You are on page 1of 11

โรงเรียนสตรีสมุทรปราการ

พันธะไอออนิก
1.1 กลไกการเกิดพันธะไอออนิก
พันธะไอออนิก เกิดจากการที่อะตอมของโลหะรวมตัวกับอะตอมของอโลหะ และอะตอมที่มารวมตัวกัน
พยายามปรับตัวให้เสถียร โดยการทาเวเลนซ์อิเล็กตรอนให้ครบออกเตต (ครบ 8) โดยอะตอมของธาตุโลหะเป็นฝ่าย
ให้อิเล็กตรอน เมื่อให้อิเล็กตรอนไปแล้วจะกลายเป็นไอออนบวกและประจุบวกนี้จะเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนที่ให้ไป
ส่วนอะตอมของอโลหะเป็นฝ่ายรับอิเล็กตรอนแล้วกลายเป็นไอออนลบ จะมีประจุลบเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนที่
รับเข้ามา จึงทาให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างไอออนลบขึ้น แรงดึงดูดนี้เรียกว่า พันธะไอออนิก ทาให้เกิดสารประกอบที่
มีโครงผลึกขนาดใหญ่ขึ้น สารประกอบที่ได้เรียกว่าสารประกอบไอออนิก ตัวอย่างการเกิดพันธะไอออนิก เช่น 11Na
กับ 17 Cl

-1-
1.2 โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
สารประกอบไอออนิกจะมีโครงสร้างรประกอบไอออนบวก และไอออนลบ จัดเรียงตัวสลับกันไป
อย่างมีระเบียบ ในรูปสามมิติ คือ ไอออนบวกจะห้อมล้อมและสัมผัสไอออนลบ ไอออนลบก็ห้อมล้อมและสัมผัส
ไอออนบวก จานวนไอออนที่ห้อมล้อมกันจะมีได้เท่าใดขึ้นอยู่กับขนาดของไอออนทั้ง 2 ตัวอย่าง เช่น ผลึก NaCl
ดังรูป

โครงสร้างภายในผลึกโซเดียมคลอไรด์

CsCl ZnS CaF2


ดังนั้น โครงสร้างจึงมีลักษณะเป็นโครงผลึกร่างตาข่าย ไม่สามารถแยกออกเป็นโมเลกุลได้สารประกอบ
ไอออนิกจึงไม่มีสูตรโมเลกุล การเขียนสูตรแทนสารประกอบไอออนิกจึงเขียนในรูปสูตรอย่างง่าย ซึ่งแสดงเพียง
อัตราส่วนอย่างต่าในการรวมตัวระหว่างไอออนบวกกับไอออลบ เช่น Na2O , CaCl2 ,KCl , NaCl
1.3 การเขียนสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก ใช้หลักดังนี้
1. เขียนไอออนบวกของโลหะหรือกลุ่มไอออนบวกไว้ข้างหน้า ตามด้วยไอออนลบของอโลหะหรือกลุ่มไอออนลบ
2. ไอออนบวกและไอออนลบ จะรวมกันในอัตราส่วนที่ทาให้ผลรวมของประจุเป็นศูนย์ ดังนั้นจึงต้องหาตัวเลขมา
คูณกับจานวนประจุบนไอออนบวกและไอออนลบให้มีจานวนเท่ากัน แล้วใส่ตัวเลขเหล่านั้นไว้ที่มุมขวาล่างของแต่ละ
ไอออน ซึ่งทาได้โดยใช้จานวนประจุบนไอออนบวกและไอออนลบคูณไขว้กัน
3. ถ้ากลุ่มไอออนบวกหรือไอออนลบมีมากกว่า 1 กลุ่ม ให้ใส่วงเล็บ ( ) และใส่จานวนกลุ่มไว้ที่มุมล่างขวาล่าง ดัง
ตัวอย่าง

