You are on page 1of 22

1

บทที่ 1
อากาศ
1.1องค์ประกอบในอากาศ

ถ้าแบ่งสารออกเป็นหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด โดยแต่ละหน่วยคงสมบัติเดิมไว้ เรียกว่า อะตอม


สารใดที่ประกอบด้วยอะตอมของธาตุเดียวกันทั้งหมด เรียกว่า ธาตุ
แต่ถ้าประกอบด้วยอะตอมของธาตุต่างชนิดกัน เรียกว่า สารประกอบ

อะตอมของธาตุมักไม่อยู่ตามลำพัง แต่จะรวมกันอย่างมีระเบียบจะเกิดเป็น โมเลกุลของธาตุ


ยกเว้นธาตุที่เป็นก๊าซเฉื่อยสามารถอยู่อย่างอิสระได้ เช่น He, Ne, Ar, Xe และ Rn ถ้าเป็นอะตอมของธาตุ
ต่างชนิดกันมารวมตัวกันก็จะเกิดเป็น โมเลกุลของสารประกอบ ดังนั้น โมเลกุล หมายถึง อะตอมของธาตุ
ตั้งแต่ 1 อะตอมขึ้นไป ซึ่งอาจเป็นอะตอมของสารชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดก็ได้มารวมตัวกันอย่างเป็นระเบียบ

ตัวอย่างอะตอมของธาตุ

แก๊สอาร์กอน
ตัวอย่างโมเลกุลของธาตุ

ตัวอย่างโมเลกุลของสารประกอบ
2
แบบฝึกหัดที่ 1.1
1. สารเคมีต่อไปนี้เป็นแก๊สที่อาจพบในอากาศ จงระบุว่าสารต่อไปนี้อยู่ในรูปของอะตอมหรือโมเลกุล
และเป็นธาตุ หรือ สารประกอบ โดยเขียนเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องว่าง
สูตรเคมี ชื่อสารเคมี อะตอม โมเลกุล ธาตุ สารประกอบ
H2 แก๊สไฮโดรเจน ✓ ✓
Cl2 แก๊สคลอรีน ✓ ✓
HCl ไฮโดรเจนคลอไรด์ ✓ ✓
O3 โอโซน ✓ ✓
NO ไนโตรเจนมอนอกไซด์ ✓ ✓
CO คาร์บอนมอนนอกไซด์ ✓ ✓
Ne นีออน ✓ ✓

CH4 มีเทน ✓ r
2. จากรูปที่กำหนดให้ จงระบุว่า เป็น อะตอมของธาตุ โมเลกุลของธาตุ หรือโมเลกุลของสารประกอบ

Tuba

vosthodr-noofnbrn.nv.us
1……โมเลกุลของธาตุ…… 2…………………………………

3…………………….…… 4…………………………………

0-iowvosonn.fsbrfdmfvdi.no
?

5…………………………… Garbarino's ?
6…………………………………
'
3
1.2 อะตอม
อะตอม (กรีก: άτομον; อังกฤษ: Atom) คือหน่วยพื้นฐานของสสารประกอบด้วยส่วนของ
นิวเคลียสที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนที่มีประจุลบนิวเคลียสของ
อะตอมประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุบวกกับนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า
กิจกรรม 1.1 องค์ประกอบภายในอะตอม
จากแบบจำลองอะตอมที่กำหนดให้ จงเติมชื่อองค์ประกอบภายในอะตอมให้สมบูรณ์

………………………………………..
inborn moon (E)

Tds now Cpt


………………………………………..

………………………………………..
hid ( n°1
sow

แบบจำลองที่นิยมนำมาใช้อธิบายสมบัติทางเคมีของธาตุคือ..........................................................

Enbnoiwoinbolonrtoi.SN
ประกอบด้วย โปรตอนที่มีประจุบวก และนิวตรอนที่ไม่มีประจุ รวมกันอยู่ในนิวเคลียส และ อิเล็กตรอนที่มีประจุลบ
เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็นวง ซึ่งแต่ละวงมีระยะห่างจากนิวเคลียสและมีพลังงานต่างกัน อิเล็กตรอนที่อยู่วงนอกสุด
เรียกว่า............................................................
row

นิวเคลียส
อิเล็กตรอน

ก. ฮีเลียม ข. ออกซิเจน

จากรูป ก. แบบจำลองอะตอมของฮีเลียมมีเวเลนต์อิเล็กตรอน =…………..……….


