You are on page 1of 32

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค.

66) 1
29 May 2023

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)


วันอาทิตย์ที่ 19 มีนาคม 2566 เวลา 8.30 - 10.00 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คาตอบที่ถกู ที่สดุ จานวน 25 ข้อ ข้อละ 3 คะแนน รวม 75 คะแนน
1. ให้ 𝑝(𝑥 ) = 𝑥 3 + (𝑘 − 1)𝑥 2 − 𝑘 3 เมื่อ 𝑘 เป็ นจานวนจริงลบ
ถ้าเศษเหลือจากการหาร 𝑝(𝑥 ) ด้วย 𝑥 − 3 เท่ากับ 18
แล้วเศษเหลือจากการหาร 𝑝(𝑥 ) ด้วย 2𝑥 + 1 เท่ากับเท่าใด
1. 3 2. 18 3. 22 4. 207 8
5. 209
8

2. ให้ 𝐴 = { 𝑥 ∈ ℤ | |2𝑥 + 3| < 2|𝑥 − 5| } และ 𝐵 = { 𝑥 ∈ ℝ | 0 < 𝑥 < 5 }


พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) สมาชิกของเซต 𝐴 ที่มีค่ามากที่สดุ คื อ 0
ข) 𝐴 − 𝐵 เป็ นเซตอนันต์
ค) ∀𝑥[𝑥 ∈ 𝐴 → 𝑥 ∈ 𝐵 ] มีค่าความจริงเป็ นเท็จ
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง

3. ให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 และ 𝑠 เป็ นประพจน์ โดยที่ (~𝑝 ∧ 𝑞 ) → [ ~𝑟 → (𝑟 ↔ 𝑠)] มีค่าความจริงเป็ นเท็จ


ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็ นจริง
1. ~𝑝 → 𝑟 2. 𝑝 ∧ 𝑟 3. 𝑝 ↔ 𝑠
4. 𝑞 ∧ 𝑠 5. 𝑞 ↔ 𝑟
2 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

4. กาหนด 𝑝 และ 𝑞 เป็ นประพจน์ และรูปแบบของประพจน์ 𝑝∗𝑞 มีค่าความจริง แสดงดังตาราง


𝑝 𝑞 𝑝∗𝑞
T T F
T F T
F T F
F F T
พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) [(𝑝 ∗ 𝑞 ) ∧ 𝑝] → 𝑞 เป็ นสัจนิรนั ดร์
ข) นิเสธของ 𝑝 ∗ 𝑞 คื อ 𝑝 ∗ ~𝑞
ค) 𝑝 ∗ 𝑞 สมมูลกับ (𝑝 ∧ ~𝑞 ) ∨ (~𝑝 ∧ ~𝑞 )
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

2 log 625
5. ถ้า log 1 256 +
log 5
= 3𝑎 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง แล้วค่ าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
4
33
1. log 3 2 2. log 3 4 3. log 3
4
4. log 3 10 5. log 3 12

6. รูปสี่เหลี่ยม ABCD มีมมุ A ขนาด 60 องศา ด้านประกอบมุม A ยาวเท่ากัน มุม C เป็ นมุมที่อยู่ตรงข้ามมุม A มี
ขนาด 120 องศา และด้านประกอบมุม C ยาว 30 และ 50 หน่วย ด้าน AB ยาวกี่หน่วย
1. 80 2. 70 3. 60 4. 50 5. 40
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 3

5 3
7. tan (arccos ( ) + arcsin ( ))
13 5
เท่ากับเท่าใด
63 7
1. −
16
2. −
40
3. 98 4. 32
25
5. 63
20

8. ให้ 𝐴 = { −1, 0 , 1 , 2 }
𝐵 เป็ นสับเซตของ 𝐴 โดยที่ 𝐵 ≠ ∅ และ 2 ∉ 𝐵
และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐵 โดยที่ 𝑓 (−1) = 1 และ 𝑓 (1) = −1
พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) ถ้า 𝑓(2) > 0 แล้ว 𝑓(2) = 1
ข) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ ม
ค) 𝑓 มีฟังก์ชนั ผกผัน
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

𝑥 −1]
9. ให้ 𝐴=[ และ 𝐵 = [−2 0] เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริง
0 3 𝑥 1
ถ้า det(𝐵 −1 𝐴) = −6 แล้วค่ าของ 𝑥 เท่ากับเท่าใด
1. −4 2. −1 3. 1 4. 4 5. 9
4 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)


10. ถ้า 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับอนันต์ โดยที่ 𝑎𝑛 = 1𝑛 − 𝑛+2
1
แล้ว Σ 𝑎𝑛 เท่ากับเท่าใด
𝑛=1
1. 0 2. 23 3. 1
3
4. 2
5. หาผลบวกไม่ได้ เพราะอนุกรมนีเ้ ป็ นอนุกรมลู่ออก

11. กาหนดแบบรูปของแผนภาพบันไดไม้ขีดไฟดังนี ้

รู ปที่ 1 รู ปที่ 2 รู ปที่ 3 …


บันไดไม้ขีดไฟ 1 ขั้ น บันไดไม้ขีดไฟ 2 ขั้ น บันไดไม้ขีดไฟ 3 ขั้ น
โดยที่ แทน ไม้ขีดไฟ 1 ก้าน
ถ้ามะลิมีไม้ขีดไฟจานวน 990 ก้าน เพื่ อต่ อเป็ นรูปบันใด 1 รูป แล้วมะลิจะสามารถสร้างบันไดไม้ชีดไฟได้จานวน
ขัน้ บันไดมากที่สดุ กี่ขนั ้
1. 25 2. 29 3. 30 4. 31 5. 33
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 5

12. โต้งกูเ้ งินจากวินเพื่ อการลงทุนจานวน 200,000 บาท โดยโต้งทาสัญญากับวินว่าจะชาระเงินกูพ้ ร้อมดอกเบีย้ ทัง้ หมด
ในอีก 2 ปี ข้างหน้า และวินกาหนดอัตราดอกเบีย้ 2% ต่ อปี โดยคิ ดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุกปี เมื่อครบ 2 ปี ตาม
สัญญา โต้งขอเลื่อนเวลาชาระออกไปอีก 1 ปี โต้งและวินจึงได้ทาสัญญาฉบับใหม่ โดยกาหนดให้เงินกูพ้ ร้อมดอกเบีย้
ทัง้ หมดจาก 2 ปี ที่ผ่านมาเป็ นยอดเงินกูใ้ นสัญญาฉบับใหม่นี ้ และปรับอัตราดอกเบีย้ ใหม่เป็ น 3% ต่ อปี โดยคิ ด
ดอกเบีย้ แบบทบต้นทุก 6 เดื อน เมื่อครบกาหนด 1 ปี ตามสัญญาฉบับใหม่ โต้งจะต้องชาระเงินกูพ้ ร้อมดอกเบีย้
ทัง้ หมดกี่บาท
1. 200,000 (1.02)2 (1.015)2 2. 200,000 (1.02)2 (1.03)
3. 200,000 (1.02)2 (1.03)2 4. 200,000 [(1.02)2 + (1.015)2 ]
5. 200,000 [(1.02)2 + (1.03)2 ]

13. ให้จานวนเชิงซ้อน 𝑢 = cos 𝜋3 + 𝑖 sin 𝜋3 และ 𝑣 เป็ นรากที่ 3 ของจานวนเชิงซ้อน 𝜋


cos + 𝑖 sin
2
𝜋
2
ถ้าส่วนจริงของ 𝑢𝑣 เป็ นจานวนจริงลบ แล้วส่วนจริงของ 𝑣 เท่ากับเท่าใด
1. cos 𝜋6 2. cos 5𝜋
6
3. cos 5𝜋4
4. cos 4𝜋
3
5. cos
3𝜋
2

14. ให้ 𝐴 แทนเซตของจานวนเชิงซ้อน 𝑧 ทัง้ หมดในระนาบเชิงซ้อน ซึ่งสอดคล้องกับ


อสมการ |𝑧 − 𝑖 |2 + |𝑧 + 𝑖 |2 < 4 พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) ถ้า 𝑤 ∈ 𝐴 แล้ว Re(𝑤) ∈ 𝐴
ข) ถ้า 𝑤 ∈ 𝐴 แล้ว 𝑤̅ ∈ 𝐴
ค) ถ้า 𝑤 ∈ 𝐴 แล้ว 𝑤 2 ∈ 𝐴
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
6 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

15. กาหนดเวกเตอร์ในระบบพิ กดั ฉากสามมิติ ดังนี ้ ⃑ = 2𝑖 − 𝑗 + 2𝑘⃑


𝑢
𝑣 = −𝑖 − 2𝑗 + 3𝑘⃑
⃑⃑ = 4𝑖 + 3𝑗 + 𝑎𝑘⃑
𝑤 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง
ถ้า 𝑢
⃑ ×𝑣 ตัง้ ฉากกับ 𝑤⃑⃑ แล้วค่ าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
21
1. −
5
2. −4 3. − 13 4. 1
3
5. 1

Z
16. กาหนดทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ABCDEFGH ในระบบพิ กดั ฉากสามมิติ
F(0,1,2)
ที่มี จุด B(1, 1, 0) จุด C(1, 2, 0) และจุด F(0, 1, 2) E
เมื่อลาก ̅̅ ̅̅ และ CE
AC ̅̅̅̅ จะได้ AĈ E = 𝜃 ดังรูป
G H
ค่ าของ sec 𝜃 เท่ากับเท่าใด
1 1
1. √10 2. 10
A D Y
3. √10 4. 10 0
𝜃
√5
5. √2 B(1,1,0) C(1,2,0)
X

2 2
17. ให้จดุ (𝑎, 𝑏) เป็ นจุดบนวงรี 𝑥2 + 𝑦3 = 1 ถ้าระยะห่างระหว่างจุด (𝑎, 𝑏) กับจุด (0, − 54) เท่ากับระยะระหว่าง
จุด (𝑎, 𝑏) กับเส้นตรง 𝑦 = − 34 แล้วค่ าของ 𝑏 เท่ากับเท่าใด
1. −3 2. − 32 3. − 34 4. 32 5. 3
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 7

18. โฮมสเตย์แห่งหนึ่งมีหอ้ งพักอยู่ 3 ห้อง ประกอบด้วย  ห้องขนาดเล็ก เข้าพักได้ไม่เกิน 2 คน


 ห้องขนาดกลาง เข้าพักได้ไม่เกิน 4 คน
 ห้องขนาดใหญ่ เข้าพักได้ไม่เกิน 6 คน
ถ้ามีลกู ค้าติ ดต่ อเพื่ อขอจองห้องพักในวันที่ 16 เมษายน 2566 จานวน 2 กลุ่ม โดยกลุ่มที่ 1 แจ้งว่ามีผเู้ ข้าพัก 6 คน
และกลุ่มที่ 2 แจ้งว่ามีผเู้ ข้าพัก 3 คน แล้วโฮมสเตย์แห่งนีจ้ ะมีวิธีจดั คนทัง้ สองกลุ่มเข้าห้องพักได้ทงั ้ หมดกี่วิธี
โดยผูเ้ ข้าพักที่อยู่ต่างกลุ่มกัน ต้องไม่พักห้องเดี ยวกัน และผูเ้ ข้าพักที่อยู่กลุ่มเดี ยวกันสามารถเข้าพักห้องเดี ยวกันหรือ
แยกห้องพักได้
1. 22 2. 28 3. 37 4. 40 5. 43

19. บริษัทแห่งหนึ่งมีเครื่องถ่ายเอกสารอยู่ 2 เครื่อง คื อ เครื่อง A และ เครื่อง B