-2-
ไอออนบวก ไอออนลบ อัตราส่วนประจุ (+ : -) สูตรสารประกอบไอออนิก

Na+ Cl-
Mg2+ O2-
Fe3+ OH-

การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก มีหลักการดังนี้
• กรณีเป็นสารประกอบธาตุคู่ให้อ่านชื่อธาตุที่เป็นประจุบวกแล้วตามด้วยธาตุประจุลบโดยลงท้ายเสียงพยางค์
ท้ายเป็น“ไอด์” (ide) เช่น NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์
• กรณีเป็นสารประกอบธาตุมากกว่าสองชนิดให้อ่านชื่อธาตุที่เป็นประจุบวก แล้วตามด้วยกลุ่มธาตุที่เป็น
ประจุลบได้เลย เช่น CaCO3 อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอเนต
• กรณีเป็นสารประกอบธาตุโลหะแทรนซิชัน ให้อ่านชื่อธาตุที่เป็นประจุบวกและจานวนเลขออกซิเดชันหรือ
ค่าประจุของธาตุเสียก่อน โดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วจึงตามด้วยธาตุประจุลบ เช่น FeCl2 อ่านว่า ไอรอน
(II)คลอไรด์

อนุมูลกลุ่มที่ควรรู้ !!!!







-3-
แบบฝึกหัดการเขียนสูตรและการเรียกชื่อการประกอบไอออนิก
1. เขียนสูตรและชื่อของสารประกอบไอออนิกที่เกิดจากไอออนบวกและไอออนลบที่กาหนดให้ต่อไปนี้
ข้อ ไอออนบวก ไอออนลบ สูตร ชื่อสารประกอบ
1 Ba2+ S2-
2 Al3+ OH-
3 Na+ SO42-
4 Ca2+ CO32-
5 NH4+ PO43-

2. อ่านชื่อสารประกอบต่อไปนี้และแยกไอออนที่เป็นองค์ประกอบ
ข้อ สูตรเอมพิริกัล ไอออนบวก ไอออนลบ ชื่อสารประกอบ
1 Li2O
2 CaSO4
3 NH4Cl
4 KCN
5 KNO3
6 Mg(OH)2
7 FeCl3
8 Al2O3

3. สารประกอบไอออนิกที่เกิดจากธาตุ X ซึ่งอยู่หมู่ IIA กับธาตุ Y ซึ่งอยู่หมู่ VA จะมีสูตรเอมพิริคัล เป็นอย่างไร


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. กาหนดให้ธาตุ X Y และ Z เป็นธาตุที่อยู่ในหมู่ IA VIA และ VIIA ตามลา ดับ เขียน สูตรสารประกอบไอออนิก
ที่เกิดจากธาตุต่อไปนี้
4.1 X กับ Y
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.2 X กับ Z
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
-4-
5. เขียนสูตรสารประกอบไอออนิกที่กาหนดให้ต่อไปนี้
5.1 ลิเทียมคาร์บอเนต (lithium carbonate)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.2 ไอร์ออน(III)ไนเทรต (iron(III) nitrate)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.3 คอปเปอร์(II)ซัลเฟต (copper(II) sulfate)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.4 อะลูมิเนียมฟอสเฟต (aluminium phosphate)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.5 แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ (ammonium hydroxide)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

-5-
1.4 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
1. ไม่นาไฟฟ้าในสถานะของแข็ง แต่จะนาไฟฟ้าเมือ่ หลอมเหลวและเป็นสารละลาย
2. มีจดุ เดือด และจุดหลอมเหลวสูง แต่น้อยกว่าพันธะโลหะ

1.5 การละลายของสารประกอบไอออนิก

ความสามารถในการละลายนาของสารประกอบไอออนิก ที่ 25๐C


1. ละลายได้ดี คือ สารละลายได้มากกว่า 1 กรัม ในน้า 100 กรัม
2. ละลายได้บ้าง คือ สารละลายในน้าได้ระหว่าง 0.1 - 1 กรัม ในน้า 100 กรัม
3. ไม่ละลาย คือ สารละลายได้น้อยกว่า 1 กรัม ในน้า 100 กรัม

