You are on page 1of 18

โรงเรี ยนสภาราชินี จังหวัดตรัง กลุ ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์

วิชาเคมี (เพิ่มเติม) 2 ว 32222 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5

อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมี เป็ นการเปลี่ยนแปลงของสารที่ได้ผลิตภัณฑ์ของสารที่แตกต่างจากสารเดิม โดยอาจ
สังเกตจากการเปลี่ยนสี ของสาร การเกิดตะกอนหรื อการเกิดกลิ่นใหม่
ทฤษฎีที่ใช้อธิบายปฏิกิริยาเคมี มีอยู่ 2 ทฤษฎี คือ

1. ทฤษฎีการชน (The Collision Theory) ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นต้องมา


ปะทะกันหรื อมาชนกัน และการชนกันนั้นมีท้ งั การชนที่ประสบผลสำเร็ จ ดังภาพ

แบบจำลองการเกิดปฏิกิริยาเคมีตาม ทฤษฎีการ

2. ทฤษฎีแอกติเวเตดคอมเพลกซ์ หรือทฤษฎีสภาวะทรานซิชัน (The Activated Complex Theory or The


Transition State Theory) เป็ นทฤษฎีที่ดดั แปลงมาจากทฤษฎีการชน โดยทฤษฎีน้ี จะกล่าวถึงการชนอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพของสารตั้งต้นในลักษณะที่เหมาะสม โดยจะเกิดเป็ นสารประกอบใหม่ชวั่ คราว ที่เรี ยกว่า สาร
เชิงซ้อนกัมมันต์ (Activated Complex) ซึ่ งในระหว่างการเกิดสารชนิดนี้ พนั ธะเคมีของสารตั้งต้นจะอ่อนลง
และเริ่ มมีการสร้างพันธะใหม่ระหว่างคู่อะตอมที่เหมาะสม จนในที่สุดพันธะเก่าจะถูกทำลายลงอย่างสิ้ นเชิง
และจะมีพนั ธะใหม่ถูกสร้างขึ้นมาแทนที่ ดัง แบบจำลองการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้

แบบจำลองการเกิด
ปฏิกริ ิยาเคมีตาม ทฤษฎีแอกติเวเตดคอมเพลกซ์
พลังงานกับการเกิดปฏิกริ ิยา

ในการเกิดปฏิกิริยาของสารแต่ละปฏิกิริยานั้น ต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2 ขั้น


ตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 เป็ นขั้นที่ดูดพลังงานเข้าไปเพื่อสลายพันธะในสารตั้งต้น


ขั้นที่ 2 เป็ นขั้นที่คายพลังงานออกมาเมื่อมีการสร้างพันธะในผลิตภัณฑ์

ดังนั้นการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ดังนี้

1. ปฏิกริ ิยาดูดความร้ อน ( Endothermic reaction) เป็ นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะมากกว่าที่


คายออกมาเพื่อสร้างพันธะ โดยในปฏิกิริยาดูดความร้อนนี้ สารตั้งต้นจะมีพลังงานต่ำกว่าผลิตภัณฑ์ จึงทำให้
สิ่ งแวดล้อมเย็นลง อุณหภูมิลดลง เมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู ้สึกเย็น ดังภาพ

2. ปฏิกริ ิยาคายความร้ อน ( Exothermic reaction) เป็ นปฏิกิริยาที่ดูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะน้อยกว่าที่


คายออกมาเพื่อสร้างพันธะ โดยในปฏิกิริยาคายความร้อนนี้ สารตั้งต้นจะมีพลังงานสู งกว่าผลิตภัณฑ์ จึงให้
พลังงานความร้อนออกมาสู่ สิ่งแวดล้อม ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น เมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู ้สึกร้อน ดังภาพ

............