25

ข. แบบจำลองอะตอมของออกซิเจนมมีเวเลนต์อิเล็กตรอน =………………….
be
-
4
แบบฝึกหัดเรื่อง วิวัฒนาการแบบจำลองอะตอม
1. ให้นักเรียนวาดภาพแสดงแบบจำลองอะตอมและระบุชื่อนักวิทยาศาสตร์ จอห์น ดอลตัน ,
เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน , ลอร์ด เออร์เนสท์ รัทเทอร์ฟอร์ด , นีลล์ โบร์ และแบบกลุ่มหมอก ลงในกรอบที่
กำหนดให้ตามลำดับวิวัฒนาการ พร้อมทั้งโยงเส้นข้อความที่สัมพันธ์กับแบบจำลองอะตอม

Adonis (F)

B
+ -

t
-

t -

(
Nowak CD )

ionnow
-

+ ◦ D
806 PEW

Énbnoi Noda (G)

°

E

O
O

Gui CAI
F

i¥¥¥ r
.

Hindon cc )
E
5
2.ให้นักเรียนเปรียบเทียบแบบจำลองอะตอมของนักวิทยาศาสตร์ที่กำหนดให้โดยเขียนสิ่งที่เหมือนลงในกรอบที่
ซ้อนทับกันและเขียนสิ่งที่แตกต่างในกรอบที่ไม่ซ้อนทับกัน

d) Wino.nON

0-MOWhianu-w-hip-uo-enowmn.in
Yai "" " ° "
"

Ñ7NM6bUHÑ bring
8w=nowÑ nucleus

%o=nowñp n' air


' '
ñun

ñui crimes
-

ovjnassnoisaié
TINY

%wo=nowÑÑooniur Ño:ÑuNÑss7W
ÑÑ p+ ñu n

oyinrsno "
%wo=nowÑÑoonFur
aiiaisovi rid p+ñu n
sniff Gwu e-

aims "
21m81
I c- 0%007
610:ÑEÑowÑwy
6

1.3อนุภาคมูลฐานของอะตอม

สำหรับอะตอมที่ไม่เป็นกลาง เรียกว่าไอออน (ion) เกิดจากอะตอมเสียหรือได้รับอิเล็กตรอน


ทำให้จำนวนโปรตอนไม่เท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน มี 2 ชนิดดังนี้

④ ⊖

pie

pie

19

18 8

20 10

8
7
แบบฝึกหัดเรื่อง อนุภาคมูลฐานของอะตอม
1. เติมข้อมูลในตารางที่ว่างไว้ให้ครบทุกช่อง

I 1 2

11 12

12 12

7 7 7

18 20

17 18

2. เติมข้อมูลในตารางที่ว่างไว้ให้ครบทุกช่อง
สัญลักษณ์ จำนวนอนุภาคมูลฐาน
ธาตุ เลขอะตอม เลขมวล
นิวเคลียร์ โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
27
opinion 13𝐴𝑙
13 19 13 13 27

40
6tnabÑUN 20𝐶𝑎 10 20 20
20 40

ฟอสฟอรัส "
p 15 10 15 15 31
15

ฟลูออรีน "
F q q
9 9 18
9

ซิลิคอน 295 ; 19 15 14 14 29
19
8
3. ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องจากข้อความที่กำหนด โดยการระบายสี

1. อนุภาคมูลฐานของอะตอมประกอบด้วยอนุภาคกี่ชนิด
2 3 4

2. มวลของอะตอมส่วนใหญ่อยู่ที่ส่วนใดของอะตอม

นิวเคลียส นิวตรอน อิเล็กตรอน

3. อนุภาคมูลฐานของอะตอมใดที่มีมวลน้อยที่สุด
โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน

4. นิวเคลียสของอะตอมมีประจุไฟฟ้าเป็นบวก เนื่องด้วย อนุอิภเาคมู


ล็กลตร
ฐาน ชนิดใด

โปรตอน นิวตรอน อน อิเล็กตรอน

5. อนุภาคมูลฐานชนิดใดที่มีมวลใกล้เคียงกับโปรตอน อิเล็กตร

โปรตอน นิวตรอน อน
อิเล็กตรอน
6. อนุภาคใดที่มีประจุบวกในอะตอมนิวตรอ อิเล็กตร
โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
น อนนนน
7. อนุภาคใดที่ไม่มีประจุไฟฟ้า อิเล็กตรอ
นิวเคลียส นิวตรอน
นoน
อิเล็กตรอน

8. อนุภาคใดที่มีประจุลบในอะตอม
โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน
9. อนุภาคมูลฐานชนิดใดไม่ได้มีตำแหน่งในนิวเคลียส

โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน


10. อนุภาคมูลฐานชนิดใดที่สามารถเคลื่อนที่โดยรอบนิวเคลียส
อิเล็กตร
โปรตอน นิวตรอน อิอน
เล็กตรอน

อิเล็กตรอ


9
1.4 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ (Nuclear symbol)
เป็นสัญลักษณ์ของธาตุที่เขียนแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับอนุภาคมูลฐานของอะตอม
การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุตามหลักสากล (IUPAC) เขียนดังนี้ X คือ สัญลักษณ์ของธาตุ
- เขียนเลขอะตอมไว้มุมล่างซ้ายของสัญลักษณ์ของธาตุ A คือ เลขมวล
- เขียนเลขมวลไว้มุมบนซ้ายของสัญลักษณ์ของธาตุ Z คือ เลขอะตอม

𝑨
𝒁𝑿
A- =p -1N
เลขมวล (Mass number) = ผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียสของธาตุ
เลขอะตอม (atomic number) = ตัวเลขที่แสดงจำนวนโปรตอนในนิวเคลียส
ในกรณีเป็นกลางจะมีจำนวนเท่ากับอิเล็กตรอน
𝟐𝟑
เช่น 𝟏𝟏𝑁𝑎

หมายถึง ธาตุ Na มีเลขมวล = 23


มีเลขอะตอม = 11

เช่น 𝟑𝟗
𝟏𝟗𝐾

แปลความหมายได้ดังนี้
อะตอมของธาตุ K มีอนุภาคมูลฐานดังนี้ วิธีการหาจำนวนนิวตรอน หาได้จาก
จำนวน p = ………………………
19 เลขมวล – เลขอะตอม
จำนวน e- = ……………………..
19 หรือ A - Z
จำนวน n = ………………………
20
H.W. 10
แบบฝึกหัดเรื่อง สัญลักษณ์นิวเคลียร์
ให้นักเรียนเติมจำนวนอนุภาคมูลฐานจากสัญลักษณ์ นิวเคลียร์ในช่องว่างให้ถูกต้อง

38
13

93
38

50 14

5- 4 12

10
54

77 12

18 97

18 37

22 48

49 55

49 54

65 77

16 16

18
11

PBÑ '
n win A win e
"
or

Aoniñw

" "

'
C N
' '
6 7
H H H
wuio€1 1 I
7-tiasiionisr
% It
"

C
6 6 6

'

39 40 qf Ne
10

K Ca I
19 20
↳ e- i
-

A- 20 D= 20
12
' "

/§ แบบฝึกหัด 1.2
1.แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์เป็นสารมลพิษที่ก่อให้เกิดภาวะฝนกรด ซึ่งมีธาตุซัลเฟอร์ (S)และธาตุออกซิเจน (O)
เป็นองค์ประกอบ จงระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของธาตุซัลเฟอร์และออกซิเจน
%
"

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5
16
10--16 -16
,
n pi 8
-

n=8
-16
,
8 e-
8
,
,
@ =

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2.อะตอมของธาตุเมื่อเปลี่ยนเป็นไอออนบวกจะมีจำนวนโปรตอน นิวตรอoและอิ
••w เล็กตรอนเปลี่ยนแปลงหรือไม่
อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
pgn Grinooiw anos
,
e

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ไอออนลบของธาตุไนโตรเจน (N3-) มีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเป็นเท่าใด
} -

