2+3+4+5
5
15
= 5 = 3 ดังนัน้ 𝐿 ต้ องผ่าน (3, 𝑦̅)
แต่โจทย์ให้ 𝐿 ผ่าน (3, 𝑏) ดังนัน้ 𝑏 = 𝑦̅
9+11+𝑏+17+19
𝑏 =
5
5𝑏 = 𝑏 + 56
𝑏 = ก. ผิด 14 →
ข. การเปลีย่ นของ 𝑦 เทียบกับ 𝑥 จะขึ ้นกับค่า 𝑚 ที่ในสมการทานาย 𝑦̂ = 𝑐 + 𝑚𝑥
แทน 𝑏 = 14 ในตาราง
จากสูตร ∑ 𝑦 = 𝑐𝑛 + 𝑚 ∑ 𝑥
𝑥 1 2 3 4 5 ∑ 𝑥 = 15
∑ 𝑥𝑦 = 𝑐 ∑ 𝑥 + 𝑚 ∑ 𝑥 2
𝑦 9 11 14 17 19 ∑ 𝑦 = 70
𝑥2 1 4 9 16 25 ∑ 𝑥 2 = 55 จะได้ 70 = 5𝑐 + 15𝑚 …(1)
𝑥𝑦 9 22 42 68 95 ∑ 𝑥𝑦 = 236
236 = 15𝑐 + 55𝑚 …(2)
(2) – 3(1) : 26 = 10𝑚 → จะได้ 𝑚 = 2.6 ดังนัน้ สมการทานายคือ 𝑦̂ = 𝑐 + 2.6𝑥
เนื่องจาก 𝑥 ถูก 2.6 คูณอยู่ ดังนัน้ ถ้ า 𝑥 เพิ่ม 1 แล้ ว 𝑦 จะเพิ่ม 2.6
ถ้ า 𝑥 เพิ่ม 0.5 แล้ ว 𝑦 จะเพิ่ม 2.6
1
× 0.5 = 1.3 → ข. ถูก

25. 4
𝑠
ก. สปส การแปรผัน = 𝑥̅ → ต้ องเทียบ 𝑠 กับ 𝑥̅ ของข้ อมูลทังสองชุ ้ ด
จะเห็นว่า ข้ อมูลชุดที่ 2 ได้ จากการเอาข้ อมูลชุดแรก คูณ 2 แล้ วบวก 1
ดังนัน้ 𝑥̅ชุด 2 จะสัมพันธ์กบั 𝑥̅ชุด 1 ในลักษณะเดียวกัน คือ 𝑥̅ชุด 2 = 2𝑥̅ชุด 1 + 1 …(1)
แต่การบวก 1 จะไม่มีผลกับค่า 𝑠 (เพราะ ถ้ าทุกตัวบวก 1 เท่าๆกัน ข้ อมูลจะยังกระจายตัวเท่าเดิม) แต่การคูณ 2 จะทา
ให้ 𝑠 เพิ่ม 2 เท่า นัน่ คือ 𝑠ชุด 2 = 2𝑠ชุด 1 …(2)
จาก (2)
𝑠ชุด 2 2𝑠ชุด 1 2𝑠ชุด 1 𝑠ชุด 1
จะได้ สปส การแปรผันชุด 2 =
𝑥̅ชุด 2
=
2𝑥̅ชุด 1 +1

2𝑥̅ชุด 1
=
𝑥̅ชุด 1
= สปส การแปรผันชุด 1
จาก (1) ตัวหารน้ อยลง → ค่ามากขึ ้น โดยกรณีที่เศษเป็ น 0 ค่าจะยังเท่าเดิมได้
ดังนัน้ สปส การแปรผันชุด 2 ≤ สปส การแปรผันชุด 1 → ก. ผิด (เพราะ เท่ากันได้ ถ้ าข้ อมูลทุกตัวเท่ากัน จะได้ 𝑠 = 0)
(แต่ถ้าโจทย์ให้ 𝑥 บางคูไ่ ม่เท่ากัน จะได้ 𝑠 ≠ 0 แล้ ว ข้ อ ก. จะถูก)
ข. สปส พิสยั = 𝑚𝑎𝑥 − 𝑚𝑖𝑛
𝑚𝑎𝑥 + 𝑚𝑖𝑛
และจาก 𝑚𝑎𝑥ชุด 2 = 2𝑚𝑎𝑥ชุด 1 + 1 และ 𝑚𝑖𝑛ชุด 2 = 2𝑚𝑖𝑛ชุด 1 + 1
𝑚𝑎𝑥 − 𝑚𝑖𝑛 (2𝑚𝑎𝑥ชุด 1 +1) − (2𝑚𝑖𝑛ชุด 1 +1) 2𝑚𝑎𝑥ชุด 1 − 2𝑚𝑖𝑛ชุด 1
จะได้ สปส พิสยั ชุด 2 = 𝑚𝑎𝑥ชุด 2 + 𝑚𝑖𝑛ชุด 2 = (2𝑚𝑎𝑥ชุด 1 +1) + (2𝑚𝑖𝑛ชุด 1 +1)
= 2𝑚𝑎𝑥ชุด 1 + 2𝑚𝑖𝑛ชุด 1 + 2
ชุด 2 ชุด 2
2(𝑚𝑎𝑥ชุด 1 − 𝑚𝑖𝑛ชุด 1 ) 𝑚𝑎𝑥ชุด 1 − 𝑚𝑖𝑛ชุด 1 𝑚𝑎𝑥ชุด 1 − 𝑚𝑖𝑛ชุด 1
= 2(𝑚𝑎𝑥 = ≤ = สปส พิสยั ชุด 1
ชุด 1 + 𝑚𝑖𝑛ชุด 1 + 1) 𝑚𝑎𝑥ชุด 1 + 𝑚𝑖𝑛ชุด 1 + 1 𝑚𝑎𝑥ชุด 1 + 𝑚𝑖𝑛ชุด 1

ตัวหารน้ อยลง → ค่ามากขึ ้น โดยกรณีที่เศษเป็ น 0 ค่าจะยังเท่าเดิมได้


ดังนัน้ สปส พิสยั ชุด 2 ≤ สปส พิสยั ชุด 1 → ข้ อ ข. ผิด
30 PAT 1 (พ.ย. 57)