แผนภูมิพลังงานของปฏิกริ ิยาดูดความร้ อน แผนภูมิพลังงานของปฏิกริ ิยาคายความร้ อน

อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี หมายถึง ปริ มาณสารตั้งต้นที่หายไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา หรื อปริ มาณผลิตภัณฑ์ที่


เกิดขึ้นต่อหนึ่งหน่วยเวลา
เมื่อพิจารณาจากปฏิกิริยาต่อไปนี้ A + 2B -------------> C ………..(1)
ในขณะที่ปฏิกิริยาดำเนินไป สาร A และสาร B เป็ นสารตั้งต้นถูกใช้ไป ดังนั้นความเข้มข้นของสาร A และ
B จะลดลง ส่ วนความเข้มข้นของสาร C ซึ่ งเป็ นผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้น จากปฏิกิริยา (1) จะพบว่าอัตราการลด
ลงของสาร A เป็ นครึ่ งหนึ่งของการลดลงของสาร B

ดังนั้นเมื่อเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยาในรู ปของสารต่างๆ จะต้องคิดต่อ 1 โมลของสาร


นั้น ซึ่ งสามารถเขียนได้ดงั นี้

อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี = ปริ มาณของสารตั้งต้นที่ลดลง/ เวลา


= ปริ มาณของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น / เวลา

อัตราเร็วเฉลีย่ หมายถึง อัตราเร็ วโดยเฉลี่ย  ตั้งแต่เริ่ มต้น จนปฏิกิริยาเกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง  เช่น  อัตราเร็ ว


เฉลี่ยในช่วง 10 วินาที ( หาได้จากการทดลอง)

อัตราเร็ว ณ เวลาหนึ่ง   หมายถึง   อัตราเร็ วของปฏิกิริยาที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง  เช่น  อัตราเร็ ว ณ 10


วินาที ( หาจากค่าความชันของกราฟระหว่างปริ มาณสารกับเวลา)

ปัจจัยทีม่ ีผลต่ ออัตราการเกิดปฏิกริ ิยา

1.   ความเข้ มข้ นของสารตั้งต้ น   กรณี ที่สารตั้งต้นเป็ นสารละลาย ถ้าสารตั้งต้นมีความเข้มข้นมากจะเกิดเร็ ว


เนื่องจากตัวถูกละลายมีโอกาสชนกันมากขึ้นบ่อยขึ้น   ในทางตรงกันข้ามถ้าเราเพิ่มปริ มาตรของสารละลาย
โดยความเข้มข้นเท่าเดิม อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเท่าเดิม

2.   พืน้ ที่ผวิ สัมผัส กรณี ที่สารตั้งต้นมีสถานะเป็ นของแข็ง สารที่มีพ้ืนที่ผวิ สัมผัสมากจะทำปฏิกิริยาได้เร็ ว


ขึ้น เนื่องจากสัมผัสกันมากขึ้น  ใช้พิจารณากรณี ที่สารตั้งต้นมีสถานะของแข็ง ดังภาพ

ความแตกต่ างของ พืน้ ที่ผวิ

  3. ความดัน กรณี ที่สารตั้งต้นมีสถานะเป็ นก๊าซ ถ้าความดันมากปริ มาตรก็ลดลง และปฏิกิริยาก็จะเกิดได้


เร็ ว เนื่องจากอนุภาคของสารมีโอกาสชนกันมากขึ้นบ่อยขึ้นในพื้นที่ที่จำกัดนัน่ เอง ดังภาพ
 

4. อุณหภูมิ การที่อุณหภูมิของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น


โมเลกุลของสารในระบบจะมีพลังงานจลน์สูงขึ้นและมีการชนกันของโมเลกุลมากขึ้น

ปฏิกริ ิยาที่อุณหภูมิต่ำ ปฏิกริ ิยาที่อุณหภูมิสูง

  5. ตัวเร่ งปฏิกริ ิยา (Catalyst) หมายถึงสารเคมีที่ช่วยทำให้อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเร็ วขึ้นเนื่องจากตัวเร่ งจะ


ช่วยในการลดพลังงานกระตุน้ โดยช่วยปรับกลไกในการเกิดปฏิกิริยาให้เหมาะสมกว่าเดิม โดยจะเข้าไปช่วย
ตั้งแต่เริ่ มปฏิกิริยาแต่เมื่อสิ้ นสุ ดปฏิกิริยาจะกลับมาเป็ นสารเดิม