,N
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
-7 e.
=
10
-

p ,

4. จงเติมข้อมูลเกี่ยวกับอะตอมของธาตุในตารางให้สมบูรณ์
สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เลขอะตอม เลขมวล จำนวน
นิวเคลียร์ ธาตุ โปรตอน อิเล็กตรอน นิวตรอน
1
1𝐻 It 1 I 1 1 0

%H _
O 8 16 8 8 8

% C 6 12 6 6 6
pill Cl 17 35 12 17 18
20
10𝑁𝑒
Ne 10 20 10 10 %

5. พิจารณาสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุสมมติต่อไปนี้

8 10 10 7 10
4𝐴 5𝐸 5𝐺 4𝐽 4𝐿

pp
ธาตุสมมติใดเป็นไอโซโทปกัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
A
,J,L
13
1.5 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
การเรียงอิเล็กตรอนของธาตุในระดับพลังงานหลักทำให้ทราบว่า
1. จำนวนระดับพลังงานหลักของอิเล็กตรอน ทำให้ทราบว่าธาตุนั้นอยู่คาบใด ถ้าธาตุมีจำนวนระดับ
พลังงานของอิเล็กตรอนเท่ากัน แสดงว่าธาตุนั้นอยู่ในคาบเดียวกัน
2 จำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน หรืออิเล็กตรอนที่อยู่ในระดับพลังงานนอกสุด ทำให้ทราบหมู่ของธาตุ
ถ้าธาตุมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากัน แสดงว่าธาตุนั้นอยู่ในหมู่เดียวกัน
หลักในการจัดเรียงอิเล็กตรอน
1. จำนวน e- ที่มีได้มากสุดในแต่ละระดับพลังงาน คือ..................... -4
n'

n = 1 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้ …………….. I
Gui
'

n
-1

&
%
n = 2 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้ …………….. .

,
81232

n = 3 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้ …………….. 18

n = 4 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้ …………….. 12

n = 5 สามารถบรรจุอิเล็กตรอนได้ …………….. 50

2. จำนวน e- ชั้นนอกสุด (เวเลนซ์อิเล็กตรอน) ห้ามเกิน 8


ตัวอย่างการจัดเรียงอิเล็กตรอน

I 8 1 20
…………………………………..………….
2 8 7
……………………………………..…..…..
2 8 8 2
………………………………………....….

ตัวอย่าง

หมู่.................คาบ.............
I 2
หมู่.................คาบ.............
6 3

เวเลนซ์อเิ ล็กตรอน................ เวเลนซ์อิเล็กตรอน................


ระดับพลังงาน…………………..
\

ระดับพลังงาน…….………….…..
14
แบบฝึกหัดเรื่อง การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
1. การจัดเรียงอิเล็กตรอนและจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุต่อไปนี้เป็นอย่างไรให้เติมลงในตาราง
จำนวนเวเลนซ์อิเล็กต
ธาตุ เลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน
รอน
ซิลิคอน Si 14 2 8 4 4

ฟอสฟอรัส P 15 2 8 5 5

คลอรีน 9 17 2 8 7
7

อาร์กอน Ar 18 2 8 8 8

2. ธาตุ A D E G และ J มีเลขอะตอม 8,12,16,18 และ 20 ตามลำดับ จงตอบคำถามต่อไปนี้


ก. การจัดเรียงอิเล็กตรอนของแต่ละธาตุเป็นอย่างไร

A = ……………………………………………………………………….
2 6
,

D =……………………………………………………………………….
2,8

E =……………………………………………………………………….
2 8,6
,

G =……………………………………………………………………….
48,8

J =……………………………………………………………………….
2,8 8,2 ,

A E D -5
ข. ธาตุที่อยู่หมู่เดียวกัน.................................................................และอยู
-

, ่หมู่..............................
2,6

D) J
ค. ธาตุที่อยู่หมู่คาบกัน.................................................................และอยู 3
่คาบ..............................

D ,J
ง. ธาตุที่เป็นโลหะ.............................และธาตุ A ,E,G
อโลหะ...................................