1. พวกที่ละลายได้
o สารประกอบของโลหะแอลคาไล แอมโมเนียม ไนเทรต คลอเรต เปอร์คลอเรต แอซีเตต
o สารประกอบคลอไรด์ โบรไมด์ ไอโอไดด์ (ยกเว้นเกลือของ Ag+, Pb2+, Hg2+ ไม่ละลาย
ส่วน PbCl2 ละลายได้เล็กน้อย)
o สารประกอบซัลเฟต (ยกเว้น สารประกอบของ Pb2 , Sr2+, Ba2+ ส่วนไอออนบวกของ Ca2+
และ Ag+ ละลายได้เล็กน้อย)
2. พวกที่ไม่ละลายนา
o สารประกอบออกไซด์ของโลหะ (ยกเว้น สารประกอบออกไซด์ของโลหะแอลคาไล และ
สารประกอบออกไซด์ของ Ca2+, Sr2+, Ba2+)
o สารประกอบไฮดรอกไซด์ (ยกเว้น สารประกอบไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไล แอมโมเนียม
และ สารประกอบไฮดรอกไซด์ของ Ba2+, Sr2+, ส่วน Ca2 ละลายได้เล็กน้อย)
o สารประกอบคาร์บอเนต ฟอสเฟต ซัลไฟด์ และซัลไฟต์ (ยกเว้น สารประกอบคาร์บอเนต
ฟอสเฟต ซัลไฟด์ และซัลไฟต์ ของโลหะแอลคาไล แอมโมเนียม)
1.6 สมการไอออนิก
ลักษณะของสมการไอออนิก
1. เขียนเฉพาะไอออน หรือสารที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา
2. สารที่ไม่ละลายน้า สารที่ไม่แตกตัวเป็นไอออน และสารที่เป็นก๊าซ จะเขียนแสดง
โดยเขียนสูตรของสารนั้น
3. จะต้องดุลทั้งจานวนอะตอม และประจุ

-6-
สมการไอออนิก เป็นสมการที่เกิดจากการทาปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก ซึง่ หลังเกิดปฏิกิริยาจะ
เขียนอยู่ในรูปของไอออนบวก และไอออนลบ โดยจะเขียนเฉพาะอนุภาคที่มีการเปลี่ยนแปลงเท่านั้น ส่วนอนุภาคตัว
ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงจะไม่เขียนในสมการ เช่น
Molecular equation (or Overall equation)
NaCl (aq) + AgNO3 (aq)  AgCl (s) + NaNO3 (aq)
Ionic equation (or total ionic equation)
Na+(aq) + Cl(aq) + Ag+(aq) + NO3(aq)  AgCl(s) + Na+(aq) + NO3(aq)
Net ionic equation:
Cl(aq) + Ag+ (aq)  AgCl (s)
which is usually re-written as
Ag+ (aq) + Cl(aq)  AgCl (s)

ลองคิดลองทำดู
1. สารละลายที่กาหนดให้คู่ใดที่ผสมกันแล้วเกิดตะกอน เขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ พร้อมทั้งระบุ
ชื่อของตะกอนที่เกิดขึ้น
1.1 LiCl กับ AgNO3
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
1.2 KI กับ Pb(NO3)2
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
1.3 NH4Cl กับ Ca(OH)2
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

-7-
1.4 Na3PO4 กับ MgCl2
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. จากสารที่กาหนดให้ต่อไปนี้
KCl Na₂SO₄ CaSO₄ BaCO₃ Mg(OH)₂
MgSO₄ AgNO₃ BaCl₂ NaHCO₃

2.1 สารชนิดใดไม่ละลายน้า……………………………………………………………………………………………………………
2.2 สารละลายคู่ใดที่ผสมกันแล้วได้ตะกอนแบเรียมซัลเฟต (BaSO4) และเขียนสมการไอออนิกสุทธิ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ตะกอนที่กาหนดให้ได้จากการผสมสารละลายใดได้บ้าง
Ag3PO4
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
MgCO3
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
PbBr2
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