จากข้อมูลการใช้งานเครื่องถ่ายเอกสารทัง้ 2 เครื่องนี ้ พบว่า
 ความน่าจะเป็ นที่เครื่อง A เสีย เท่ากับ 0.11
 ความน่าจะเป็ นที่เครื่อง B เสีย เท่ากับ 0.15
 ความน่าจะเป็ นที่เครื่อง A หรือ เครื่อง B เสีย เท่ากับ 0.18
ความน่าจะเป็ นที่มีเครื่องถ่ายเอกสารไม่เสียอย่างน้อย 1 เครื่อง เท่ากับเท่าใด
1. 0.74 2. 0.82 3. 0.85 4. 0.89 5. 0.92
8 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

20. ผลการสอบคัดเลือกนักเรียนเพื่ อเข้าศึ กษาต่ อชัน้ มัธยมศึ กษาปี ที่ 4 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ซึ่งมีนกั เรียนเข้าสอบ
ทัง้ หมด 200 คน แสดงด้วยตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนของนักเรียนทัง้ หมด ดังนี ้
คะแนนสอบ (คะแนน) จานวนนั กเรียน (คน)
50 2
55 10
60 48
65 40
70 24
75 20
80 20
85 16
90 10
95 6
100 4
รวม 200

จากข้อมูล พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้


ก) ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับ 60 คะแนน
ข) ควอไทล์ที่ 2 ของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับ 75 คะแนน
ค) เมื่อนาคะแนนสอบของนักเรียนทัง้ หมดมาเขี ยนแผนภาพกล่อง พบว่า คะแนนต่ าสุดจากการสอบครัง้ นี ้ เป็ น
ค่ านอกเกณฑ์ของข้อมูลชุดนี ้ (เมื่อค่ านอกเกณฑ์ คื อ ข้อมูลที่มีค่าน้อยกว่า 𝑄1 − 1.5(𝑄3 − 𝑄1 ) หรือ
ข้อมูลที่มีค่ามากกว่า 𝑄3 + 1.5(𝑄3 − 𝑄1 ) โดยที่ 𝑄1 และ 𝑄3 แทนควอไทล์ที่ 1 และควอไทล์ที่ 3 ของ
ข้อมูล ตามลาดับ)
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 9

21. ศูนย์ดูแลผูป้ ่ วยติ ดเตี ยงแห่งหนึ่งมีจานวนผูป้ ่ วยเข้ามาใช้บริการศูนย์แห่งนีท้ งั ้ หมด 120 คน โดยจานวนผูป้ ่ วย


เพศชายคิ ดเป็ นร้อยละ 40 ของจานวนผูป้ ่ วยทัง้ หมด และอายุ (ปี ) ของผูป้ ่ วย จาแนกตามเพศแสดงด้วย
แผนภาพกล่อง ดังนี ้
90
80
70
60
50
40
30
ชาย หญิง
ให้ ค่ าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของผูป้ ่ วยเพศชาย เท่ากับ 70 ปี
และ ค่ าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของผูป้ ่ วยเพศหญิ ง เท่ากับ 55 ปี
พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) ค่ าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุผปู้ ่ วยทัง้ หมดเท่ ากับ 62.5 ปี
ข) พิ สยั ระหว่างควอไทล์ของอายุผปู้ ่ วยเพศชาย น้อยกว่า
พิ สยั ระหว่างควอไทล์ของอายุผปู้ ่ วยเพศหญิ ง
ค) ผูป้ ่ วยที่มีอายุนอ้ ยกว่า 65 ปี มีจานวนไม่เกิน 50 คน
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

22. จากข้อมูลเกี่ยวกับอาการแพ้วคั ซีนชนิดหนึ่ง พบว่า ความน่าจะเป็ นที่ผรู้ ับการฉีดวัคซีนแต่ ละคนจะมีอาการแพ้


เป็ น 0.0002 ถ้านักวิจยั สุ่มผูร้ บั การฉีดวัคซีนชนิดนีจ้ านวน 500 คน ที่เป็ นอิสระกัน แล้วความน่าจะเป็ นที่ผรู้ บั การ
ฉีดวัคซีนจะมีอาการแพ้ไม่เกิน 1 คน เท่ากับเท่าใด
1. 0.9998499 2. 0.1(0.9998499 ) 3. 1.0998 (0.9998499 )
4. 0.9998500 5. 0.1(0.9998500 )
10 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

23. กาหนดกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 เป็ นพาราโบลาที่จดุ ยอดอยู่ที่จดุ (2, 4) และ ตัดแกน X ที่จดุ (0, 0) และ (4, 0)
และกราฟของฟั งก์ชนั 𝑔 และ ℎ เป็ นเส้นตรง ดังรูป
Y
ℎ 6

4
𝑓
𝑔
2

X
0 2 4 6
−2
−2

−4

ข้อใดถูกต้อง
2 4
1. 𝑓 ′ (𝑥 ) = ℎ(𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = −4∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
2 4
2. 𝑓 ′ (𝑥 ) = ℎ(𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = −3∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
2 4
3. 𝑓 ′ (𝑥 ) = ℎ(𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = 4∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
2 4
4. 𝑓 ′ (𝑥 ) = 𝑔 (𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = −4∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
2 4
5. 𝑓 ′ (𝑥 ) = 𝑔 (𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = 4∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 11

24. กาหนดกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 และ 𝑔 ดังรูป


Y Y
5 5
4 4
3 3
𝑓
2 2
𝑔
1 1
X X
−3 −2 −1 0 1 2 3 4 5 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5
−1 −1
−2 −2
−3 −3

พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) lim (𝑓 (𝑥 ) ∙ 𝑔 (𝑥 )) = 1
𝑥→1
ข) lim (𝑓 (𝑥 ) + 𝑔 (𝑥 )) = 0
𝑥→−1
ค) 𝑓 + 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ต่ อเนื่องบนช่วง (2, 4]
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

25. ให้ 𝑝(𝑥 ) = 𝑎𝑥 4 + 𝑏𝑥 3 + 𝑐𝑥 2 + 𝑑𝑥 + 𝑒 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 และ 𝑒 เป็ นจานวนจริง และ 𝑎 ≠ 0


โดยที่ 𝑥 2 − 1 หาร 𝑝(𝑥 ) ลงตัว 𝑝(0) = −2 และ 𝑝′ (0) = −4
ให้ 𝑆 แทนเซตของจานวนจริงทัง้ หมดที่เป็ นคาตอบของสมการ 𝑝(𝑥 ) = 0
ถ้า 𝑛 (𝑆) = 3 แล้วผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝑆 เท่ากับเท่าใด
1. −6 2. −2 3. − 13 4. 23 5. 2
12 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เป็ นคาตอบ จานวน 5 ข้อ ข้อละ 5 คะแนน รวม 25 คะแนน


26. กาหนด 𝑈 แทนเอกภพสัมพัทธ์ และ 𝐴, 𝐵 เป็ นสับเซตของ 𝑈 โดยที่ 𝑛(𝑈) = 100 , 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ) = 35
และ 𝑛 (𝐴′ ∩ 𝐵′) = 9 ถ้า 𝑛(𝐴) ≥ 61 แล้ว 𝑛(𝐵 ) ที่มากที่สดุ ที่เป็ นไปได้เท่ากับเท่าใด

27. รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่งมีการแบ่งพื น้ ที่ออกเป็ น 4 ส่วน ดังรูป


ถ้ามีสีอยู่ 6 สี และต้องการระบายสีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากนีท้ งั ้ 4 ส่วน
โดยแต่ ละส่วนใช้สีเพี ยงสีเดี ยวและส่วนที่อยู่ติดกันต้องใช้สีที่แตกต่ างกัน
แล้วจะมีวิธีระบายสีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากนี ไ้ ด้แตกต่ างกันทัง้ หมดกี่วิธี

28. ข้อมูลการผลิตเหล็กเส้นของโรงงานแห่งหนึ่งเป็ นดังนี ้


“ นา้ หนักของเหล็กเส้นที่ผลิตได้มีการแจกแจงปกติ โดยมีนา้ หนักเฉลี่ย เท่ากับ 𝑎 กิโลกรัม
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 𝑏 กิโลกรัม ”
หากสุ่มเหล็กเส้นจากโรงงานแห่งนีม้ า 1 เส้น พบว่า ความน่าจะเป็ นที่ได้เหล็กเส้นมีนา้ หนักน้อยกว่า 8.86 กิโลกรัม
คื อ 0.31 และความน่าจะเป็ นที่จะได้เหล็กเส้นมีนา้ หนักมากกว่า 8.90 กิโลกรัม คื อ 0.31
ค่ าของ 𝑎 + 2𝑏 เท่ากับเท่าใด
กาหนดตารางแสดงพื น้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติ มาตรฐาน ดังนี ้

𝑧 0 0 𝑧
𝑧 −2 −1.5 −1 −0.5 0.5 1 1.5 2
พืน้ ที่ใต้เส้นโค้ง 0.02 0.07 0.16 0.31 0.69 0.84 0.93 0.98
ปกติมาตรฐาน
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 13

29. วงกลม (𝑥 − 1)2 + (𝑦 − 2)2 = 1 มีเส้นสัมผัสที่ผ่านจุดกาเนิด 2 เส้น คื อแกน Y และเส้นตรง L


ความชันของเส้นตรง L เท่ากับเท่าใด

30. กาหนดให้ 𝑝 (𝑡) แทนปริมาณประจุไฟฟ้าในตัวเก็บประจุตัวหนึ่งที่คิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ (เทียบกับปริมาณประจุไฟฟ้า


สูงสุดที่สามารถเก็บได้) เมื่อชาร์จตัวเก็บประจุที่มีปริมาณประจุไฟฟ้าเริ่มต้น 0 เปอร์เซ็นต์ เป็ นระยะเวลา 𝑡 นาที
𝑡
โดยที่ 𝑝 (𝑡) = 100 (1 − 2−20)
ถ้าครัง้ ที่ 1 ธิดาชาร์จตัวเก็บประจุตัวนีท้ ี่มีปริมาณประจุไฟฟ้าเริ่มต้น 0 เปอร์เซ็นต์ จนได้ประมาณประจุไฟฟ้าเป็ น 50
เปอร์เซ็นต์ และครัง้ ที่ 2 ธิดาชาร์จตัวเก็บประจุตัวนีท้ ี่มีปริมาณประจุไฟฟ้าเริ่มต้น 0 เปอร์เซ็นต์ จนได้ประมาณประจุ
ไฟฟ้าเป็ น 87.5 เปอร์เซ็นต์ แล้วระยะเวลาที่ใช้ในการชาร์จตัวเก็บประจุครัง้ ที่ 2 มากกว่าครัง้ ที่ 1 กี่นาที
14 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

เฉลย
1. 4 7. 1 13. 5 19. 5 25. 3
2. 4 8. 1 14. 5 20. 1 26. 65
3. 4 9. 4 15. 2 21. 2 27. 480
4. 5 10. 4 16. 3 22. 3 28. 8.96
5. 2 11. 3 17. 2 23. 1 29. 0.75
6. 2 12. 1 18. 5 24. 5 30. 40

แนวคิ ด
1. ให้ 𝑝(𝑥 ) = 𝑥 3 + (𝑘 − 1)𝑥 2 − 𝑘 3 เมื่อ 𝑘 เป็ นจานวนจริงลบ
ถ้าเศษเหลือจากการหาร 𝑝(𝑥 ) ด้วย 𝑥 − 3 เท่ากับ 18
แล้วเศษเหลือจากการหาร 𝑝(𝑥 ) ด้วย 2𝑥 + 1 เท่ากับเท่าใด
207 209
1. 3 2. 18 3. 22 4. 8
5. 8
ตอบ 4
จากทฤษฎีเศษ 𝑝(𝑥 ) ด้วย 𝑥 − 3 จะเหลือเศษเท่ากับ 𝑝 (3) ดังนัน้
𝑝(3) = 18
33 + (𝑘 − 1)32 − 𝑘 3 = 18 𝑘 (9 − 𝑘 2 ) = 0
27 + 9𝑘 − 9 − 𝑘 3 = 18 𝑘 (3 − 𝑘 )(3 + 𝑘 ) = 0
9𝑘 − 𝑘3 = 0 𝑘 = 0 , 3 , −3 → โจทย์ให้ 𝑘 เป็ นลบ