26. 4
ก. เนื่องจาก 𝐴, 𝐵 ไม่ใช่เมทริ กซ์จตุรัส ดังนัน้ จะใช้ กฎ det(𝐴𝐵) = (det 𝐴)(det 𝐵) ไม่ได้
ซึง่ จะทาให้ เราไม่ร้ ูวา่ det(𝐴𝐵) กับ det(𝐵𝐴) เท่ากันหรื อไม่
จะเห็นว่า 𝐴𝐵𝐶 = [11 6
14
] ยังไม่คอ่ ยเกี่ยวกับข้ อ ก. เพราะไม่วา่ 𝐴, 𝐵 จะเป็ นอะไร จะหา 𝐶 ได้ โดยการย้ ายข้ าง 𝐴𝐵
1 6
ได้ เป็ น 𝐶 = (𝐴𝐵)−1 [
1 14
] ได้ เสมอ ขอแค่ det(𝐴𝐵) ≠ 0 เพื่อให้ หา (𝐴𝐵)−1 ได้
1 0
ลองสุม่ 𝐴, 𝐵 มาแทนดู ให้ 𝐴 = [10 01 00] , 𝐵 = [0 1]
0 0
1 0 1 0 1 0 0
จะได้ 𝐴𝐵 = [10 01 00] [0 1] = [10 01] , 𝐵𝐴 = [0 1] [10 01 00] = [0 1 0]
0 0 0 0 0 0 0
จะได้ det(𝐴𝐵) = 1 ≠ 0 , det(𝐵𝐴) = 0 ดังนัน้ det(𝐴𝐵) − det(𝐵𝐴) = 1 → ก. ผิด
𝑏 −1
ข. จาก 𝐶 = [−1
1
2
2
] และจากสูตรอินเวอร์ ส 𝑎 1
] = 𝑎𝑑−𝑏𝑐 [
[
𝑑 −𝑏
]
𝑑 𝑐 −𝑐 𝑎
1 2 −2 1 2 −2 1 −2 2
จะได้ 𝐶 −1 = (−1)(2)−(1)(2) [
−1 −1
] = −4[
−1 −1
] = 4[
1 1
]

จาก 𝐴𝐵𝐶 = [11 14 6


] ย้ ายข้ าง 𝐶 จะได้ 𝐴𝐵 = [
1 6 −1
1 14
]𝐶
1 6 1 −2 2 1 4 8 1 2
= [ ]( [ ]) = [ ] = [ ]
1 14 4 1 1 4 12 16 3 4
ดังนัน้ 𝐶𝐴𝐵 = 𝐶(𝐴𝐵) = [−1 2 1 2
][
1 2 3 4
] = [
5 6
] → ข. ผิด
7 10

27. 3
4
มากกว่า 84.5 คะแนน = 4 คน → คิดเป็ นจานวนนักเรี ยนร้ อยละ 160 × 100 = 2.5%
พื ้นที่ที่ใช้ เปิ ดตาราง
→ คิดเป็ นพื ้นที่ใต้ โค้ ง 0.025 ซึง่ จะวาดได้ ดงั รู ป
แต่พื ้นที่ที่ใช้ เปิ ดตาราง จะเป็ นพื ้นที่ที่วดั จากแกนกลางไปทางขวา 0.025

ดังนัน้ พื ้นที่ที่ใช้ เปิ ดตาราง = พื ้นที่ฝั่งขวาทังหมด ้ – 0.025 𝑧


= 0.5 – 0.025 = 0.475 → เปิ ดตารางได้ 𝑧 = 1.96
ดังนัน้ ข้ อมูล 𝑥 = 84.5 จะมี 𝑧 = 1.96 แทนในสูตร 𝑧 = 𝑥 −𝑠 𝑥̅ จะได้ 1.96 = 84.5𝑠− 60 (โจทย์ให้ 𝑥̅ = 60)
24.5 2450
𝑠 = = = 12.5
1.96 196

และจะได้ ข้ อมูล 𝑥 = 55 จะมี 𝑧 = 5512.5 − 60 5


= − 12.5 = − 125 =
50
−0.4 → เป็ นลบ → พื ้นที่อยูท่ างซ้ าย
เอา 𝑧 = 0.4 ไปเปิ ดตาราง ได้ พื ้นที่ = 0.1554 จะวาดได้ ดงั รูป 0.1554
หาเปอร์ เซนไทล์ ต้ องดูวา่ มีข้อมูลได้ น้อยกว่า 𝑧 = −0.4 อยูก่ ี่เปอร์ เซ็นต์
จะได้ บริ เวณทางซ้ ายของ 𝑧 = −0.4 มีพื ้นที่ = 0.5 – 0.1554 𝑍
= 0.3446 = 34.46% −0.4
ดังนัน้ 𝑥 = 55 จะเท่ากับเปอร์ เซนไทล์ที่ 34.46

28. 1
มัธยฐาน = 15 จะได้ ข้อมูลเรี ยงจากน้ อยไปมาก คือ 𝑎 , 𝑏 , 15 , 𝑐 , 𝑑
ข้ อมูลมาเป็ นตัวๆ จะได้ ตาแหน่ง 𝑄𝑟 = 𝑟(𝑁+1)
4
PAT 1 (พ.ย. 57) 31

1(5+1) 𝑎+𝑏
ดังนัน้ 𝑄1 อยูต
่ วั ที่ 4
= 1.5 = ตรงกลางระหว่างตัวที่ 1 กับ 2 → 𝑄1 = 2
3(5+1) 𝑐+𝑑
𝑄3 อยูต
่ วั ที่ = 4.5 = ตรงกลางระหว่างตัวที่ 4 กับ 5 → 𝑄3 =
4 2
𝑎+𝑏 𝑐+𝑑
𝑄1 +𝑄3 + 𝑎+𝑏 𝑐+𝑑
จากค่าเฉลีย่ 𝑄1 กับ 𝑄3 = มัธยฐาน จะได้ 2
= 2
2
2
= 15 → 2
+ 2
= 30
→ 𝑎 + 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 60
𝑎+𝑏+15+𝑐+𝑑 (𝑎+𝑏+𝑐+𝑑)+15 60+15
จะได้ 𝑥̅ = 5
= 5
= 5
= 15
จาก ส่วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ = ∑|𝑥𝑁𝑖−𝑥̅ | = 2.8 จะได้ |𝑎−15|+|𝑏−15|+|15−15|+|𝑐−15|+|𝑑−15|
5
= 2.8
15−𝑎 + 15−𝑏 + 0 + 𝑐−15 + 𝑑−15
𝑎, 𝑏 < 15 → |𝑎 − 15| = 15 − 𝑎 = 2.8
5
|𝑏 − 15| = 15 − 𝑏
−𝑎 − 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 14
𝑐, 𝑑 > 15 → |𝑐 − 15| = 𝑐 − 15
(𝑐 + 𝑑) − (𝑎 + 𝑏) = 14
|𝑑 − 15| = 𝑑 − 15
𝑐+𝑑 𝑎+𝑏 (𝑐+𝑑)−(𝑎+𝑏) 14
𝑄3 −𝑄1 − 7
ดังนัน้ จะได้ ส่วนเบีย่ งเบนควอร์ ไทล์ = 2
= 2
2
2
= 2
2
= 2
2
= 2
= 3.5