-8-
-9-
1. การที่อะตอมพยายามปรับตัวเองให้อยู่ในสภาพเสถียรโดยทาให้อิเล็กตรอนวงนอกสุดเท่ากับ 8 เรียกกฎนี้ว่าอย่างไร
ก. กฎออกซิเดชั่น ข. กฎออกเตต ค. กฎโคเวเลนต์ ง. กฎไอออนิก
2. ข้อใดกล่าวถึงสารประกอบโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง
ก. เกิดจากการรวมตัวของธาตุโลหะกับโลหะ ข. เกิดจากการรวมตัวของธาตุอโลหะกับอโลหะ
ค. เกิดจากการรวมตัวของธาตุโลหะกับอโลหะ ง. ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงทางไฟฟ้า
3. เพราะเหตุใด อโลหะจึงยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ก. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนยาก ข. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนง่าย
ค. อโลหะมีค่า EN ต่าเสียอิเล็กตรอนยาก ง. อโลหะมีค่า EN ต่าเสียอิเล็กตรอนง่าย
4. ข้อใดจัดเป็นสารประกอบโคเวเลนต์ทั้งหมด
ก. NaCl CO2
ข. BeCl2 CaCO3
ค. MgO BF3
ง. PCl5 CO2
5. สารประกอบในข้อใดที่เชื่อมต่อกันด้วยพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสามตามลาดับ
ก. F2 O2 NH3
ข. H2 CO2 N2
ค. Cl2 N2 CO2
ง. N2 CS2 CO2
6. สูตรของสารประกอบโคเวเลนต์ระหว่างธาตุสมมติ X และ Y ที่มีเลขอะตอมเป็น 9 และ 15 ตามลาดับ คือข้อใด
ก. YX3
ข. X3Y
ค. YX2
ง. Y2X
7. สารโคเวเลนต์ต่อไปนี้ ข้อใดที่ประกอบด้วยพันธะมีขั้ว แต่เป็นโมเลกุลไม่มีขั้วทั้งหมด
ก. N2 NH3
ข. CH4 CCl4
ค. F2 PCl3
ง. NH3 H2O
8. สารโคเวเลนต์ต่อไปนี้ ข้อใดที่ประกอบด้วยพันธะมีขั้ว และเป็นโมเลกุลมีขั้วทั้งหมด
ก. N2 NH3
ข. CH4 CCl4
ค. F2 PCl3
ง. NH3 H2O
9. สารโคเวเลนต์ต่อไปนี้ ข้อใดที่อะตอมกลางมีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวหนึ่งคู่
ก. NH3
ข. PCl5
ค. CO2
ง. H2O

-10-
10. สารในข้อใดต่อไปนี้ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวที่อะตอมกลาง
ก. PCl3
ข. PH3
ค. NH3
ง. BF3
11. ข้อใดเป็นพันธะไอออนิกทั้งหมด
ก. NaCl BeCl2 ข. MgCl2 KNO3 ค. B3Cl Al2O3 ง. SiO2 H2O
12. ข้อใดเป็นการเรียงลาดับ ประเภทของพันธะหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมในสารต่อไปนี้ เหล็ก, น้า (H2O), เกลือแกง
(NaCl)
ก. พันธะโลหะ , พันธะโคเวเลนต์, พันธะไอออนิก ข. พันธะไอออนิก, พันธะไฮโดรเจน, พันธะโคเวเลนต์
ค. พันธะไอออนิก, พันธะโคเวเลนต์, พันธะโลหะ ง. พันธะโลหะ, พันธะไอออนิก, พันธะโคเวเลนต์
13. ข้อใดเขียนสูตรสารประกอบไอออนิกได้ถูกต้องทั้งหมด
ก. NaCl2 MgCl2 ข. Mg(OH)2 K2Cl
ค. Al3O2 KCN ง. CaCO3 NH4Cl
14. ข้อใดคือสูตรโมเลกุลของสารที่มีชื่อว่า “ไดฟอสฟอรัสเพนตะออกไซด์”
ก. P2O5 ข. P2O3
ค. K2O5 ง. K2O3
15. สารชนิดใดมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลเป็นแรงลอนดอน
ก. HCl ข. H2
ค. NH3 ง. PCl3

-11-

You might also like