เมื่อหาร 𝑝 (𝑥 ) ด้วย 2𝑥 + 1 จะได้เศษเป็ นตัวเลขที่ไม่มี 𝑥 (เพราะเศษต้องมีดีกรีนอ้ ยกว่า 2𝑥 + 1) → ให้เศษ = 𝑟


จากความสัมพันธ์ ตัวตัง้ = ตัวหาร × ผลหาร + เศษ
𝑝 (𝑥 ) = (2𝑥 + 1)(ผลหาร) + 𝑟 แทน 𝑥 = − 12 ให้เกิดค่า 0
1 1
𝑝 (− ) = (2 (− ) + 1) (ผลหาร) + 𝑟 ไปคูณกับพจน์ที่ไม่ตอ้ งการ
2 2
1
𝑝 (− ) = ( 0 ) (ผลหาร) + 𝑟
2
1
𝑝 (− ) = 𝑟
2
1 3 1 2
= (− ) + (𝑘 − 1) (− ) − 𝑘 3
2 2
1 1 −1−8+216 207
= − + (−3 − 1) ( ) − (−3) 3 = =
8 4 8 8

2. ให้ 𝐴 = { 𝑥 ∈ ℤ | |2𝑥 + 3| < 2|𝑥 − 5| } และ 𝐵 = { 𝑥 ∈ ℝ | 0 < 𝑥 < 5 }


พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) สมาชิกของเซต 𝐴 ที่มีค่ามากที่สดุ คื อ 0
ข) 𝐴 − 𝐵 เป็ นเซตอนันต์
ค) ∀𝑥[𝑥 ∈ 𝐴 → 𝑥 ∈ 𝐵 ] มีค่าความจริงเป็ นเท็จ
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 4
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 15

|2𝑥 + 3| < 2|𝑥 − 5|


|2𝑥 + 3|2 < (2 |𝑥 − 5|)2 4𝑥 2 + 12𝑥 + 9 < 4𝑥 2 − 40𝑥 + 100
2
(2𝑥 + 3) 2 < (2 (𝑥 − 5)) 52𝑥 < 91
91 7
4𝑥 2 + 12𝑥 + 9 < 4(𝑥 2 − 10𝑥 + 25) 𝑥 < =
52 4
7
แต่ 𝑥 ใน 𝐴 ต้องเป็ นจานวนเต็ ม (ℤ) ซึ่งจานวนเต็ มที่นอ้ ยกว่า 4 จะมีค่ามากสุดได้เท่ากับ 1 → ก) ผิด
จะได้ 𝐴 = { … , −2, −1, 0, 1 } จะเห็นว่า 𝐴 มีจานวนลบมากมายนับไม่ถว้ น แต่ 𝐵 ไม่มี
ดังนัน้ 𝐴 − 𝐵 จะมีจานวนลบมากมายนับไม่ถว้ น จึงเป็ นเซตอนันต์ → ข) ถูก
และถ้า 𝑥 เป็ นลบแล้ว 𝑥 จะอยู่ใน 𝐴 แต่ ไม่อยู่ใน 𝐵 ทาให้ ∀𝑥[𝑥 ∈ 𝐴 → 𝑥 ∈ 𝐵 ] เป็ นเท็จ → ค) ถูก

3. ให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 และ 𝑠 เป็ นประพจน์ โดยที่ (~𝑝 ∧ 𝑞 ) → [ ~𝑟 → (𝑟 ↔ 𝑠)] มีค่าความจริงเป็ นเท็จ


ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็ นจริง
1. ~𝑝 → 𝑟 2. 𝑝 ∧ 𝑟 3. 𝑝 ↔ 𝑠
4. 𝑞 ∧ 𝑠 5. 𝑞 ↔ 𝑟
ตอบ 4
ย้อนหาค่ าความจริงของประพจน์ จะได้ (~𝑝 ∧ 𝑞 ) → [~𝑟 → (𝑟 ↔ 𝑠)]
F
T → F
T ∧T T → F
~F ~F
F↔T
จะได้ 𝑝≡F, 𝑞≡T, 𝑟≡F, 𝑠 ≡T
1. ~F → F ≡ F 2. F∧F ≡ F 3. F↔T ≡ F
4. T∧T ≡ T 5. T↔F ≡ F

4. กาหนด 𝑝 และ 𝑞 เป็ นประพจน์ และรูปแบบของประพจน์ 𝑝∗𝑞 มีค่าความจริง แสดงดังตาราง


𝑝 𝑞 𝑝∗𝑞
T T F
T F T
F T F
F F T
พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) [(𝑝 ∗ 𝑞 ) ∧ 𝑝] → 𝑞 เป็ นสัจนิรนั ดร์
ข) นิเสธของ 𝑝 ∗ 𝑞 คื อ 𝑝 ∗ ~𝑞
ค) 𝑝 ∗ 𝑞 สมมูลกับ (𝑝 ∧ ~𝑞 ) ∨ (~𝑝 ∧ ~𝑞 )
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 5
16 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

ก) สมมติ ให้ [(𝑝 ∗ 𝑞 ) ∧ 𝑝] → 𝑞 เป็ นเท็จ แล้วย้อนหาค่ าความจริงของ 𝑝 และ 𝑞 ดู


F
T →F
T ∧ T
T∗F
จะได้ 𝑝 ≡ T และ 𝑞 ≡ F อย่างราบรื่น จึงไม่ใช่สจั นิรนั ดร์ → ก) ผิด

ข) จะหาค่ าความจริงของ 𝑝 ∗ ~𝑞 แล้วดูว่าตรงข้ามกับ 𝑝 ∗ 𝑞 ทุกกรณี หรือไม่


เนื่องจากตารางที่โจทย์ให้ ใช้ตัวแปร 𝑝 และ 𝑞 จะทาให้สบั สนตอนหาค่ าความจริงของ 𝑝 ∗ ~𝑞 ได้ง่าย
จึงขอเขี ยนตารางที่โจทย์ให้ในรูปแบบใหม่ (แบบเอา 𝑝 และ 𝑞 ออก) ได้ดังนี ้ T ∗ T ≡ F
T∗F ≡ T
ใช้ข้อมูลรูปแบบใหม่ดังกล่าว ในการหา 𝑝 ∗ ~𝑞 จะได้ดังนี ้ F∗T ≡ F
𝑝 𝑞 ~𝑞 𝑝 ∗ ~𝑞 F∗F ≡ T
T T F T
T F T F
F T F T
จะเห็นว่า 𝑝 ∗ ~𝑞 ตรงข้ามกับ 𝑝∗𝑞
F F T F ในทุกกรณี → ข) ถูก
ค) จัดรูป (𝑝 ∧ ~𝑞 ) ∨ (~𝑝 ∧ ~𝑞 )
ดึง ∧ ~𝑞
≡ (𝑝 ∨ ~𝑝) ∧ ~𝑞
≡ T ∧ ~𝑞
≡ ~𝑞
ซึ่งจากตารางที่โจทย์ให้ จะเห็นว่าค่ าความจริงของ 𝑝 ∗ 𝑞 เหมือนกับค่ าความจริงของ ~𝑞 ทุกกรณี → ค) ถูก
2 log 625
5. ถ้า log 1 256 +
log 5
= 3𝑎 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง แล้วค่ าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
4
33
1. log 3 2 2. log 3 4 3. log 3
4
4. log 3 10 5. log 3 12
ตอบ 2
2 log 625
log 1 256 + = 3𝑎
4 log 5
2 log 5 4
log (2−2)(28 ) + = 3𝑎
log 5
8 8 log 5
log 2 2 + = 3𝑎
−2 log 5
−4 +8 = 3𝑎
4 = 3𝑎
log 3 4 = 𝑎

6. รูปสี่เหลี่ยม ABCD มีมมุ A ขนาด 60 องศา ด้านประกอบมุม A ยาวเท่ากัน มุม C เป็ นมุมที่อยู่ตรงข้ามมุม A มี
ขนาด 120 องศา และด้านประกอบมุม C ยาว 30 และ 50 หน่วย ด้าน AB ยาวกี่หน่วย
1. 80 2. 70 3. 60 4. 50 5. 40
ตอบ 2
D
ด้านประกอบมุม A ยาวเท่ากัน → ให้ AB = 𝑥 = AD 50
ด้านประกอบมุม C ยาว 30 และ 50 หน่วย → ไม่รวู ้ ่าด้านไหน 30 หน่วย ด้านไหน 50 หน่วย 𝑥 C
120°
แต่ ไม่ว่าจะเป็ นแบบไหนก็ได้ AB ยาวเท่ากัน → สมมติ ให้ BC = 30 , CD = 50 ดังรูป 30
ใช้กฏของ cos ใน ∆BCD จะได้ BD = 30 + 50 − 2(30)(50) cos 120°
2 2 2
A
60°
𝑥
B
1
BD2 = 302 + 502 − 2(30)(50) (− )
2
= 900 + 2500 + 1500 = 4900
BD = 70
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 17

เนื่องจาก AB = AD ดังนัน้ ∆ABD เป็ น ∆ หน้าจั่ว และเนื่องจากมุม A = 60° จะได้มมุ ที่ฐาน = 180°−60°
2
= 60°
จะเห็นว่า ∆ABD มีมมุ ภายในทุกมุม = 60° ดังนัน้ ∆ABD เป็ น ∆ ด้านเท่า ซึ่งจะได้ AB = AD = BD = 70
5 3
7. tan (arccos ( ) + arcsin ( ))
13 5
เท่ากับเท่าใด
63 7
1. −
16
2. −
40
3. 98 4. 32
25
5. 63
20
ตอบ 1
5 5
ให้ 𝐴 = arccos (13 ) จะได้ cos 𝐴 =
13
และให้ 𝐵 = arcsin (35) จะได้ sin 𝐵 = 35
5
เนื่องจาก 13 และ 35 เป็ นบวก ดังนัน้ ทัง้ 𝐴 และ 𝐵 มีค่าระหว่าง 0° และ 90°
5
วาดมุม 𝐴 และ 𝐵 ในสามเหลี่ยมที่ cos 𝐴 = 13 และ sin 𝐵 = 35 พร้อมหาด้านที่เหลือด้วยพี ทากอรัสได้ดังรูป

5
3
13 = √132 − 52 = √169 − 25
𝐵
= √144
𝐴 = 12 = √52 − 32
5 = √25 − 9 = √16 = 4
5 3
ดังนัน้ tan (arccos ( ) + arcsin ( )) = tan(𝐴 + 𝐵 )
13 5
tan 𝐴 + tan 𝐵
=
1 − tan 𝐴 tan 𝐵 จากรู ปสามเหลี่ยม จะได้
12 3 12
= 5
+
4 tan 𝐴 =
5
และ tan 𝐵 = 34
12 3
1 − ( )( )
5 4
48 + 15
20 63 20 63
= 20 − 36 = × = −
20 −16 16
20

8. ให้ 𝐴 = { −1, 0 , 1 , 2 }
เป็ นสับเซตของ 𝐴 โดยที่ 𝐵 ≠ ∅ และ 2 ∉ 𝐵
𝐵
และ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐵 โดยที่ 𝑓 (−1) = 1 และ 𝑓 (1) = −1
พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) ถ้า 𝑓(2) > 0 แล้ว 𝑓(2) = 1
ข) 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ ม
ค) 𝑓 มีฟังก์ชนั ผกผัน
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 1
ก) เนื่องจาก 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ไปที่ 𝐵 และ 𝐵 ⊂ 𝐴 และ 2 ∉ 𝐵 ดังนัน้ 𝑓 (2) ต้องอยู่ใน { −1 , 0 , 1 } เท่านัน้
ซึ่งถ้า 𝑓 (2) > 0 แล้ว จะเหลือแค่ 𝑓 (2) = 1 ได้ตัวเดี ยวเท่านัน้ → ก) ถูก
𝑥 เพิ่ม