29. 2
แปลงเป็ น sin ให้ หมด จะได้ ดังนัน้ sin2(2𝑥)
+
cos2(2𝑥)
5 7
sin4 𝑥 cos4 𝑥 1 (2 sin 𝑥 cos 𝑥)2 (1−2 sin2 𝑥)
2

5
+ 7
= 12 = +
5 7
2 2
sin4 𝑥 (1−sin2 𝑥) 1 4 sin2 𝑥 cos2 𝑥 (1−2 sin2 𝑥)
5
+ 7
= 12
= +
5 7
2
7 sin4 𝑥+5(1−2 sin2 𝑥+sin4 𝑥) 1 4 sin2 𝑥(1−sin2 𝑥) (1−2 sin2 𝑥)
= = +
35 12 5 7
2
12 sin4 𝑥+5−10 sin2 𝑥 1 5 5 5
= 4( )(1− )
12 12
(1−2( ))
12
35 12 = +
5 7
144 sin4 𝑥 + 60 − 120 sin2 𝑥 = 35
7 1
144 sin4 𝑥 − 120 sin2 𝑥 + 25 = 0 =
36
+
7(36)
(12 sin2 𝑥 − 5)2 = 0 49+1 50 25
2 5 = = =
sin 𝑥 = 12 252 252 126

30. 1
ข้ อนี ้จะแก้ ระบบสมการก็ได้ อีกวิธีคือใช้ ทกั ษะการเปรี ยบเทียบเบื ้องต้ น ดังนี ้
จาก 𝐵 = 𝐶 + 𝐷 เราจะสรุปได้ วา่ 𝐵 จะมากกว่า 𝐶 และ 𝐷
>
เนื่องจาก 𝐵 มากกว่า 𝐶 ดังนัน้ 𝐴 ต้ องน้ อยกว่า 𝐶
จาก 𝐴 = 2𝐶 − 𝐵 จะได้ 𝐴+𝐵 = 𝐶+𝐶
จึงจะทาให้ สองฝั่งเท่ากันได้ → 𝐴 < 𝐶 < 𝐵 …(1)
ต้ อง <
>
เนื่องจาก 𝐵 มากกว่า 𝐶 ดังนัน้ 𝐷 ต้ องน้ อยกว่า 𝐴
จาก 𝐷=𝐴+𝐶−𝐵 จะได้ 𝐷+𝐵 = 𝐴+𝐶
จึงจะทาให้ สองฝั่งเท่ากันได้ → 𝐷 < 𝐴 …(2)
ต้ อง <
จาก (1) และ (2) จะได้ 𝐷<𝐴<𝐶<𝐵
32 PAT 1 (พ.ย. 57)

31. 7
𝐴 𝐵 𝐴 𝐵
𝑎 𝑏 𝑐
จาก 𝐴 ∩ 𝐶 = ∅ จะได้ 00
กาหนดให้ แต่ละส่วนเป็ นดังนี ้ 00𝑑
𝑒
𝐶 𝐶
จาก 𝑛(𝒰) = 20 และ 𝑛(𝐴 = 12 จะได้ 𝑛(𝐴) = 20 – 12 = 8 ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏
′)
= 8 …(1)
และ 𝑛(𝐵′ ) = 9 จะได้ 𝑛(𝐵) = 20 – 9 = 11 ดังนัน้ 𝑏 + 𝑐 + 𝑑 = 11 …(2)
และ 𝑛(𝐶 ′ ) = 15 จะได้ 𝑛(𝐶) = 20 – 15 = 5 ดังนัน้ 𝑑 + 𝑒 = 5 …(3)
จาก 𝑛((𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐵 − 𝐴)) = 11 จะได้ 𝑎 + 𝑐 + 𝑑 = 11 …(4)
จาก 𝑛((𝐵 − 𝐶) ∪ (𝐶 − 𝐵)) = 12 จะได้ 𝑏 + 𝑐 + 𝑒 = 12 …(5)
จะเห็นว่า (2) และ (4) เหมือนกันหมด ยกเว้ น 𝑎 กับ 𝑏 ดังนัน้ จะสรุปได้ วา่ 𝑎 = 𝑏
และจาก (1) จะได้ วา่ 𝑎 = 𝑏 = 4 แทนใน (2) จะได้ 𝑐 + 𝑑 = 7 …(6)
ลบกัน จะได้ 𝑑 − 𝑒 = −1 …(9)
แทนใน (5) จะได้ 𝑐 + 𝑒 = 8 …(7)
(9) + (3) : 𝑒 จะตัดกันได้ เหลือ 2𝑑 = 4 → 𝑑 = 2 แทนใน (3) ได้ 𝑒 = 3 แทนใน (6) ได้ 𝑐 = 5
ดังนัน้ 𝑛((𝐴 − 𝐵) ∪ (𝐶 − 𝐵)) = 𝑎 + 𝑒 = 4 + 3 = 7