ฉ. ธาตุที่เป็นแก๊สเฉื่อย..................................
15
1.6 ตารางธาตุ

ตารางที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นมา เพื่อความสะดวกต่อการศึกษาเกี่ยวกับธาตุโดยรวบรวมธาตุต่าง ๆ
เข้าไว้ด้วยกันโดยสมบัติทั้งกายภาพและทางเคมีของธาตุ ทาเป็นหมวดหมู่ให้เป็นระเบียบ
และมีระบบในการจัดเรียงธาตุ

ตารางธาตุในปัจจุบันจะมีลักษณะดังนี้
IA IIA IIIA IVA VA VIA VIIA VIIIA

คำอธิบายเพิ่มเติม
-ธาตุที่เรียงอยู่ในแนวนอนเดียวกัน เรียกว่า ………………………… Mu ซึ่งมีทั้งหมด ……………..คาบ r

-ธาตุที่เรียงอยู่ในแนวดิ่งเดียวกัน เรียกว่า …………………… u


:
-การระบุหมู่ในตารางธาตุที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี 2 ระบบ คือ.............................แบ่
IUPAC งเป็น 18 หมู่
โดยใช้สัญลักษณ์ เลขอาราบิก 1-18 แทน และระบบ Chemical Abstracts Service (CAS) ซึ่งแบ่งออกเป็น
2 กลุ่ม คือ กลุ่ม A และ
0qbowÉoVwbnÑW (A)
กลุ่ม B โดยกลุ่ม A เรียกว่า.....................................................................................หรื อ ธาตุหมู่หลัก มี.......หมู
8 ่
Gae=bbnoniVÑw
โดยใช้สัญลักษณ์เป็นเลขโรมัน IA-VIIA และกลุ่ม B เรียกว่า............................... มี 8 หมู่
และใช้สัญลักษณ์เป็นเลขโรมัน IB - VIIIB
16
Jose :bbOdnÑoÑ
ธาตุหมู่ IA เรียก …………………………………ประกอบด้ ñbÑUw
วย Li…………………Na……………………
BVBÑUN GwbbÑbÑuw
K………………...……
Rb…………….….Cs…………..…………Fr………………..….
qÑbÑw Ñ6Ñw WnwoÑUW
"" """" "
ธาตุหมู่ IIA เรียก ………………………………..ประกอบด้ วย Be…………………Mg……………………Ca……………..……
" " "" " "" "

[
" " " "

Sr………………...….Ba………..………Ra…………….….……
Snowtown twofer 6860kW
6601060W
ธาตุหมู่ VIIA เรียก ………………………………ประกอบด้ วย F…………………
WqooÉw brain
Cl…………….………Br………….…..…..
nroñri
4o%Ñw
I………………….…. bbonmnohd Ts……………………
At…………..…… 6nwbwÑÑb
6bÑÑoÑ0U
ธาตุหมู่ VIIIA เรียก ……………………………ประกอบด้ 86Eur
วย He……………………Ne……………………Ar…………………
blood 076rad
DEDMON
Kr……………………..Xe……….…………Og………..…………
oobbnbwbrodrii.hr throw
Fodor ซึ่งได้แก่ B Si Ge As Sb Te Po At
ธาตุที่อยู่บริเวณเส้นขั้นบันไดเป็น ……………………………
: :
1
Rn 68006

แบบฝึกหัด 1.3
1. จากตารางธาตุ จงเติมข้อมูลในช่องว่างให้สมบูรณ์
สัญลักษณ์ธา เลขอะตอม โลหะ/อโลหะ/ การนำไฟ ธาตุเรพรีเซนเททีฟ/
ตุ กึ่งโลหะ ฟ้า ธาตุแทรนซิชัน
Cu 29 โลหะ นำ ธาตุแทรนซิชัน
O 8 dose : Yakin ธาตุเรพรีเซนเททีฟ
S 76 อโลหะ Yakin A

Si 14 กึ่งโลหะ นำ
A

Al 13 Okon :
นำ ธาตุเรพรีเซนเททีฟ

Ag 47 Gor : นำ B

2. ปรอท (Hg) เป็นธาตุโลหะที่มีสถานะเป็นของเหลวซึ่งไอปรอทเป็นมลพิษทางอากาศที่มีความเป็นพิษสูง


ปรอทอยู่ในหมู่ใดและคาบใดในตารางธาตุ และจัดเป็นธาตุธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือธาตุแทรนซิชัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2B AW7B→nnwÑÑW