ข) จาก 𝑓( −1) = 1 และ 𝑓(1) = −1 จะเห็นว่า 𝑥 เพิ่ ม แต่ 𝑦 ลด ผิดเงื่อนไขของฟั งก์ชนั เพิ่ ม → ข) ผิด
𝑦 ลด
18 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

ค) เนื่องจาก 𝐵 ⊂ 𝐴 และ 2 ∉ 𝐵 ดังนัน้ 𝐵 จะมีจานวนสมาชิกน้อยกว่า 𝐴 เสมอ


ซึ่งจะทาให้ฟังก์ชนั 𝑓 จาก 𝐴 ไป 𝐵 ต้องมีสมาชิกใน 𝐴 หลายตัว ถูกโยงไปที่สมาชิกตัวเดี ยวกันใน 𝐵
ดังนัน้ อินเวอร์สของ 𝑓 จะมีสมาชิกตัวหนึ่งใน 𝐵 ถูกโยงกลับไปสมาชิกหลายตัวใน 𝐴 ซึ่งจะไม่ใช่ฟังก์ชนั
𝑓 จึงไม่มีฟังก์ชนั ผกผัน → ค) ผิด

𝑥 −1]
9. ให้ 𝐴=[ และ 𝐵 = [−2 0] เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริง
0 3 𝑥 1
ถ้า det(𝐵 −1 𝐴) = −6 แล้วค่ าของ 𝑥 เท่ากับเท่าใด
1. −4 2. −1 3. 1 4. 4 5. 9
ตอบ 4
det(𝐵 −1 𝐴) = −6
det (𝐵 −1 ) ∙ det(𝐴 ) = −6
1
∙ det (𝐴) = −6
det (𝐵)
1
( −2 )(1 ) − (𝑥)(0 )
∙ ((𝑥 )(3) − (0)( −1)) = −6
1
− ∙ 3𝑥 = −6
2
𝑥 = 4


10. ถ้า 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛 , … เป็ นลาดับอนันต์ โดยที่ 𝑎𝑛 = 1𝑛 − 𝑛+2
1
แล้ว Σ 𝑎𝑛 เท่ากับเท่าใด
𝑛=1
2
1. 0 2. 3 3. 1
3
4. 2
5. หาผลบวกไม่ได้ เพราะอนุกรมนีเ้ ป็ นอนุกรมลู่ออก
ตอบ 4

Σ 𝑎𝑛 = 𝑎1 + 𝑎2 + 𝑎3 + 𝑎4 + 𝑎5 +…
𝑛=1
1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
= ( − ) + ( − ) + ( − ) + ( − ) + ( − ) +…
1 3 2 4 3 5 4 6 5 7

ตัวลบ จะตัดกับตัวตัง้ ของสองพจน์ถดั ไปได้เสมอ ดังนัน้ เมื่อตัดหมดจะเหลือตัวตัง้ 2 ตัวแรก และตัวลบ 2 ตัวสุดท้าย


เมื่อ 𝑛 → ∞ จะทาให้ตัวลบ 2 ตัวสุดท้ายอยู่ในรูป ∞1 ซึ่งจะเข้าใกล้ 0 จึงเหลือแค่ ตัวตัง้ 2 ตัวแรก
∞ 1 1 3
จึงได้ Σ 𝑎𝑛 =
1
+
2
=
2
𝑛=1

11. กาหนดแบบรูปของแผนภาพบันไดไม้ขีดไฟดังนี ้

รู ปที่ 1 รู ปที่ 2 รู ปที่ 3 …


บันไดไม้ขีดไฟ 1 ขั้ น บันไดไม้ขีดไฟ 2 ขั้ น บันไดไม้ขีดไฟ 3 ขั้ น
โดยที่ แทน ไม้ขีดไฟ 1 ก้าน
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 19

ถ้ามะลิมีไม้ขีดไฟจานวน 990 ก้าน เพื่ อต่ อเป็ นรูปบันใด 1 รูป แล้วมะลิจะสามารถสร้างบันไดไม้ชีดไฟได้จานวน


ขัน้ บันไดมากที่สดุ กี่ขัน้
1. 25 2. 29 3. 30 4. 31 5. 33
ตอบ 3
สังเกตจานวนไม้ขีดไฟ ที่ต้องใช้ต่อเพิ่ ม ในการสร้างรูปถัดไป จะเพิ่ มขึ น้ รูปละ 2 ก้าน

รู ปที่ 1 รู ปที่ 2 รู ปที่ 3


ใช้ 4 ก้าน ต้องเพิ่ม 6 ก้านจากรู ปที่ 1 ต้องเพิ่ม 8 ก้านจากรู ปที่ 2
รวม = 4 + 6 ก้าน รวม = 4 + 6 + 8 ก้าน
ดังนัน้ จานวนไม้ขีดไฟที่ต้องใช้ในรูปที่ 𝑛 จะเป็ นอนุกรมเลขคณิต ที่มี 𝑎1 = 4 และ 𝑑 = 2
จากสูตรอนุกรมเลขคณิต จะได้ จานวนไม้ขีดของรูปที่ 𝑛 = 𝑆𝑛 = 𝑛2 (2𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑)
𝑛
990 = (2 (4) + (𝑛 − 1)(2))
2
990 = 4𝑛 + 𝑛2 − 𝑛
2
0 = 𝑛 + 3𝑛 − 990
0 = (𝑛 − 30)(𝑛 + 33)
𝑛 = 30 , −33

12. โต้งกูเ้ งินจากวินเพื่ อการลงทุนจานวน 200,000 บาท โดยโต้งทาสัญญากับวินว่าจะชาระเงินกูพ้ ร้อมดอกเบีย้ ทัง้ หมด
ในอีก 2 ปี ข้างหน้า และวินกาหนดอัตราดอกเบีย้ 2% ต่ อปี โดยคิ ดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุกปี เมื่อครบ 2 ปี ตาม
สัญญา โต้งขอเลื่อนเวลาชาระออกไปอีก 1 ปี โต้งและวินจึงได้ทาสัญญาฉบับใหม่ โดยกาหนดให้เงินกูพ้ ร้อมดอกเบีย้
ทัง้ หมดจาก 2 ปี ที่ผ่านมาเป็ นยอดเงินกูใ้ นสัญญาฉบับใหม่นี ้ และปรับอัตราดอกเบีย้ ใหม่เป็ น 3% ต่ อปี โดยคิ ด
ดอกเบีย้ แบบทบต้นทุก 6 เดื อน เมื่อครบกาหนด 1 ปี ตามสัญญาฉบับใหม่ โต้งจะต้องชาระเงินกูพ้ ร้อมดอกเบีย้
ทัง้ หมดกี่บาท
1. 200,000 (1.02)2 (1.015)2 2. 200,000 (1.02)2 (1.03)
3. 200,000 (1.02)2 (1.03)2 4. 200,000 [(1.02)2 + (1.015)2 ]
5. 200,000 [(1.02)2 + (1.03)2 ]
ตอบ 1
ช่วง 2 ปี แรก ทบต้นทุกปี จะได้ 𝑛 = 2 ดอกเบีย้ 𝑟 = 2% และเงินต้น 𝑃 = 200,000 บาท
2 2
จะได้มลู ค่ ารวมเมื่อผ่านไป 2 ปี = 𝑃 (1 + 𝑟)𝑛 = 200,000(1 + 100 ) = 200,000(1.02)2 บาท
ช่วง 1 ปี หลัง ทบต้นทุก 6 เดื อน = ปี ละ 2 ครัง้ → คิ ดเป็ นจานวนงวด 𝑛 = 2 งวด
3%
→ ดอกเบีย้ 3% ต่ อปี คิ ดเป็ นดอกเบีย้ ต่ องวด 𝑟 = = 1.5%
2
→ เงินต้น 𝑃 = เงินหลังจบ 2 ปี แรก = 200,000(1.02)2 บาท
20 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

1.5 2
จะได้เงินรวมตอนสุดท้าย = 𝑃 (1 + 𝑟)𝑛 = 200,000(1.02)2 (1 +
100
)
= 200,000(1.02)2 (1.015 )2 บาท

13. ให้จานวนเชิงซ้อน 𝑢 = cos 𝜋3 + 𝑖 sin 𝜋3 และ 𝑣 เป็ นรากที่ 3 ของจานวนเชิงซ้อน cos 𝜋2 + 𝑖 sin 𝜋2
ถ้าส่วนจริงของ 𝑢𝑣 เป็ นจานวนจริงลบ แล้วส่วนจริงของ 𝑣 เท่ากับเท่าใด
1. cos 𝜋6 2. cos 5𝜋 6
3. cos 5𝜋
4
4. cos 4𝜋3
5. cos 3𝜋
2
ตอบ 5
หารากที่ 3 → เขี ยน cos 𝜋2 + 𝑖 sin 𝜋2 ในรูปเชิงขัว้ จะได้ 1 cis 𝜋2 = 1 cis 90°
จะได้รากที่ 3 รากแรกคื อ 3√1 cis 90° 3
= 1 cis 30°
ที่เหลืออีก 2 ราก จะได้จากการเพิ่ มมุมทีละ 360° 3
= 120° → จะได้รากที่เหลือคื อ 1 cis 150° และ 1 cis 270°
ดังนัน้ ค่ าที่เป็ นไปได้ของ 𝑣 คื อ 1 cis 30° , 1 cis 150° , 1 cis 270°
เขี ยน 𝑢 ในรูปเชิงขัว้ จะได้ 𝑢 = 1 cis 𝜋3 = 1 cis 60°
𝑢 1 cis 60° 1 cis 60° 1 cis 60°
จะได้ค่าที่เป็ นไปได้ของ 𝑣
คื อ 1 cis 30°
,
1 cis 150°
,
1 cis 270°
𝑟1 cis 𝜃1
=
𝑟1
cis(𝜃1 − 𝜃2 )
𝑟2 cis 𝜃2 𝑟2
= 1 cis 30° , 1 cis( −90°) , 1 cis(−210°)
แต่ ส่วนจริงของ 𝑣 เป็ นลบ แสดงว่า 𝑢𝑣 ต้องอยู่ในจตุภาคที่ 2 หรือ 3
𝑢
ส่วนจินตภาพ (+)
ซึ่งจะมีแค่ 1 cis(−210°) เท่านัน้ 2 1
1 cis 60° 𝑢
ส่วนจริง (−) ส่วนจริง (+)
ย้อนกลับหา 𝑣 จะได้ 1 cis(−210°) = 1 cis 270° = 𝑣
3 4
จะได้ 𝑣 = 1 cis 270° = cos 270° + 𝑖 sin 270° ส่วนจินตภาพ (−)

ซึ่งจะมีส่วนจริง = cos 270° = cos 3𝜋


2

14. ให้ 𝐴 แทนเซตของจานวนเชิงซ้อน 𝑧 ทัง้ หมดในระนาบเชิงซ้อน ซึ่งสอดคล้องกับ


อสมการ |𝑧 − 𝑖 |2 + |𝑧 + 𝑖 |2 < 4 พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) ถ้า 𝑤 ∈ 𝐴 แล้ว Re(𝑤) ∈ 𝐴
ข) ถ้า 𝑤 ∈ 𝐴 แล้ว 𝑤̅ ∈ 𝐴
ค) ถ้า 𝑤 ∈ 𝐴 แล้ว 𝑤 2 ∈ 𝐴
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 5
แทน 𝑧 = 𝑥 + 𝑦𝑖 ในอสมการ |𝑧 − 𝑖 |2 + |𝑧 + 𝑖 |2 < 4
|𝑥 + 𝑦𝑖 − 𝑖 |2 + |𝑥 + 𝑦𝑖 + 𝑖 |2 < 4
|𝑥 + (𝑦 − 1)𝑖 |2 + |𝑥 + (𝑦 + 1) 𝑖 |2 < 4
|𝑎 + 𝑏𝑖| = √𝑎 2 + 𝑏 2
𝑥 2 + (𝑦 − 1)2 + 𝑥 2 + (𝑦 + 1)2 < 4
2𝑥 2 + 𝑦 2 − 2𝑦 + 1 + 𝑦 2 + 2𝑦 + 1 < 4
2𝑥 2 + 2𝑦 2 < 2
2 2
𝑥 + 𝑦 < 1
|𝑧| = √𝑥2 + 𝑦 2 |𝑧|2 < 1 ดังนัน้ 𝑧∈𝐴 เมื่อ |𝑧|2 < 1
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 21