32. 169
หา 𝐴 : สังเกตว่า มุมเพิ่มทีละ 72° เท่าๆกัน ซึง่ 72° = 360°
5
พอดี ดังนัน้ มุมทัง้ 5 จะเหมือนกับตอนหารากที่ 𝑛 ของ
จานวนเชิงซ้ อน ที่มีรากทัง้ 5 ตัว คือ cos 15° + 𝑖 sin 15°
cos 87° + 𝑖 sin 87°
cos 159° + 𝑖 sin 159° มุมเพิ่มทีละ 360°
5
= 72°
cos 231° + 𝑖 sin 231°
cos 303° + 𝑖 sin 303°
ซึง่ รากที่ 5 ทัง้ 5 ตัว จะต้ องสอดคล้ องกับสมการในรูป 𝑧 5 = จานวนคงที่ (เช่นในข้ อนี ้ คือ 𝑧 5 = 1 cis 75°)
และจากสูตรผลบวกราก จะได้ ผลบวกของรากทัง้ 5 ตัว = 01 = 0
ดังนัน้ ส่วนจริ งของผลบวก = cos 15° + cos 87° + cos 159° + cos 231° + cos 303° ต้ องเป็ น 0 → 𝐴 = 0
หา 𝐵 : ภายใน arc เป็ นบวก → ใช้ สามเหลีย่ มมาช่วยได้ โดยไม่ต้องระวังเครื่ องหมาย
ให้ 𝛼 = arctan 15 8
จะได้ tan 𝛼 = 158
17 5
ให้ 𝛽 = arccos 45 จะได้ cos 𝛽 = 45 15
𝛽
3
𝛼 4
วาด ∆ แล้ วพีทากอรัสหาด้ านที่เหลือ จะได้ ดงั รูป 8 15 4
tan 𝛼 = cos 𝛽 =
8 5
15 4
ดังนัน้ 𝐵 = sin (arctan( 8 ) + arccos(5)) = sin(𝛼 + 𝛽) = sin 𝛼 cos 𝛽 + cos 𝛼 sin 𝛽
15 4 8 3 84
= (17) (5) + (17) (5) = 85
84 84 𝑎
ดังนัน้ 𝐴 + 𝐵 = 0 + 85 = 85
= 𝑏
ดังนัน้ 𝑎 + 𝑏 = 84 + 85 = 169
PAT 1 (พ.ย. 57) 33

33. 3
จากสูตร |𝑧1 + 𝑧2 |2 = |𝑧1 |2 + |𝑧2 |2 + (𝑧1 𝑧̅2 + 𝑧̅1 𝑧2 )
|𝑧1 − 𝑧2 |2 = |𝑧1 |2 + |𝑧2 |2 − (𝑧1 𝑧̅2 + 𝑧̅1 𝑧2 )
บวกสองสูตร จะได้ |𝑧1 + 𝑧2 |2 + |𝑧1 − 𝑧2 |2 = 2|𝑧1 |2 + 2|𝑧2 |2
2 2
|𝑧1 + 𝑧2 |2 + 12 = 2(√2) + 2(√3)
|𝑧1 + 𝑧2 |2 = 9
|𝑧1 + 𝑧2 | = 3 (ค่าสัมบูรณ์ต้องเป็ นบวก)

34. 66
สลับข้ างสมการแรก ให้ มีรูปแบบคล้ ายกับสมการที่สอง จะได้ 𝑏 𝑎 = 𝑎𝑏 …(1)
𝑏 = 𝑎𝑏 3𝑎 …(2)
สังเกตว่า 𝑏 เท่านัน้ ที่เป็ นฐานของเลขยกกาลัง ดังนัน้ เราจะพยายามกาจัด 𝑎 ที่คณ
ู อยูก่ บั เลขยกกาลังออก
𝑎
เนื่องจาก 𝑎, 𝑏 ≠ 0 เอา (1) ÷ (2) จะทาให้ 𝑎 ตัดกันได้ → 𝑏𝑏 = 𝑏𝑏3𝑎 → 𝑏 4𝑎 = 𝑏 2
เนื่องจาก 𝑏 > 1 จะตัดฐาน 𝑏 ทังสองข้
้ างได้ เหลือ 4𝑎 = 2 → 𝑎 = 12
1
แทน 𝑎 = 12 ใน (1) จะได้ 1
𝑏 2 = 2 𝑏 → 2√𝑏 = 𝑏 ยกกาลังสองทังสองข้
้ าง จะได้ 4𝑏 = 𝑏 2
0 = 𝑏 2 − 4𝑏
0 = 𝑏(𝑏 − 4)
1
จะได้ 𝑏 = 0 , 4 แต่ 𝑏 > 1 ดังนัน้ 𝑏 = 4 → จะได้ 20𝑎 + 14𝑏 = 20 ( ) + 14(4) = 10 + 56 = 66
2

35. 201
จาก 𝑏𝑛 = (𝑎 + 𝑛 − 1)(𝑎 + 𝑛) จะได้ 𝑏1 = (𝑎)(𝑎 + 1)
𝑏2 = (𝑎 + 1)(𝑎 + 2)
𝑏3 = (𝑎 + 2)(𝑎 + 3)

𝑎+1 𝑎+2 𝑎+𝑛 𝑎+1 𝑎+2 𝑎+𝑛
ดังนัน้ 𝑏1 𝑏2
+𝑏 + ⋯+𝑏 = (𝑎)(𝑎+1)2 (𝑎+2)
+ (𝑎+1)(𝑎+2)2 (𝑎+3) + ⋯ + (𝑎+𝑛−1)(𝑎+𝑛)2 (𝑎+𝑛+1)
2 𝑏3 𝑛 𝑏𝑛+1
1 1 1
= (𝑎)(𝑎+1)(𝑎+2)
+ (𝑎+1)(𝑎+2)(𝑎+3) + ⋯ + (𝑎+𝑛−1)(𝑎+𝑛)(𝑎+𝑛+1)

1 1 1
ตัวส่วน มี 3 ตัวคูณกัน ดังนันต้
้ องแยกเทเลสโคปิ คด้ วยรูปแบบ 𝑎𝑏𝑐 →
𝑎𝑏

𝑏𝑐
1 1 1
เช่น (𝑎)(𝑎+1)(𝑎+2) จะต้ องแยกเป็ น (𝑎)(𝑎+1) − (𝑎+1)(𝑎+2) จะได้ ตวั ส่วนทีเ่ ป็ น ค.ร.น. ตรงกัน
1 1 (𝑎+2)−(𝑎) 2
ถัดมา ต้ องปรับตัวเศษ → เนื่องจาก (𝑎)(𝑎+1)
− (𝑎+1)(𝑎+2) = (𝑎)(𝑎+1)(𝑎+2) = (𝑎)(𝑎+1)(𝑎+2)
1 1 1 1
ดังนัน้ (𝑎)(𝑎+1)(𝑎+2)
= [(𝑎)(𝑎+1) − (𝑎+1)(𝑎+2)]
2