3. ธาตุชนิดหนึ่งอยู่หมู่ VIIA คาบ 3 ธาตุนี้มีสัญลักษณ์ธาตุอย่างไร และมีแนวโน้มให้หรือรับอิเล็กตรอน


…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
Ar www.wio

4. สารประกอบชนิดหนึ่งเกิดจากการรวมกันของธาตุโซเดียม (Na) และฟลูออรีน (F) ธาตุใดให้อิเล็กตรอน


และธาตุใดรับอิเล็กตรอน
Natt F- → Naf
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
odor :( Éoi
for :(
17
กิจกรรม 1.2 สืบค้นข้อมูลสมบัติ ประโยชน์ และอันตรายของธาตุ

เลือกธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชันที่สนใจมาชนิดละ 2 ธาตุ ระบุชื่อ สัญลักษณ์ธาตุ


เลขอะตอม และสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี ประโยชน์ และ
อันตรายของธาตุนั้น จากนั้นนำเสนอหน้าชั้นเรียนและอภิปรายร่วมกัน

ธาตุเรพรีเซนเททีฟ
ชื่อธาตุ...................................
เลขอะตอม.................................
สมบัติทางกายภาพ..................................................................................................................
................................................................................................................................................
สมบัติทางเคมี.........................................................................................................................
................................................................................................................................................
ประโยชน์.................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
................................................................................................................................................
อันตราย...................................................................................................................................
................................................................................................................................................

ชื่อธาตุ...................................
เลขอะตอม.................................
สมบัติทางกายภาพ..................................................................................................................
................................................................................................................................................
สมบัติทางเคมี..........................................................................................................................
................................................................................................................................................
ประโยชน์...............................................................................................................................
................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………
อันตราย.................................................................................................................................
................................................................................................................................................
18

ธาตุแทรนซิชัน
1. ชื่อธาตุ...................................
เลขอะตอม............................
สมบัติทางกายภาพ..................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
สมบัติทางเคมี........................................................................................................................
...............................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ประโยชน์.................................................................................................................................
................................................................................................................................................
อันตราย..................................................................................................................................
................................................................................................................................................

2. ชื่อธาตุ...................................
เลขอะตอม............................
สมบัติทางกายภาพ..................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
สมบัติทางเคมี.........................................................................................................................
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ประโยชน์.................................................................................................................................
................................................................................................................................................
อันตราย..................................................................................................................................
................................................................................................................................................
19

แบบฝึกหัดท้ายบทบทที่ 1
1. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
“ ธูปและกระดาษเงินกระดาษทองที่มีส่วนผสมของกาว สารเคลือบเงา น้ำหอม เมื่อนำไปจุดหรือเผา
จะปล่อยแก๊สพิษ เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์(CO) ไนโตรเจนมอนนอกไซด์ (NO) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
และสารระเหยบางชนิด เช่นเบนซีน (C6H6) บิวทาไดอีน (C4H6) สู่ชั้นบรรยากาศ นอกจากนี้พบว่า ในขี้ธูป
หรือเถ้า ยังมีโลหะที่มีพิษปนเปื้อน เช่น โครเมียม (Cr) นิกเกิล (Ni) ตะกั่ว(Pb) แมงกานีส(Mn) ซึ่งโครเมียม
และนิกเกิล ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปอด ส่วนตะกั่วส่งผลต่อพัฒนาการทางสมองของทารก แมงกานีส ทำให้
เกิดโรคพาร์กินสันได้ในผู้สูงอายุ”
จงเลือกสูตรเคมีที่ปรากฏในวงเล็บของสารจากข้อความข้างต้นที่เป็นธาตุและสารประกอบในกรอบด้า
นล่างให้ถูกต้อง
ธาตุ สารประกอบ

2. พิจารณาสารที่กำหนดให้ต่อไปนี้ แล้วจำแนกว่าสารใดเป็นอะตอม โมเลกุล ไอออน แล้วเขียนสูตร