ให้ 𝑤 ∈ 𝐴 จะได้ |𝑤 |2 < 1 …(∗)


ก) โจทย์ถามว่า Re(𝑤) ∈ 𝐴 หรือไม่ → ต้องดูว่า |Re (𝑤 )|2 < 1 หรือไม่
เนื่องจาก |Re(𝑤 )|2 ≤ |Re(𝑤 )|2 + |Im(𝑤)|2
= |𝑤 |2 < 1 จาก (∗)
ดังนัน้ Re(𝑤) ∈ 𝐴 → ก) ถูก
ข) โจทย์ถามว่า 𝑤̅ ∈ 𝐴 หรือไม่ → ต้องดูว่า |𝑤̅|2 < 1 หรือไม่
เนื่องจาก |𝑤̅ |2 = |𝑤 |2 < 1 (จาก ∗) จึงทาให้ 𝑤̅ ∈ 𝐴 → ข) ถูก
ค) โจทย์ถามว่า 𝑤 2 ∈ 𝐴 หรือไม่ → ต้องดูว่า |𝑤 2 |2 < 1 หรือไม่
จาก (∗) : |𝑤 |2 < 1 กระจายค่าสัมบูรณ์ในการคูณ หาร ยกกาลังได้
|𝑤 2 | < 1
ยกกาลัง 2 ทั้งสองข้าง
|𝑤 2 |2 < 1
ดังนัน้ 𝑤2 ∈ 𝐴 → ค) ถูก

15. กาหนดเวกเตอร์ในระบบพิ กดั ฉากสามมิติ ดังนี ้ ⃑ = 2𝑖 − 𝑗 + 2𝑘⃑


𝑢
𝑣 = −𝑖 − 2𝑗 + 3𝑘⃑
⃑⃑ = 4𝑖 + 3𝑗 + 𝑎𝑘⃑
𝑤 เมื่อ 𝑎 เป็ นจานวนจริง
ถ้า 𝑢
⃑ ×𝑣 ตัง้ ฉากกับ 𝑤⃑⃑ แล้วค่ าของ 𝑎 เท่ากับเท่าใด
21
1. −
5
2. −4 3. − 13 4. 1
3
5. 1
ตอบ 2
ตัง้ ฉากกัน จะดอทกันได้ 0 ดังนัน้ (𝑢
⃑ × 𝑣) ∙ 𝑤
⃑⃑ = 0
2 −1 (−1)(3) − (2)(−2) 1
𝑢 [ ]
⃑ × 𝑣 = −1 × −2 = [ ] [ ( )( )
2 −1 − 2 3( )( ) ] = −8]
[
2 3 (2)( −2) − ( −1)(−1) −5
1 4
ดังนัน้ (𝑢⃑ × 𝑣 ) ∙ 𝑤
⃑⃑ = [−8] ∙ [ 3] = (1)(4) + (−8)(3) + (−5𝑎) = 0
−5 𝑎 −5𝑎 = 20
𝑎 = −4

Z
16. กาหนดทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ABCDEFGH ในระบบพิ กดั ฉากสามมิติ
ที่มี จุด B(1, 1, 0) จุด C(1, 2, 0) และจุด F(0, 1, 2) F(0,1,2) E
เมื่อลาก ̅̅ ̅̅ และ ̅CE
AC ̅̅̅ จะได้ AĈ E = 𝜃 ดังรูป
G H
ค่ าของ sec 𝜃 เท่ากับเท่าใด
1 1
1. √10 2. 10
A D Y
3. √10 4. 10 0
𝜃
√5
5. √2 B(1,1,0) C(1,2,0)
X
ตอบ 3
𝜃 เป็ นมุมระหว่าง ⃑⃑⃑⃑⃑
CA และ ⃑⃑⃑⃑
CE → จะใช้สตู ร ⃑⃑⃑⃑⃑
CA ∙ ⃑⃑⃑⃑
CE = |⃑⃑⃑⃑⃑
CA| |⃑⃑⃑⃑
CE | cos 𝜃
22 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

หาพิ กดั A → ใช้ B(1, 1, 0) มาลดค่ าพิ กดั 𝑋 ให้เหลือ 0 จะได้พิกดั A(0, 1 ,0)
0−1 −1
จากพิ กดั C(1, 2, 0) จะได้ ⃑⃑⃑⃑⃑
CA = [ 1 − 2] = [−1] และ |⃑⃑⃑⃑⃑ CA| = √ (−1)2 + (−1) 2 + 0 = √2
0−0 0
หาพิ กดั E → ใช้ F(0, 1, 2) มาเพิ่ มค่ าพิ กดั 𝑌 ขึ น้ เท่ากับความยาว BC (= 1) จะได้พิกดั E(0, 2, 2)
0−1 −1
จากพิ กดั C(1, 2, 0) จะได้ CE
⃑⃑⃑⃑ = [2 − 2] = [ 0 ] และ |CE ⃑⃑⃑⃑ | = √(−1)2 + 02 + 22 = √5
2−0 2
−1 −1
และจะได้ ⃑⃑⃑⃑⃑
CA ∙ ⃑⃑⃑⃑
CE = [−1] ∙ [ 0 ] = (−1)(−1) + (−1)(0) + (0)(2) = 1
0 2
แทนใน ⃑⃑⃑⃑⃑
CA ∙ ⃑⃑⃑⃑
CE = |⃑⃑⃑⃑⃑
CA| |⃑⃑⃑⃑
CE | cos 𝜃
1 = √2 √5 cos 𝜃
1
= cos 𝜃
√10 sec เป็ นส่วนกลับของ cos
√10 = sec 𝜃

2 2
17. ให้จดุ (𝑎, 𝑏) เป็ นจุดบนวงรี 𝑥2 + 𝑦3 = 1 ถ้าระยะห่างระหว่างจุด (𝑎, 𝑏) กับจุด (0, − 54) เท่ากับระยะระหว่าง
จุด (𝑎, 𝑏) กับเส้นตรง 𝑦 = − 34 แล้วค่ าของ 𝑏 เท่ากับเท่าใด
1. −3 2. − 32 3. − 34 4. 32 5. 3
ตอบ 2
𝑥2 𝑦2 𝑎2 𝑏2
(𝑎, 𝑏) เป็ นจุดบนวงรี + =1 ต้องแทนในสมการวงรีแล้วเป็ นจริง ดังนัน้ + =1
2 3 2 3
2𝑏2
𝑎2 =2− …(∗)
3

2 2
จากสูตร จะได้ระยะจาก (𝑎, 𝑏) ถึง (0, − 54) คื อ √(𝑎 − 0)2 + (𝑏 − (− 5)) = √ 𝑎2 + (𝑏 + 5)
4 4
…(1)
3
𝑦=−
4
เป็ นเส้นตรงแนวนอน ดังนัน้ ระยะจากจุดใดๆ ไปยัง 𝑦 = − 34 หาได้จากผลต่ างของพิ กดั Y กับ − 34 ได้เลย
จะได้ระยะจาก (𝑎, 𝑏) ไปยัง 𝑦 = − 34 คื อ |𝑏 − (− 34)| = |𝑏 + 34| …(2)
5 2 3
โจทย์ให้ (1) = (2) : √ 𝑎2 + (𝑏 + )
4
= |𝑏 + |
4
5 2 3 2
เมื่อถูกยกกาลังสอง จะเอาค่าสัมบูรณ์ออกได้
2 (𝑏 + ) (𝑏 + )
𝑎 + =
จาก (∗) 4 4
2𝑏2 2 5𝑏 25 2 3𝑏 9
2− +𝑏 + + = 𝑏 + +
3 2 16 2 16
2𝑏2
− +𝑏 +3 = 0
3 คูณ −3 ตลอด
2
2𝑏 − 3𝑏 − 9 = 0
(2𝑏 + 3)(𝑏 − 3) = 0
3
𝑏=− , 3 = 0
2
𝑥2 𝑦2
แต่ วงรี 2 + 3 = 1 เป็ นวงรีแนวตัง้ ที่มีจดุ ยอดคื อ (0, ±√3)
3
ดังนัน้ 𝑏 จะมีค่าได้ตงั ้ แต่ −√3 ถึง √3 (ประมาณ −1.732 ถึง 1.732) จึงเหลือ 𝑏=−
2
เท่านัน้
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 23

18. โฮมสเตย์แห่งหนึ่งมีหอ้ งพักอยู่ 3 ห้อง ประกอบด้วย  ห้องขนาดเล็ก เข้าพักได้ไม่เกิน 2 คน


 ห้องขนาดกลาง เข้าพักได้ไม่เกิน 4 คน
 ห้องขนาดใหญ่ เข้าพักได้ไม่เกิน 6 คน
ถ้ามีลกู ค้าติ ดต่ อเพื่ อขอจองห้องพักในวันที่ 16 เมษายน 2566 จานวน 2 กลุ่ม โดยกลุ่มที่ 1 แจ้งว่ามีผเู้ ข้าพัก 6 คน
และกลุ่มที่ 2 แจ้งว่ามีผเู้ ข้าพัก 3 คน แล้วโฮมสเตย์แห่งนีจ้ ะมีวิธีจดั คนทัง้ สองกลุ่มเข้าห้องพักได้ทงั ้ หมดกี่วิธี
โดยผูเ้ ข้าพักที่อยู่ต่างกลุ่มกัน ต้องไม่พักห้องเดี ยวกัน และผูเ้ ข้าพักที่อยู่กลุ่มเดี ยวกันสามารถเข้าพักห้องเดี ยวกันหรือ
แยกห้องพักได้
1. 22 2. 28 3. 37 4. 40 5. 43
ตอบ 5
กรณีกลุ่ม 3 คน แยกห้องกัน : กลุ่ม 3 คนจะต้องพักห้องเล็กกับห้องกลาง และกลุ่ม 6 คนพักห้องใหญ่
ในกลุ่ม 3 คน เลือก 1 คนที่จะแยกพักคนเดี ยว เลือกได้ 3 แบบ
เลือกห้องให้คนที่แยกพักคนเดี ยว เลือกห้องเล็กหรือห้องกลาง ได้ 2 แบบ
อีก 2 คนที่เหลือ เลือกไม่ได้ ต้องพักรวมกันในห้องกลางหรือห้องเล็กที่ไม่ถกู เลื อก
รวมจานวนแบบได้ 3 × 2 = 6 แบบ (กลุ่ม 6 คน เลือกอะไรไม่ได้ ต้องพักรวมกันในห้องใหญ่ )
กรณีกลุ่ม 3 คน พักห้องเดี ยวกัน : กลุ่ม 3 คน ต้องพักรวมกันในห้องใหญ่ หรือห้องกลางเท่านัน้
กรณีกลุ่ม 3 คน พักรวมกันในห้องใหญ่ : กลุ่ม 6 คนต้องแบ่ง 2 คนพักห้องเล็ก และ 4 คนพักห้องกลาง
ในกลุ่ม 6 คน เลือก 2 คนที่จะพักห้องเล็ก เลือกได้ (62) = 6×5 2
= 15 แบบ
(อีก 4 คนที่เหลือ เลือกไม่ได้แล้ว ต้องพักรวมกันในห้องกลาง)
(กลุ่ม 3 คน เลือกอะไรไม่ได้ ต้องพักรวมกันในห้องใหญ่ )
กรณีกลุ่ม 3 คน พักรวมกันในห้องกลาง : กลุ่ม 6 คนจะเลือกพักห้องใหญ่ รวมกัน หรือจะแบ่งไปห้องเล็กบ้างก็ได้
กรณีกลุ่ม 6 คน พักรวมกันในห้องใหญ่ : เลือกอะไรไม่ได้ นับเป็ น 1 แบบ
กรณีกลุ่ม 6 คน แบ่ง 1 คนไปห้องเล็ก : เลือก 1 คนนัน้ ได้ 6 แบบ
(อีก 5 คนที่เหลือ เลือกไม่ได้ ต้องพักรวมกันในห้องใหญ่ )
กรณีกลุ่ม 6 คน แบ่ง 2 คนไปห้องเล็ก : เลือก 2 คนนัน้ ได้ (62) = 6×5 2
= 15 แบบ
(อีก 4 คนที่เหลือ เลือกไม่ได้ ต้องพักรวมกันในห้องใหญ่ )
(กลุ่ม 3 คน เลือกอะไรไม่ได้ ต้องพักรวมกันในห้องกลาง)
รวมจานวนแบบของทุกกรณี จะได้ 6 + 15 + 1 + 6 + 15 = 43 แบบ