1 1 1 1 1 1
= [
2 (𝑎)(𝑎+1)
− (𝑎+1)(𝑎+2)] + 2 [(𝑎+1)(𝑎+2) − (𝑎+2)(𝑎+3)] + ⋯
1 1 1
+ [(𝑎+𝑛−1)(𝑎+𝑛) − (𝑎+𝑛)(𝑎+𝑛+1)]
2
1 1 1 1 1
= [ − (𝑎+1)(𝑎+2) + (𝑎+1)(𝑎+2) − (𝑎+2)(𝑎+3) + ⋯ +
ตัวตรงกลางจะตัดกันได้ เป็ นทอดๆ 2 (𝑎)(𝑎+1)
1 1
เหลือตัวแรกกับตัวสุดท้ าย (𝑎+𝑛−1)(𝑎+𝑛)
− (𝑎+𝑛)(𝑎+𝑛+1)]
1 1 1
= [ − (𝑎+𝑛)(𝑎+𝑛+1)]
2 (𝑎)(𝑎+1)
34 PAT 1 (พ.ย. 57)

𝑎+1 𝑎+2 𝑎+𝑛 1 1 1 1 1


ดังนัน้ nlim

(𝑏 𝑏 + 𝑏 𝑏 + ⋯ + 𝑏 𝑏 ) = lim 2 [(𝑎)(𝑎+1) − (𝑎+𝑛)(𝑎+𝑛+1)] =
n
[
2 (𝑎)(𝑎+1)
− 0]
1 2 2 3 𝑛 𝑛+1
1
= 2𝑎(𝑎+1)
1 1
ดังนัน้ 2𝑎(𝑎+1)
= 312
→ 𝑎(𝑎 + 1) = 156
𝑎2 + 𝑎 − 156 = 0
(𝑎 + 13)(𝑎 − 12) = 0
แต่ 𝑎 เป็ นบวก ดังนัน้ 𝑎 = 12 จะได้ 𝑎2 + 57 = 122 + 57 = 144 + 57 = 201

36. 3
|𝑥| 1 2𝑦 6 10 + 𝑥 7
จัดรูป จะได้
[
2 𝑥 − |𝑦|
]+[
−2 2|𝑦|
] =[
0 7 − 𝑦
]

|𝑥| + 2𝑦 7 10 + 𝑥 7
[ ] =[ ]
0 𝑥 + |𝑦| 0 7−𝑦
จับสมาชิกในตาแหน่งตรงกันมาเท่ากัน จะได้ |𝑥| + 2𝑦 = 10 + 𝑥 …(1)
𝑥 + |𝑦| = 7 − 𝑦 …(2)
สังเกตว่า ถ้ า 𝑥 ≥ 0 จะได้ |𝑥| = 𝑥 ทาให้ ตดั 𝑥 ใน (1) ได้ เหลือ 2𝑦 = 10 → 𝑦 = 5
แต่ถ้า 𝑦 = 5 จะได้ สมการ (2) คือ 𝑥 + 5 = 2 → 𝑥 = −3 ขัดแย้ งกับที่ 𝑥 ≥ 0
ดังนัน้ 𝑥 ≥ 0 ไม่ได้ จึงสรุปได้ วา่ 𝑥 < 0 |𝑎| = {
𝑎 , 𝑎≥0
−𝑎 , 𝑎<0
และสังเกตว่า ถ้ า 𝑦 < 0 จะได้ |𝑦| = −𝑦 ทาให้ ตดั −𝑦 ใน (2) ได้ เหลือ 𝑥 = 7
ซึง่ จะขัดแย้ งกับ 𝑥 < 0 ดังนัน้ 𝑦 < 0 ไม่ได้ จึงสรุปได้ วา่ 𝑦 ≥ 0
จาก 𝑥 < 0 และ 𝑦 ≥ 0 จะได้ |𝑥| = −𝑥 และ |𝑦| = 𝑦 แทนใน (1) และ (2) จะได้
−𝑥 + 2𝑦 = 10 + 𝑥 −2𝑥 + 2𝑦 = 10 …(3)
𝑥+𝑦 = 7−𝑦 𝑥 + 2𝑦 = 7 …(4)

(4) – (3) : 𝑦 จะตัดกันได้ เหลือ 3𝑥 = −3 → 𝑥 = −1


แทน 𝑥 = −1 ใน (4) จะได้ 2𝑦 = 8 → 𝑦 = 4 ดังนัน้ 𝑥 + 𝑦 = −1 + 4 = 3

37. 270
ข้ อนี ้ ถามว่ามี 𝐴, 𝐵 ได้ กี่แบบนัน่ เอง ซึง่ สามารถนับจากจานวนแบบของแผนภาพได้
𝐴 𝐵
ขันที
้ ่ 1: จาก 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵) = 2 จะได้ สว่ น  ต้ องมี 2 ตัว   
(5)(4)
เลือก 2 ตัว จาก 𝒰 = {1, 2, 3, 4, 5} ได้ (2) = 2 = 10 แบบ
5

ขันที
้ ่ 2: 𝒰 ที่เหลืออีก 3 ตัว แต่ละตัวต้ องลง  หรื อ  หรื อ  ช่องใดช่องหนึง่ เพียงช่องเดียว
นัน่ คือ แต่ละตัวใน 3 ตัวที่เหลือ จะเลือกได้ ตวั ละ 3 แบบ จะได้ จานวนแบบ = (3)(3)(3) แบบ
ดังนัน้ จานวนแบบของแผนภาพ = (10)(3)(3)(3) = 270 แบบ

38. 14
{𝑎𝑛 } เป็ นลาดับเลขคณิต ดังนัน้ จะสอดคล้ องกับสูตร 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑
แต่โจทย์ให้ 𝑎1 = 2 แทนในสูตร จะได้ 𝑎𝑛 = 2 + (𝑛 − 1)𝑑 …(∗)
PAT 1 (พ.ย. 57) 35