เคมีลงในตารางให้ถูกต้อง

NO2 Mg2+ C12H22O11 SO2 CO SO3 Cl-


He Na+ Kr I2 O3 F2 F - P4

อะตอม โมเลกุล ไอออน


20
3. ไอออนในตารางต่อไปนี้เกิดจากธาตุใดและเกิดจากการให้หรือรับอิเล็กตรอน
ไอออน ธาตุ ให้หรือรับอิเล็กตรอน
Na+
Mg2+
Cl-
K+
F-
Cu2+
O2-

4. แบบจำลองอะตอมของโบร์ของธาตุสมมิ Y แสดงดังรูป จงระบุจำนวนโปรตอน อิเล็กตรอน


และเวเลนต์อิเล็กตรอนของอะตอมของธาตุ Y

จำนวนโปรตอน = …………………………..
3

86th Moroni
จำนวนนิวตรอน =………………………….
3

จำนวนเวเลนต์อิเล็กตรอน = ………………..
1

5 แบบจำลองอะตอมของโบร์ และแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกของธาตุไฮโดรเจน แสดงดังรูป

5.1 จงระบุว่าตำแหน่งใดเป็นนิวเคลียสและอิเล็กตรอนในแบบจำลองอะตอมของโบร์และแบบกลุ่มหมอก
................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
5.2 จากแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกจงเรียงลำดับตำแหน่งที่มีโอกาสพบอิเล็กตรอนจากมากไปน้อย
................................................................................................................................................
21
6. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2)โอโซน (O3)
และไอปรอท (Hg) เป็นสารมลพิษทางอากาศ ซึ่งธาตุที่เป็นองค์ประกอบของแก๊สเหล่านี้มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์
หรือสัญลักษณ์ธาตุ แสดงดังตาราง จงเติมข้อมูลลงในช่องว่างในตารางให้ครบถ้วน
สัญลักษณ์ จำนวน สัญลักษณ์ เลข เลขมวล
นิวเคลียร์ ธาตุ อะตอม
โปรตอน อิเล็กตรอน นิวตรอน
12
6𝐶 b b G C 6 12

O 8 16
% 8 8 8

% 16
16 16 S 16 12

14
7 7 N 7 14
on 7

Hg 80
%Hg 80 80 8, 80

200
Hg 80 80
80 200
go 120

7. กำหนดให้ ธาตุสมมติ D มี 2 ไอโซโทป โดยไอโซโทปแรกมีสัญลักษณ์นิวเคลียร์เป็น 21D และไอโซโทป -

ที่สองมีจำนวน นิวตรอนเป็น 2 เท่าของไอโซโทปแรก จงเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของไอโซโทปที่สอง

PD
................................................................................................................................................

8. จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ต่อไปนี้ 13355Cs 12753 I และ 4822 Ti


จงใช้ตารางธาตุเพื่อระบุว่าธาตุเหล่านี้อยู่หมู่ใดและคาบใดในตารางธาตุตามระบบ CAS
ธาตุ ตารางธาตุตามระบบ CAS
หมู่ คาบ
Cs 1 to
I 7 5
Ti 4 b
22
9. จากรูปตารางธาตุที่กำหนดให้

Cr Fe

9.1 แรเงาช่องที่เป็นตำแหน่งของธาตุเรพรีเซนเททีฟในคาบที่ 4 Eoin

9.2 แรเงาช่องที่เป็นตำแหน่งของธาตุแทรนซิชันในหมู่ IIIB คาบที่ 5 Evans


9.3 “เหล็กกล้าไร้สนิม หรือ สเตนเลสสตีล (stainless steel) เป็นเหล็ก (Fe) ที่เติมส่วนผสมของคาร์บอน (C)
และโครเมียม (Cr) ซึ่งเหล็กประเภทนี้ทนทานต่อการกัดกร่อนมากกว่าเหล็กทั่วไป และมีน้ำหนักเบา
สามารถนำมาหล่อขึ้นรูปได้ง่าย จึงนิยมนำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย เช่น จาน ชาม หม้อ
ท่อไอเสียรถยนต์”
จากข้อความข้างต้นจงเขียนสัญลักษณ์ธาตุที่เป็นองค์ประกอบของเหล็กกล้าไร้สนิมตามตำแหน่งของธาตุนั้นใน
ตารางธาตุ

You might also like