19. บริษัทแห่งหนึ่งมีเครื่องถ่ายเอกสารอยู่ 2 เครื่อง คื อ เครื่อง A และ เครื่อง B


จากข้อมูลการใช้งานเครื่องถ่ายเอกสารทัง้ 2 เครื่องนี ้ พบว่า
 ความน่าจะเป็ นที่เครื่อง A เสีย เท่ากับ 0.11
 ความน่าจะเป็ นที่เครื่อง B เสีย เท่ากับ 0.15
 ความน่าจะเป็ นที่เครื่อง A หรือ เครื่อง B เสีย เท่ากับ 0.18
ความน่าจะเป็ นที่มีเครื่องถ่ายเอกสารไม่เสียอย่างน้อย 1 เครื่อง เท่ากับเท่าใด
1. 0.74 2. 0.82 3. 0.85 4. 0.89 5. 0.92
ตอบ 5
24 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

จากสูตร 𝑃(A ∪ B) = 𝑃(A) + 𝑃(B) − 𝑃(A ∩ B)


0.18 = 0.11 + 0.15 − 𝑃 (A ∩ B)
𝑃(A ∩ B) = 0.08
“ไม่เสียอย่างน้อย 1 เครื่อง” จะตรงข้ามกับ “เสียทัง้ 2 เครื่อง”
ดังนัน้ 𝑃(ไม่เสียอย่างน้อย 1 เครื่อง) = 1 − 𝑃(เสียทัง้ 2 เครื่อง)
= 1 − 𝑃( A∩B ) = 1 − 0.08 = 0.92

20. ผลการสอบคัดเลือกนักเรียนเพื่ อเข้าศึ กษาต่ อชัน้ มัธยมศึ กษาปี ที่ 4 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ซึ่งมีนกั เรียนเข้าสอบ
ทัง้ หมด 200 คน แสดงด้วยตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนของนักเรียนทัง้ หมด ดังนี ้
คะแนนสอบ (คะแนน) จานวนนั กเรียน (คน)
50 2
55 10
60 48
65 40
70 24
75 20
80 20
85 16
90 10
95 6
100 4
รวม 200

จากข้อมูล พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้


ก) ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับ 60 คะแนน
ข) ควอไทล์ที่ 2 ของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับ 75 คะแนน
ค) เมื่อนาคะแนนสอบของนักเรียนทัง้ หมดมาเขี ยนแผนภาพกล่อง พบว่า คะแนนต่ าสุดจากการสอบครัง้ นี ้ เป็ น
ค่ านอกเกณฑ์ของข้อมูลชุดนี ้ (เมื่อค่ านอกเกณฑ์ คื อ ข้อมูลที่มีค่าน้อยกว่า 𝑄1 − 1.5(𝑄3 − 𝑄1 ) หรือ
ข้อมูลที่มีค่ามากกว่า 𝑄3 + 1.5(𝑄3 − 𝑄1 ) โดยที่ 𝑄1 และ 𝑄3 แทนควอไทล์ที่ 1 และควอไทล์ที่ 3 ของ
ข้อมูล ตามลาดับ)
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) ข) และ ค) ถูกต้อง
ตอบ 1
ก) คะแนนสอบที่มีจานวนนักเรียนมากที่สดุ (48 คน) คื อ 60 คะแนน = ฐานนิยม → ก) ถูก
ข) ควอไทล์ที่ 2 จะอยู่ตาแหน่งที่ 24 (𝑁 + 1) = 24 (200 + 1) = 100.5 → ต้องหาคะแนนคนที่ 100.5
หาข้อมูลในตาแหน่งต่ างๆ จะต้องใช้ความถี่สะสม → สร้างช่องความถี่สะสมได้ดังตาราง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 25

คะแนนสอบ (คะแนน) จานวนนั กเรียน (คน) จานวนนั กเรียนสะสม (คน)


50 2 2
55 10 12
60 48 60
65 40 100
70 24 124
75 20 144
80 20 164
85 16 180
90 10 190
95 6 196
100 4 200

จะเห็นว่าคนที่ 100 (ซึ่งเป็ นคนสุดท้ายของชัน้ ) ได้ 65 คะแนน และคนที่ 101 (ซึ่งอยู่ในชัน้ ถัดไป) ได้ 70 คะแนน
ดังนัน้ คนที่ 100.5 ได้คะแนน = คนที่ 100 + 0.5(คนที่ 101 − คนที่ 100)
= 65 + 0.5( 70 − 65 ) = 67.5 → ข) ผิด
ค) ควอไทล์ที่ 1 อยู่ตาแหน่งที่ 14 (𝑁 + 1) = 14 (200 + 1) = 50.25
จะเห็นว่าความถี่สะสมเพิ่ มเป็ น 60 ซึ่งเกิน 50.25 ในชัน้ ที่ 3 ซึ่งตรงกับชัน้ 60 คะแนน → 𝑄1 = 60
ควอไทล์ที่ 3 อยู่ตาแหน่งที่ 34 (𝑁 + 1) = 34 (200 + 1) = 150.75
จะเห็นว่าความถี่สะสมเพิ่ มเป็ น 164 ซึ่งเกิน 150.75 ในชัน้ 80 คะแนน → 𝑄3 = 80
จะได้ 𝑄1 − 1.5(𝑄3 − 𝑄1 ) = 60 − 1.5(80 − 60) = 30
𝑄3 + 1.5( 𝑄3 − 𝑄1 ) = 80 + 1.5(80 − 60) = 110
ดังนัน้ ค่ านอกเกณฑ์ คื อข้อมูลที่นอ้ ยกว่า 30 คะแนน หรือมากกว่า 110 คะแนน
ดังนัน้ คะแนนต่ าสุด (= 50 คะแนน) จะไม่ใช่ค่านอกเกณฑ์ → ค) ผิด

21. ศูนย์ดูแลผูป้ ่ วยติ ดเตี ยงแห่งหนึ่งมีจานวนผูป้ ่ วยเข้ามาใช้บริการศูนย์แห่งนีท้ งั ้ หมด 120 คน โดยจานวนผูป้ ่ วย


เพศชายคิ ดเป็ นร้อยละ 40 ของจานวนผูป้ ่ วยทัง้ หมด และอายุ (ปี ) ของผูป้ ่ วย จาแนกตามเพศแสดงด้วย
แผนภาพกล่อง ดังนี ้
90
80
70
60
50
40
30
ชาย หญิง
ให้ ค่ าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของผูป้ ่ วยเพศชาย เท่ากับ 70 ปี
และ ค่ าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของผูป้ ่ วยเพศหญิ ง เท่ากับ 55 ปี
26 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) ค่ าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุผปู้ ่ วยทัง้ หมดเท่ากับ 62.5 ปี
ข) พิ สยั ระหว่างควอไทล์ของอายุผปู้ ่ วยเพศชาย น้อยกว่า
พิ สยั ระหว่างควอไทล์ของอายุผปู้ ่ วยเพศหญิ ง
ค) ผูป้ ่ วยที่มีอายุนอ้ ยกว่า 65 ปี มีจานวนไม่เกิน 50 คน
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 2
40
ก) มีผชู้ าย = 100 × 120 = 48 คน และจะเหลือผูห้ ญิ ง = 120 − 48 = 72 คน
จาก ค่ าเฉลี่ยผูช้ าย = 70 ปี จะได้ผลรวมอายุผชู้ าย = 70 × 48 ปี
∑ 𝑥 = 𝑁 ∙ 𝑥̅
ค่ าเฉลี่ยผูห้ ญิ ง = 55 ปี จะได้ผลรวมอายุผหู้ ญิ ง = 55 × 72 ปี
ผลรวมอายุทั้งหมด (70 )(48 ) + (55 )(72 )
จะได้ค่าเฉลี่ยอายุทงั ้ หมด =
จานวนคนทั้งหมด
=
120
= 28 + 33 = 61 ปี → ก) ผิด
ข) พิ สยั ระหว่างควอไทล์ = 𝑄3 − 𝑄1
พิสัยระหว่าง
ซึ่งจะเท่ากับความสูงของกรอบสี่เหลี่ยมนั่นเอง ควอไทล์ชาย
จากแผนภาพ กรอบของผูช้ ายจะเตี ย้ กว่า
พิสัยระหว่าง
ดังนัน้ พิ สยั ระหว่างควอไทล์ ของชาย จะน้อยกว่า หญิ ง คอวไทล์หญิง
→ ข) ถูก
ค) 60 น้อยกว่า 65 ปี จะมี ผูช้ ายเกือบๆ 1 กล่อง และ ผูห้ ญิ ง 3 กล่องนิดๆ
50 หญิง แต่ ละกล่องในแผนภาพกล่อง จะมีข้อมูล 25%
3 กล่อง มีผห ู้ ญิ ง 72 คน → ผูห้ ญิ ง 3 กล่อง = 3 × 100 25
× 72 = 54 คน
40
30 ดังนัน้ น้อยกว่า 65 ปี แค่ ผหู้ ญิ งอย่างเดี ยวก็เกิน 54 คนแล้ว → ค) ผิด

22. จากข้อมูลเกี่ยวกับอาการแพ้วคั ซีนชนิดหนึ่ง พบว่า ความน่าจะเป็ นที่ผรู้ บั การฉีดวัคซีนแต่ ละคนจะมีอาการแพ้


เป็ น 0.0002 ถ้านักวิจยั สุ่มผูร้ บั การฉีดวัคซีนชนิดนีจ้ านวน 500 คน ที่เป็ นอิสระกัน แล้วความน่าจะเป็ นที่ผรู้ บั การ
ฉีดวัคซีนจะมีอาการแพ้ไม่เกิน 1 คน เท่ากับเท่าใด
1. 0.9998499 2. 0.1(0.9998499 ) 3. 1.0998 (0.9998499 )
4. 0.9998500 5. 0.1(0.9998500 )
ตอบ 3
แพ้ไม่เกิน 1 คน คื อ แพ้ 1 คน หรือไม่แพ้เลย (คื อ แพ้ 0 คน)
จากสูตรความน่าจะเป็ นในการแจกแจงทวินาม 𝑃 (𝑋 = 𝑥 ) = (𝑛𝑥) 𝑝𝑥 (1 − 𝑝)𝑛−𝑥
จะได้ 𝑃(แพ้ 1 คน) = (500 1
)(0.0002) 1 (1 − 0.0002)500−1 = 0.1( 0.9998499 )
𝑃(แพ้ 0 คน) = (500 0
)(0.0002) 0 (1 − 0.0002)500−0 = 0.9998500
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 27

ดังนัน้ 𝑃(แพ้ไม่เกิน 1 คน) = 𝑃(แพ้ 1 คน) + 𝑃(แพ้ 0 คน)


= 0.1(0.9998499 ) + 0.9998500
ดึงตัวร่วม 0.9998499
= (0.1 + 0.99981 )( 0.9998499 )
= 1.0998 ( 0.9998499 )

23. กาหนดกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 เป็ นพาราโบลาที่จดุ ยอดอยู่ที่จดุ (2, 4) และ ตัดแกน X ที่จดุ (0, 0) และ (4, 0)
และกราฟของฟั งก์ชนั 𝑔 และ ℎ เป็ นเส้นตรง ดังรูป
Y
ℎ 6

4
𝑓
𝑔
2

X
0 4
−2 2 6
−2

−4

ข้อใดถูกต้อง
2 4
1. 𝑓 ′ (𝑥 ) = ℎ(𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = −4∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
2 4
2. 𝑓 ′ (𝑥 ) = ℎ(𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = −3∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
2 4
3. 𝑓 ′ (𝑥 ) = ℎ(𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = 4∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
2 4
4. 𝑓 ′ (𝑥 ) = 𝑔 (𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = −4∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
2 4
5. 𝑓 ′ (𝑥 ) = 𝑔 (𝑥 ) และ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = 4∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥
0 2
ตอบ 1
ดูตัวเลือกแล้ว คงต้องหา 𝑓 (𝑥 ) , 𝑔 (𝑥 ) , ℎ (𝑥 ) ก่อน
𝑔 เป็ นเส้นตรงที่มีระยะตัดแกน 𝑋 และ 𝑌 คื อ 2 และ 1 ℎ เป็ นเส้นตรงที่มีระยะตัดแกน 𝑋 และ 𝑌 คื อ 2 และ 4
𝑥 𝑦 𝑥 𝑦
จะมีสมการคื อ 2 + 1 = 1 จะมีสมการคื อ 2
+
4
= 1
𝑥
𝑦 = − +1 𝑦 𝑥
2 = − +1
4 2
𝑥
𝑔 (𝑥 ) = − + 1 𝑦 = −2𝑥 + 4
2
ℎ 𝑥 ) = −2𝑥 + 4
(
𝑓 เป็ นพาราโบลาคว่ าที่มีจดุ ยอด (ℎ, 𝑘) = (2, 4) จะมีรูปสมการคื อ 𝑦 = 𝑎(𝑥 − 2) 2 + 4 เมื่อ 𝑎 < 0
พาราโบลาผ่านจุด (0, 0) → แทนในสมการพาราโบลา จะได้ 0 = 𝑎 (0 − 2) 2 + 4
−4 = 4𝑎
−1 = 𝑎
จะได้สมการพาราโบลาคื อ 𝑦 = − (𝑥 − 2)2 + 4
= − (𝑥 2 − 4𝑥 + 4) + 4 ดังนัน้ 𝑓 (𝑥 ) = −𝑥 2 + 4𝑥
= −𝑥 2 + 4𝑥 𝑓 ′ (𝑥 ) = −2𝑥 + 4 = ℎ (𝑥 ) …(∗)
28 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

2
∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 จะหาจากการอินทิเกรตปกติ ก็ได้ หรือจะหาจากพื น้ ที่ ใต้โค้ง (ซึ่งบังเอิญเป็ นรูปสามเหลี่ยม) ก็ได้
0
2
1 1
พื น้ ที่สามเหลี่ยม =
2
× ฐาน × สูง =
2
×2×4 = 4 ดังนัน้ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = 4 ...(1)
0
4
∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥 จะหาจากการอินทิเกรตปกติ ก็ได้ หรือจะหาได้จากพื น้ ที่ระหว่าง 𝑔 กับแกน 𝑋 ตรงช่วง 𝑥 = 2 ถึง 4 ก็ได้
2
จากความสมมาตร พื น้ ที่ตรงช่วง 𝑥 = 2 ถึง 4 จะเท่ากับพื น้ ที่ตรงช่วง 𝑥 = 0 ถึง 2
ซึ่งหาได้จาก 12 × ฐาน × สูง = 12 × 2 × 1 = 1 2 4

4
แต่ พืน้ ที่ตรงช่วง 𝑥 = 2 ถึง 4 อยู่ใต้แกน 𝑋 จะมีค่าติ ดลบ ดังนัน้ ∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥 = −1 …(2)
2
2 4
จาก (1) และ (2) จะได้ ∫ ℎ(𝑥 ) 𝑑𝑥 = −4 ∫ 𝑔(𝑥 ) 𝑑𝑥 ซึ่งเมื่อรวมกับ (∗) จะได้คาตอบคื อข้อ 1
0 2

24. กาหนดกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 และ 𝑔 ดังรูป


Y Y
5 5
4 4
3 3
𝑓
2 2
𝑔
1 1
X X
−3 −2 −1 0 1 2 3 4 5 −3 −2 −1 0 1 2 3 4 5
−1 −1
−2 −2
−3 −3

พิ จารณาข้อความต่ อไปนี ้
ก) lim (𝑓 (𝑥 ) ∙ 𝑔 (𝑥 )) = 1
𝑥→1
ข) lim (𝑓 (𝑥 ) + 𝑔 (𝑥 )) = 0
𝑥→−1
ค) 𝑓 + 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ต่ อเนื่องบนช่วง (2, 4]
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพี ยงข้อเดี ยวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 5
ก) จากกราฟ 𝑓 เมื่อ 𝑥 มีค่าใกล้ๆ 1 จะได้ 𝑦 มีค่าประมาณ 4 ดังนัน้ lim 𝑓(𝑥 ) = 4
𝑥→1
จากกราฟ 𝑔 เมื่อ 𝑥 มีค่าใกล้ๆ 1 จะได้ 𝑦 มีค่าประมาณ 2 ดังนัน้ lim 𝑔(𝑥 ) = 2
𝑥→1
ดังนัน้ lim (𝑓 (𝑥 ) ∙ 𝑔(𝑥 )) = 4 ∙ 2 = 8 → ก) ผิด
𝑥→1

ข) เมื่อ 𝑥 มีค่าใกล้ๆ −1 กราฟของ 𝑓 และ 𝑔 มีค่า 𝑦 ทางซ้าย −1 กับทางขวา −1 ไม่เท่ากัน → ต้องแยกคิ ดซ้ายขวา
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 29

เมื่อ 𝑥 มีค่าน้อยกว่า −1 นิดๆ เมื่อ 𝑥 มีค่ามากกว่า −1 นิดๆ


จากกราฟ 𝑓 จะได้ 𝑦 มีค่าประมาณ 0 จากกราฟ 𝑓 จะได้ 𝑦 มีค่าประมาณ 2
จากกราฟ 𝑔 จะได้ 𝑦 มีค่าประมาณ 0 จากกราฟ 𝑔 จะได้ 𝑦 มีค่าประมาณ −2
จะได้ 𝑓(𝑥 ) + 𝑔(𝑥 ) มีค่าประมาณ 0 + 0 = 0 จะได้ 𝑓(𝑥 ) + 𝑔(𝑥 ) มีค่าประมาณ 2 + (−2) =0
ทางซ้ายและทางขวา = 0 เท่ากัน ดังนัน้ lim (𝑓(𝑥 ) + 𝑔(𝑥 )) = 0 → ข) ถูก
𝑥→−1

ค) ถ้าดูแค่ ช่วง (2, 4] จะเห็นว่าเราสามารถลากเส้นกราฟของทัง้ 𝑓 และ 𝑔 ได้ โดยที่ไม่ต้องยกดิ นสอเลย


ดังนัน้ ทัง้ 𝑓 และ 𝑔 ต่ อเนื่องบน (2, 4] ซึ่งจะทาให้ 𝑓 + 𝑔 ต่ อเนื่องบน (2, 4] ด้วย → ค) ถูก

25. ให้ 𝑝(𝑥 ) = 𝑎𝑥 4 + 𝑏𝑥 3 + 𝑐𝑥 2 + 𝑑𝑥 + 𝑒 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 และ 𝑒 เป็ นจานวนจริง และ 𝑎 ≠ 0


โดยที่ 𝑥 2 − 1 หาร 𝑝(𝑥 ) ลงตัว 𝑝(0) = −2 และ 𝑝′ (0) = −4
ให้ 𝑆 แทนเซตของจานวนจริงทัง้ หมดที่เป็ นคาตอบของสมการ 𝑝(𝑥 ) = 0
ถ้า 𝑛 (𝑆) = 3 แล้วผลบวกของสมาชิกทัง้ หมดในเซต 𝑆 เท่ากับเท่าใด
1. −6 2. −2 3. − 13 4. 23 5. 2
ตอบ 3
𝑝(𝑥 ) เป็ นพหุนามกาลัง 4 ที่หารด้วย 𝑥 2 − 1 ลงตัว ดังนัน้ 𝑝 (𝑥 ) เขี ยนได้ในรูป (𝑥 2 − 1)(𝑘𝑥 2 + 𝑚𝑥 + 𝑛)
𝑝(0) = (02 − 1)(𝑘 (02 ) + 𝑚(0) + 𝑛)
โจทย์กาหนด −2 = ( −1 )( 𝑛)
2 = 𝑛
และจากสูตรดิ ฟผลคูณ = หน้า ∙ ดิ ฟหลัง + หลัง ∙ ดิ ฟหน้า
𝑝′ (𝑥 ) = ( 𝑥 2 − 1)(2𝑘𝑥 + 𝑚) + (𝑘𝑥 2 + 𝑚𝑥 + 2)(2𝑥 )
𝑝′ (0) = ( 02 − 1)(2𝑘 (0) + 𝑚) + (𝑘(02 ) + 𝑚(0) + 2)(2 (0))
โจทย์กาหนด −4 = ( −1 )( 𝑚) + 0
4 = 𝑚
แทนค่ า 𝑚 และ 𝑛 จะได้ 𝑝(𝑥 ) = (𝑥 2 − 1)(𝑘𝑥 2 + 4𝑥 + 2)
= (𝑥 + 1)(𝑥 − 1)(𝑘𝑥 2 + 4𝑥 + 2)
ดังนัน้ คาตอบของสมการ 𝑝(𝑥 ) = 0 จะมี −1 , 1 และคาตอบที่เหลือจากการแก้สมการ 𝑘𝑥 2 + 4𝑥 + 2 = 0
แต่ โจทย์บอกว่าสมการนีม้ ีแค่ 3 คาตอบ จึงเป็ นไปได้ว่าสมการ 𝑘𝑥 2 + 4𝑥 + 2 = 0 มีแค่ คาตอบเดี ยว …(1)
หรือมี 2 คาตอบ แต่ คาตอบหนึ่งไปซา้ กับ −1 หรือ 1 ที่เคยเป็ นคาตอบอยู่แล้ว …(2)
กรณี (1): 𝑘𝑥 2 + 4𝑥 + 2 = 0 มีคาตอบเดี ยว −𝑏±√𝑏2−4𝑎𝑐
คาตอบของสมการ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 คือ
จะสรุปได้ว่า 4 − 4𝑘(2) = 0
2 2𝑎
𝑏
16 = 8𝑘 จะมีคาคอบเดียวเมื่อ 𝑏 2 − 4𝑎𝑐 = 0 ซึ่งจะได้คาตอบคือ − 2𝑎
2 = 𝑘
4 4
และจะได้คาตอบเดี ยวนัน้ คื อ −
2𝑘
= −
2 (2 )
ซึ่งจะซา้ กับ −1 ที่เคยเป็ นคาตอบอยู่แล้ว
= −1
ทาให้ได้คาตอบไม่ครบ 3 ตัว → กรณี (1) จึงเป็ นไปไม่ได้
กรณี (2): 𝑘𝑥 2 + 4𝑥 + 2 = 0 มี 2 คาตอบ และคาตอบหนึ่งไปซา้ กับ −1 หรือ 1
แต่ −1 เป็ นคาตอบไม่ได้ เพราะถ้าเป็ น สมการนีจ้ ะมีคาตอบเดี ยว (จากที่เคยทาในกรณี (1))
จึงสรุปได้ว่า 1 ต้องเป็ นคาตอบ → แทน 𝑥 = 1 เพื่ อหาค่ า 𝑘 จะได้ 𝑘 (12 ) + 4(1) + 2 = 0
𝑘 = −6
โจทย์ถามผลบวกคาตอบ → จะแทน 𝑘 ในสมการ แล้วแก้สมการ เพื่ อหาคาตอบมาบวกกันก็ได้
30 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