𝑎4 𝑎8 2+3𝑑 2+7𝑑
และ 𝑎2 , 𝑎4 , 𝑎8 เป็ นเรขาคณิต จะได้ 𝑎2
=
𝑎4
→ ใช้ สตู รจาก (∗) จะได้ 2+𝑑
=
2+3𝑑
(2 + 3𝑑)(2 + 3𝑑) = (2 + 𝑑)(2 + 7𝑑)
4 + 12𝑑 + 9𝑑2 = 4 + 16𝑑 + 7𝑑2
2𝑑2 − 4𝑑 = 0
2𝑑(𝑑 − 2) = 0 → 𝑑 = 0, 2
แต่ 𝑑 = 0 ไม่ได้ เพราะถ้ า 𝑑 = 0 จะทาให้ 𝑎1 = 𝑎2 = 𝑎3 = … ขัดแย้ งกับที่ 𝑎1 < 𝑎2 < 𝑎3 < …
ดังนัน้ จะสรุปได้ วา่ 𝑑 = 2 และจะได้ 𝑎𝑛 = 2 + (𝑛 − 1)(2) = 2𝑛 → จะได้ ลาดับนี ้คือ 2, 4, 6, 8, …
(𝑎1 −1)3 +(𝑎2 −1)3 + … +(𝑎𝑛 −1)3 13 +33 +53 + … +(2𝑛−1)3
ดังนัน้ = เอาเศษมาเติมเข้ าและหักออกด้ วยพจน์เลขคู่
𝑎13 +𝑎23 + … +𝑎𝑛
3 23 +4 3 +63 +⋯ +(2𝑛)3
[13 +23 +33 + … +(2𝑛)3 ]−[23 +43 +63 … +(2𝑛)3 ]
= 23 +4 3 +63 + … +(2𝑛)3
กระจายเศษเข้ าไปหาร [13 +23 +33 + … +(2𝑛)3 ]
= 23 +4 3 +63 +⋯ +(2𝑛)3
−1
ดึง 2 เป็ นตัวร่วม
3
13 +23 +33 + … +(2𝑛)3
= 23 (13 +23 +33 + … +𝑛3 )
−1
ใช้ สตู ร 2𝑛(2𝑛+1) 2
𝑛(𝑛+1) 2
n
[ ] 𝑛2 (2𝑛+1)2 (2𝑛+1)2
 𝑖3 = [ 2
] = 2
2 − 1 = 2𝑛2 (𝑛+1)2 − 1 = 2(𝑛+1)2 − 1
i 1 23 [
𝑛(𝑛+1)
]
2

(2𝑛+1)2 2𝑛+1 841


ดังนัน้ 2(𝑛+1)2
−1 =
391
450 𝑛+1
= ±√225
(2𝑛+1)2 2𝑛+1 29
=
841
= (ฝั่งซ้ ายเป็ นบวก)
2(𝑛+1)2 450 𝑛+1 15
(2𝑛+1)2 841 30𝑛 + 15 = 29𝑛 + 29
=
(𝑛+1)2 225 𝑛 = 14

39. 11
สังเกตว่า (2 + 𝑥)(2 − 𝑥) = 4 − 𝑥 2
ดังนัน้ ถ้ าให้ 𝐴 = √2 + 𝑥 , 𝐵 = √2 − 𝑥 จะได้ ฝั่งซ้ ายคือ 3𝐴 − 6𝐵 + 4𝐴𝐵
ถัดมา จะพยายามจัดฝั่งขวาให้ อยูใ่ นรูปของ 𝐴, 𝐵 นัน่ คือ ต้ องเขียน 10 − 3𝑥 ให้ อยูใ่ นรูปของ 2 + 𝑥 กับ 2 − 𝑥
ลองเดาๆดู จะได้ (2 + 𝑥) + 4(2 − 𝑥) = 10 − 3𝑥 (หรื อจะให้ 𝑚(2 + 𝑥) + 𝑛(2 − 𝑥) = 10 − 3𝑥
เทียบ สปส เป็ น 2𝑚 + 2𝑛 = 10 แล้ วแก้ หา 𝑚, 𝑛 ก็ได้ )
𝑚 − 𝑛 = −3
ดังนัน้ 10 − 3𝑥 = (2 + 𝑥) + 4(2 − 𝑥) = 𝐴2 + 4𝐵2
ดังนัน้ สมการจะกลายเป็ น 3𝐴 − 6𝐵 + 4𝐴𝐵 = 𝐴2 + 4𝐵2
0 = 𝐴2 + 4𝐵2 − 3𝐴 + 6𝐵 − 4𝐴𝐵 จับกลุม่ ดึงตัวร่วม
0 = (𝐴2 − 4𝐴𝐵 + 4𝐵2 ) − 3𝐴 + 6𝐵
0 = (𝐴 − 2𝐵)2 − 3(𝐴 − 2𝐵)
0 = (𝐴 − 2𝐵)(𝐴 − 2𝐵 − 3)

𝐴 − 2𝐵 = 0 𝐴 − 2𝐵 − 3 = 0
𝐴 = 2𝐵 𝐴 = 2𝐵 + 3
√2 + 𝑥 = 2√2 − 𝑥 จาก √2 − 𝑥 ในสมการโจทย์ จะได้ 2 − 𝑥 ≥ 0
ตรวจคาตอบในบรรทัด 2+𝑥 = 4(2 − 𝑥) ดังนัน้ 2 ≥ 𝑥 จะได้ คา่ มากสุดของ 𝑥 คือ 2
2+𝑥 = 8 − 4𝑥
ก่อนยกกาลังสองก็พอ จะได้ 𝐴 มีคา่ อย่างมาก = √2 + 𝑥𝑚𝑎𝑥 = √2 + 2 = 2
5𝑥 = 6
16 4 6 แต่ 2𝐵 + 3 มีคา่ อย่างน้ อย 3 (เพราะ 𝐵 เป็ นค่าติดรูท จะ ≥ 0)