แต่ ใช้สตู รผลรวมคาตอบ = − 𝑏𝑎 จะเร็วกว่า → สมการ −6𝑥 2 + 4𝑥 + 2 = 0 จะมีผลรวมคาตอบ = −


4
−6
=
2
3
2 1
ซึ่งเมื่อรวมกับคาตอบ 𝑥 = −1 ที่เหลือ จะได้ผลรวม 3 คาตอบของสมการ 𝑝(𝑥 ) = 0 คื อ 3
+ (−1) = −
3

26. กาหนด 𝑈 แทนเอกภพสัมพัทธ์ และ 𝐴, 𝐵 เป็ นสับเซตของ 𝑈 โดยที่ 𝑛(𝑈) = 100 , 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ) = 35
และ 𝑛 (𝐴′ ∩ 𝐵′) = 9 ถ้า 𝑛(𝐴) ≥ 61 แล้ว 𝑛(𝐵 ) ที่มากที่สดุ ที่เป็ นไปได้เท่ากับเท่าใด
ตอบ 65
จาก 𝑛(𝑈) = 100 แสดงว่าทัง้ หมดมี 100 ตัว
เนื่องจาก 𝐴′ ∩ 𝐵′ = (𝐴 ∪ 𝐵 )′ ดังนัน้ 𝐴′ ∩ 𝐵′ จะเป็ นส่วนตรงข้ามของ 𝐴 ∪ 𝐵
โจทย์ให้ 𝐴′ ∩ 𝐵′ มี 9 ตัว ดังนัน้ สมาชิกทีเหลือ 100 − 9 = 91 ตัว จะเป็ นของ 𝐴 ∪ 𝐵 นั่นคื อ 𝑛 (𝐴 ∪ 𝐵 ) = 91
จากสูตร Inclusive – Exclusive : 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵 ) = 𝑛(𝐴) + 𝑛 (𝐵 ) − 𝑛(𝐴 ∩ 𝐵 ) โจทย์กาหนด
91 = 𝑛 (𝐴) + 𝑛 (𝐵 ) − 35
126 − 𝑛 (𝐵 ) = 𝑛 (𝐴)
โจทย์กาหนด
126 − 𝑛 (𝐵 ) ≥ 61
65 ≥ 𝑛 (𝐵 ) → จะได้ค่ามากสุดของ 𝑛(𝐵 ) คื อ 65

27. รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่งมีการแบ่งพื น้ ที่ออกเป็ น 4 ส่วน ดังรูป


ถ้ามีสีอยู่ 6 สี และต้องการระบายสีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากนีท้ งั ้ 4 ส่วน
โดยแต่ ละส่วนใช้สีเพี ยงสีเดี ยวและส่วนที่อยู่ติดกันต้องใช้สีที่แตกต่ างกัน
แล้วจะมีวิธีระบายสีรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากนี ไ้ ด้แตกต่ างกันทัง้ หมดกี่วิธี
ตอบ 480
ส่วน (1) เลือกสีไหนก็ได้จาก 6 สี → เลือกได้ 6 แบบ
(1) ส่วน (2) ต้องเป็ นสีที่ไม่ซา้ กับ (1) → เลือกได้ 5 แบบ
ส่วน (3) ต้องเป็ นสีที่ไม่ซา้ กับ (1) หรือ (2) → เลือกได้ 4 แบบ
(2) (3) (4)
ส่วน (4) ต้องเป็ นสีที่ไม่ซา้ กับ (1) หรือ (3) → เลือกได้ 4 แบบ
จะได้จานวนแบบ = 6 × 5 × 4 × 4 = 480 แบบ

28. ข้อมูลการผลิตเหล็กเส้นของโรงงานแห่งหนึ่งเป็ นดังนี ้


“ นา้ หนักของเหล็กเส้นที่ผลิตได้มีการแจกแจงปกติ โดยมีนา้ หนักเฉลี่ย เท่ากับ 𝑎 กิโลกรัม
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 𝑏 กิโลกรัม ”
หากสุ่มเหล็กเส้นจากโรงงานแห่งนีม้ า 1 เส้น พบว่า ความน่าจะเป็ นที่ได้เหล็กเส้นมีนา้ หนักน้อยกว่า 8.86 กิโลกรัม
คื อ 0.31 และความน่าจะเป็ นที่จะได้เหล็กเส้นมีนา้ หนักมากกว่า 8.90 กิโลกรัม คื อ 0.31
ค่ าของ 𝑎 + 2𝑏 เท่ากับเท่าใด
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66) 31

กาหนดตารางแสดงพื น้ ที่ใต้เส้นโค้งปกติ มาตรฐาน ดังนี ้

𝑧 0 0 𝑧
𝑧 −2 −1.5 −1 −0.5 0.5 1 1.5 2
พืน้ ที่ใต้เส้นโค้ง 0.02 0.07 0.16 0.31 0.69 0.84 0.93 0.98
ปกติมาตรฐาน

ตอบ 8.96
จากโจทย์ จะได้ 𝑃 (𝑋 < 8.86) = 0.31 และ 𝑃 (𝑋 > 8.90) = 0.31
จากสูตรความน่ าจะเป็ นกรณีตรงข้าม
𝑃 (𝑋 < 8.90) = 1 − 0.31
= 0.69
หา 𝑧 จากตาราง ที่ได้ความน่าจะเป็ นเท่ากัน จะได้ 𝑃(𝑍 < −0.5) = 0.31 และ 𝑃 (𝑍 < 0.5) = 0.69
ดังนัน้ 𝑧 = −0.5 ตรงกับ 𝑥 = 8.86 และ 𝑧 = 0.5 ตรงกับ 𝑥 = 8.90 → แทนในสูตร 𝑧 = 𝑥 −𝜎 𝜇
8.86 − 𝑎 8.90 − 𝑎
−0.5 = 0.5 =
𝑏 𝑏
−0.5𝑏 = 8.86 − 𝑎 …(1) 0.5𝑏 = 8.90 − 𝑎 …(2)

(1) + (2) : −0.5𝑏 + 0.5𝑏 = 8.86 − 𝑎 + 8.90 − 𝑎


2𝑎 = 17.76
𝑎 = 8.88 → แทนใน (2) : 0.5𝑏 = 8.90 − 8.88 = 0.02
𝑏 = 0.04
จะได้ 𝑎 + 2𝑏 = 8.88 + 2(0.04) = 8.96

29. วงกลม (𝑥 − 1)2 + (𝑦 − 2)2 = 1 มีเส้นสัมผัสที่ผ่านจุดกาเนิด 2 เส้น คื อแกน Y และเส้นตรง L


ความชันของเส้นตรง L เท่ากับเท่าใด
ตอบ 0.75
เมื่อเทียบกับรูปสมการวงกลม (𝑥 − ℎ)2 + (𝑦 − 𝑘 )2 = 𝑟 2
C(1, 2)
จะได้จดุ ศูนย์กลาง (ℎ, 𝑘) = (1, 2) และรัศมี 𝑟 = 1 ดังรูป L
1
เส้นตรง L มีระยะตัดแกน Y ที่ 𝑐 = 0 และสมมติ ให้เส้นตรง L มีความชัน = 𝑚
แทนในรูปสมการ 𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑐 จะได้สมการเส้นตรง L คื อ 𝑦 = 𝑚𝑥
0 = 𝑚𝑥 − 𝑦
ระยะจาก C(1, 2) ไปยังเส้นตรง L : 𝑚𝑥 − 𝑦 = 0 จะต้องเท่ากับรัศมีวงกลม (= 1)
|𝑚 (1 ) +( −1 )(2 ) +0 |
ดังนัน้ = 1
√𝑚2 +( −1 ) 2 ระยะจากจุด (𝑎, 𝑏) ไปยัง
| 𝑚 − 2| = √𝑚2 + 1
ยกกาลังสอง เอาค่าสัมบูรณ์ออกได้ เส้นตรง 𝐴𝑥 + 𝐵𝑦 + 𝐶 = 0
(𝑚 − 2)2 = 𝑚2 + 1 | |
𝑚2 − 4𝑚 + 4 = 𝑚2 + 1 จะเท่ากับ 𝐴𝑎+𝐵𝑏+𝐶
√𝐴2+𝐵2
3 = 4𝑚
3
0.75 = = 𝑚
4
32 คณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 (มี.ค. 66)

หรือจะใช้ตรีโกณทาก็ได้ (เหมือนจะคิ ดเลขน้อยกว่า แต่ ต้องจาสูตรได้)


จากสมบัติของเส้นสัมผัส จะได้ CÔA = CÔB (ให้ = 𝜃 ) C(1, 2)
A L
จะได้ความชันของ L = tan 𝛼 1
= tan(90° − 2𝜃 ) โคฟังก์ชัน B
= cot 2𝜃 1
𝜃𝜃
cot2 𝜃 − 1 สูตรมุม 2 เท่า (หรือหาจาก tan2𝜃 ก็ได้) 𝛼
= O
2 cot 𝜃 OA 2
2 2 −1 จาก ∆CAO จะได้ cot 𝜃 = AC
=
1
= 2
=
2 (2 )
3
= = 0.75
4

30. กาหนดให้ 𝑝 (𝑡) แทนปริมาณประจุไฟฟ้าในตัวเก็บประจุตัวหนึ่งที่คิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ (เทียบกับปริมาณประจุไฟฟ้า


สูงสุดที่สามารถเก็บได้) เมื่อชาร์จตัวเก็บประจุที่มีปริมาณประจุไฟฟ้าเริ่ม ต้น 0 เปอร์เซ็นต์ เป็ นระยะเวลา 𝑡 นาที
𝑡
โดยที่ 𝑝 (𝑡) = 100 (1 − 2−20)
ถ้าครัง้ ที่ 1 ธิดาชาร์จตัวเก็บประจุตัวนีท้ ี่มีปริมาณประจุไฟฟ้าเริ่มต้น 0 เปอร์เซ็นต์ จนได้ประมาณประจุไฟฟ้าเป็ น 50
เปอร์เซ็นต์ และครัง้ ที่ 2 ธิดาชาร์จตัวเก็บประจุตัวนีท้ ี่มีปริมาณประจุไฟฟ้าเริ่มต้น 0 เปอร์เซ็นต์ จนได้ประมาณประจุ
ไฟฟ้าเป็ น 87.5 เปอร์เซ็นต์ แล้วระยะเวลาที่ใช้ในการชาร์จตัวเก็บประจุครัง้ ที่ 2 มากกว่าครัง้ ที่ 1 กี่นาที
ตอบ 40
ให้ครัง้ ที่ 1 ใช้เวลาชาร์จ = 𝑡1 ได้ประจุ 50% ให้ครัง้ ที่ 2 ใช้เวลาชาร์จ = 𝑡2 ได้ประจุ 87.5%
𝑡 𝑡2
− 1
100(1 − 2 20 ) = 50 100(1 − 2 −20 ) = 87.5
𝑡1 𝑡2
50 1 87.5 7
1 − 2 −20 = = 1 − 2 −20 = =
100 2 100 8
𝑡 𝑡
1 − 1 1 − 2
= 2 20 = 2 20
2 8
𝑡 𝑡2
− 1
2 −1 = 2 20 2 −3 = 2−20
𝑡1 𝑡2
1 = 3 =
20 20
20 = 𝑡1 60 = 𝑡2

ดังนัน้ ครัง้ ที่ 2 ใช้เวลามากกว่า = 60 − 20 = 40 นาที

เครดิ ต
ขอบคุณ ข้อสอบ จาก อ. ปิ๋ ง GTRmath และคุณ อดิ ศักดิ ์ เอกตาแสง
ขอบคุณ เฉลยวิธีทา จากคุณ คณิต มงคลพิ ทกั ษ์สขุ (นวย) ผูเ้ ขี ยน Math E-book
ขอบคุณ คุณ Chonlakorn Chiewpanich ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like