5
= 2√
5
จริง 𝑥 = 5
ดังนัน้ 𝐴 = 2𝐵 + 3 จึงเป็ นไปไม่ได้

จะได้ คาตอบคือ 65 ดังนัน้ 𝑎=6, 𝑏=5 จะได้ 𝑎 + 𝑏 = 6 + 5 = 11


36 PAT 1 (พ.ย. 57)

40. 55
1
8
8 cos 2𝜃 + cos 2𝜃 = 65 cos 2𝜃 = 8
1
8 cos2 2𝜃 + 8 = 65 cos 2𝜃 2 cos2 𝜃 − 1 = 8
8 cos2 2𝜃 − 65 cos 2𝜃 + 8 = 0 9
cos2 𝜃 =
(8 cos 2𝜃 − 1)(cos 2𝜃 − 8) = 0 16
1 3
cos 2𝜃 = 8 , 8 cos 𝜃 = ±4
1
แต่ cos เกิน 1 ไม่ได้ ดังนัน้ cos 2𝜃 =8 …(1) แต่ 0 < 𝜃 < 90° จะได้ cos เป็ นบวก
ดังนัน้ cos 𝜃 = 34 …(2)
𝜃 5𝜃 160 𝜃 5𝜃
160 sin 2 sin 2
= −2
(−2 sin 2 sin 2 ) cos(𝐴 + 𝐵) − cos(𝐴 − 𝐵)
𝜃 5𝜃 𝜃 5𝜃 = −2 sin 𝐴 sin 𝐵
= −80 (cos (2 + 2 ) − cos (2 − 2 ))
= −80(cos 3𝜃 − cos(−2𝜃))
= −80(cos 3𝜃 − cos 2𝜃)
= −80(4 cos 3 𝜃 − 3 cos 𝜃 − cos 2𝜃)
3 3 3 1
= −80 (4 (4) − 3 (4) − 8)
27 9 1 27−36−2 −11
= −80 (16 − 4 − 8) = −80 ( 16
) = −80 ( 16 ) = 55

41. 34.5
𝑘+1
จัดรูปหา 𝑓(𝑥) ก่อน ให้ 2𝑥 − 1 = 𝑘 จะได้ 𝑥 =
𝑓(2𝑥 − 1) = 4𝑥 2 − 10𝑥 + 𝑎 2
𝑘+1 2 𝑘+1
𝑘
แทนค่า 𝑥 จะได้ 𝑓(𝑘) = 4 (
2
) − 10 (
2
)+ 𝑎
2
= 𝑘 + 2𝑘 + 1 − 5𝑘 − 5 + 𝑎
= 𝑘 2 − 3𝑘 − 4 + 𝑎
ดังนัน้ 2
𝑓(𝑥) = 𝑥 − 3𝑥 − 4 + 𝑎
จาก 𝑓(0) = 12 จะได้ 02 − 3(0) − 4 + 𝑎 = 12 แก้ สมการ จะได้ 𝑎 = 16
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 3𝑥 − 4 + 16 = 𝑥 2 − 3𝑥 + 12
4
𝑥3 3𝑥 2 4 43 3(42 ) 13 3(12 )
และจะได้  𝑓(𝑥) 𝑑𝑥 = 3
− 2
+ 12𝑥 | = (3 − 2
+ 12(4)) − ( 3 − 2
+ 12(1))
1 1
64 1 3
= − 24 + 48 − + − 12
3 3 2
63 3
= 3
+ 12 + 2 = 34.5

42. 36
จากสมบัติของฟังก์ชนั คอมโพสิท จะได้ 𝑓(𝑔−1 (1 + 𝑎)) = 𝑔(𝑓 −1 (1 + 𝑎))

หาได้ โดย เอา 𝑓(𝑥) มาแทน 𝑥 ด้ วย 𝑔−1(1 + 𝑎) หาได้ โดย เอา 𝑔(𝑥) มาแทน 𝑥 ด้ วย 𝑓 −1(1 + 𝑎)
จาก 𝑔(𝑥) = 2𝑓(𝑥) + 5 จาก 𝑔(𝑥) = 2𝑓(𝑥) + 5
แทน 𝑥 ด้ วย 𝑔−1 (1 + 𝑎) แทน 𝑥 ด้ วย 𝑓 −1 (1 + 𝑎)
𝑔(𝑔−1 (1 + 𝑎)) = 2𝑓(𝑔−1 (1 + 𝑎)) + 5 𝑔(𝑓 −1 (1 + 𝑎)) = 2𝑓(𝑓 −1 (1 + 𝑎)) + 5
𝑔 กับ 𝑔−1 จะตัดกันได้ 𝑓 กับ 𝑓 −1 จะตัดกันได้
1+𝑎 = 2𝑓(𝑔−1 (1 + 𝑎)) + 5 𝑔(𝑓 −1 (1 + 𝑎)) = 2( 1+𝑎 )+5
1+𝑎−5
= 𝑓(𝑔−1 (1 + 𝑎)) 𝑔(𝑓 −1 (1 + 𝑎)) = 2𝑎 + 7
2
PAT 1 (พ.ย. 57) 37

1+𝑎−5
จับสองฝั่งมาเท่ากัน จะได้ 2
= 2𝑎 + 7
𝑎 − 4 = 4𝑎 + 14
−18 = 3𝑎
−6 = 𝑎 → 𝑎2 = 36

43. 3.5
สังเกตว่า ถ้ าเอาสองตัวข้ างในฝั่งขวามาบวกกัน จะได้ 2𝑥 − 4 + 4𝑥 − 2 = 2𝑥 + 4𝑥 − 6 เหมือนข้ างในฝั่งซ้ าย
ดังนัน้ ถ้ าให้ 𝑎 = 2𝑥 − 4 , 𝑏 = 4𝑥 − 2 จะได้ สมการคือ (𝑎 + 𝑏)3 = 𝑎3 + 𝑏3
𝑎3 + 3𝑎2 𝑏 + 3𝑎𝑏 2 + 𝑏 3 = 𝑎3 + 𝑏 3
3𝑎2 𝑏 + 3𝑎𝑏 2 = 0
3𝑎𝑏(𝑎 + 𝑏) = 0

𝑎 = 0 𝑏 = 0 𝑎+𝑏 = 0
𝑥
2 −4 = 0 𝑥
4 −2 = 0 4𝑥 + 2𝑥 − 6 = 0
2𝑥 = 4 22𝑥 = 2 (2𝑥 + 3)(2𝑥 − 2) = 0
𝑥 = 2 1 2𝑥 = −3 , 2
𝑥 =
2 𝑥 = - , 1
1
จะได้ ผลบวกคาตอบ = 2 + + 1 = 3.5
2

44. 4
จาก 𝑔(𝑓(𝑥)) = 𝑥 2 + 2𝑥 − 1 จะได้ 𝑔(𝑥 + 1) = 𝑥 2 + 2𝑥 − 1
จัดรูป หา 𝑔(𝑥) ให้ 𝑘 = 𝑥 + 1 𝑘

𝑘 − 1 = 𝑥 → แทนได้ 𝑔(𝑘) = (𝑘 − 1)2 + 2(𝑘 − 1) − 1


= 𝑘 2 − 2𝑘 + 1 + 2𝑘 − 2 − 1 = 𝑘 2 − 2
ดังนัน้ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 − 2
2 2 𝑑 𝑓(𝑥+ℎ)−𝑓(𝑥)
จากนิยาม จะได้ lim (𝑔(𝑥+ℎ)) −(𝑔(𝑥))
=
𝑑
(𝑔(𝑥))
2
𝑑𝑥
𝑓(𝑥) = lim ℎ
h 0
h 0 ℎ 𝑑𝑥
𝑑
= (𝑥 2 − 2)2
𝑎𝑥
2
ดิฟลูกโซ่
= 2(𝑥 − 2)(2𝑥)
ดังนัน้ 𝑠(𝑥) = 2(𝑥 2 − 2)(2𝑥)
ดังนัน้ (𝑠𝑔)(1) = 𝑠(1) ∙ 𝑔(1) = 2(12 − 2)(2(1)) ∙ (12 − 2) = (−4) ∙ (−1) = 4

45. 1277
0 1 2 3
เพื่อความสะดวก จะใช้ ตารางมาช่วย โดยให้ 𝑎(𝑖, 𝑗) คือ ช่องในแถวที่ 𝑖 หลักที่ 𝑗 0 1
จาก (ก) 𝑎(𝑛, 0) = 𝑛 + 1 จะได้ 𝑎(0, 0) = 0 + 1 = 1 จะเติมหลักที่ 0 ได้ ดงั รูป 1 2
𝑎(1, 0) = 1 + 1 = 2 2 3
𝑎(2, 0) = 2 + 1 = 3 3 4
𝑎(3, 0) = 3 + 1 = 4 4 ⋮
⋮ 0 1 2 3
ถัดมา จะหาหลักที่ 1 0 1 2
1 2
จาก (ข) แทน 𝑚 = 1 จะได้ 𝑎(0, 1) = 𝑎(1, 1 − 1) 2 3
= 𝑎(1, 0 ) = 2 เติมได้ ดงั รูป 3 4
4 ⋮
38 PAT 1 (พ.ย. 57)

จาก (ค) แทน 𝑚 = 0 จะได้ 𝑎(𝑛 + 1, 0 + 1) = 𝑎(𝑎(𝑛, 0 + 1), 0)


𝑎(𝑛 + 1, 1 ) = 𝑎(𝑎(𝑛, 1 ), 0)
จาก (ก) 𝑎( ????? , 0) = ????? + 1
𝑎(𝑛 + 1, 1 ) = 𝑎(𝑛, 1 )+1

ความหมายของสูตรที่ได้ คือ ใน หลักที่ 1 ช่องถัดลงมา (𝑛 + 1) จะเท่ากับช่องก่อนหน้ า (𝑛) บวก 1


0 1 2 3 จะเติมช่องที่เหลือของหลักที่ 1 ได้ ดงั รูป
0 1 2 +1
1 2 3 +1 จะเห็นว่า ตัวเลขในหลักที่ 1 เรี ยงเป็ นลาดับเลขคณิตที่ 𝑎0 = 2 , 𝑎1 = 3 , 𝑑 = 1
2 3 4 +1 จากสูตร 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑
3 4 5
4 ⋮ ⋮ จะได้ หลักที่ 1 มีสตู รคือ 𝑎(𝑛, 1) = 3 + (𝑛 − 1)(1)
= 𝑛+2 …(∗)
ถัดมา จะทาซ ้าแบบเดิม เพื่อหาหลักที่ 2 0 1 2 3
จาก (ข) แทน 𝑚 = 2 จะได้ 𝑎(0, 2) = 𝑎(1, 2 − 1) 0 1 2 3
= 𝑎(1, 1 ) = 3 เติมได้ ดงั รูป 1 2 3
2 3 4
3 4 5
จาก (ค) แทน 𝑚 = 1 จะได้ 𝑎(𝑛 + 1, 1 + 1) = 𝑎(𝑎(𝑛, 1 + 1), 1) 4 ⋮ ⋮
𝑎(𝑛 + 1, 2 ) = 𝑎(𝑎(𝑛, 2 ), 1)
จาก (∗) 𝑎( ????? , 1) = ????? + 2
𝑎(𝑛 + 1, 2 ) = 𝑎(𝑛, 2 )+2

ความหมายของสูตรที่ได้ คือ ใน หลักที่ 2 ช่องถัดลงมา (𝑛 + 1) จะเท่ากับช่องก่อนหน้ า (𝑛) บวก 2


0 1 2 3 จะเติมช่องที่เหลือของหลักที่ 2 ได้ ดงั รูป
0 1 2 3
1 2 3 5 +2
+2 จะเห็นว่า ตัวเลขในหลักที่ 2 เรี ยงเป็ นลาดับเลขคณิตที่ 𝑎0 = 3 , 𝑎1 = 5 , 𝑑 = 2
2 3 4 7 +2 จากสูตร 𝑎𝑛 = 𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑
3 4 5 9
4 ⋮ ⋮ ดังนัน้ หลักที่ 2 มีสตู รคือ 𝑎(𝑛, 2) = 5 + (𝑛 − 1)(2)
= 2𝑛 + 3 …(∗∗)
โจทย์ให้ 𝑎(𝑥, 2) = 2557 ใช้ สตู ร (∗∗) จะได้ 2𝑥 + 3 = 2557
2557−3 2554
𝑥 = = = 1277
2 2

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Gtr Ping สาหรับข้ อสอบและเฉลยคาตอบ
ขอบคุณ คุณ ผศ.บัณฑิต ภูริชิตพิ ร และคุณ ตูน Sila Sookrasamee สาหรับเฉลยแบบละเอียด
ขอบคุณ คุณ Ty Pongsatorn สาหรับเฉลยข้ อ 22
ขอบคุณ คุณ Nattajak Siribanluewuti
คุณ Krittikorn Jianrungsin
คุณครูเบิร์ด จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ ครูเบิร์ด ย่านบางแค 081-8285490
คุณ Buay Sahasaporn
ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้ องของเอกสาร

You might also like