6.   ธรรมชาติของสาร   เนื่องจากสารมีแรงยึดเหนี่ยวซึ่ งแตกต่างกัน โดยปกติสารประกอบไอออนิกจะ


เคลื่อนที่ได้เร็ วกว่าสารประกอบโควาเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจะเกิดปฏิกิริยาเร็ วกว่าสารประกอบ
โควาเลนต์

แบบฝึ กหัดเสริม เรื่อง ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี


1. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี หมายถึง
……………………………………………………………………………………………………...
2. เขียนเป็ นสมการได้เป็ น ดังนี้
………………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………………
3. การวัดปริ มาณสารในปฏิกิริยาเคมีหนึ่งๆ นั้น จะวัดจากสารใดนั้นต้องขึ้นอยูก่ บั ความสะดวก ลักษณะและ
สมบัติของสารเป็ นเกณฑ์ เช่น
- ถ้าเป็ นก๊าซ ……………………………………………………………………………..
- ถ้าเป็ นสารละลาย ………………………………………………………………………
- ถ้าเป็ นของแข็ง …………………………………………………………………………
4. ส่ วนหน่วยเวลาที่ใช้วดั อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยูก่ บั ชนิดของปฏิกิริยา กล่าวคือ ถ้าเป็ นปฏิกิริยาเคมีที่
เกิดเร็ ว อาจจะวัดเป็ น ……………..………… และถ้าเป็ นปฏิกิริยาที่เกิดช้า อาจวัดเป็ น .………………….
5. ดังนั้น หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีวดั เป็ น …………………..…….ต่อ ………….………………
6. สัญลักษณ์ที่ใช้ในอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
[ ] แทน ……………………………………………………
Δ แทน ……………………………………………………
t แทน ……………………………………………………
เครื่ องหมาย + แทน ………………………………………
เครื่ องหมาย - แทน ………………………………………
7. อัตราการลดของสารตั้งต้น เท่ากับปริ มาณของสารตั้งต้นที่ลดลงต่อ 1 หน่วยเวลา เขียนได้เป็ น
………………………………………………………………………………………………………………
……..…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
8. อัตราการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ เท่ากับปริ มาณของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นต่อ 1 หน่วยเวลา เขียนได้
เป็ น
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………… ……………………………………………………………………………………………..
9. ถ้ากาหนดให้สมการทัว่ ไป ดังนี้ aA + bB --------> cC + dD จงเขียนความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง
ความเข้มข้นของสารในการเกิดปฏิกิริยากับเวลา
………………………………………………………………………………………………………………
10. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี แบ่งออกเป็ น …………. ประเภท คือ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
11. กาหนดสมการของปฏิกิริยาเคมี ดังนี้
2 KMnO4 + 16 HCl ------------> 2 KCl + 2MnCl2 + 8H2O + 5Cl2
จงเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยา การลดลงของสารผลิตภัณฑ์ และอัตราการเกิด
สารผลิตภัณฑ์ ………………………………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
12. จาการทดลองหาค่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาระหว่าง Mg กับ HCl ดังสมการ
Mg (s) + 2 HCl (aq) -------------> MgCl2 (aq) + H2 (g)
เวลา (s) 4 10 18 28 40
ปริ มาตรของ H2(g) (cm3) 1 4 6 8 10
1. ในปฏิกิริยา Mg(s) + 2HCl (aq) MgCl2(aq) + H2 (g) พบว่า เมื่อปฏิกิริยาใกล้จะสิ้ นสุ ดนั้น อัตรา
การเกิดก๊าชไฮโดรเจนจะลดลง ทั้งนี้เพราะเหตุใด
ก. ผลิตภัณฑ์รวมตัวกลับไปเป็ นสารตั้งต้นมากขึ้น
ข. ความเข้มข้นของสารตั้งต้นลดลง
ค. อุณหภูมิของผสมจะลดลง เนื่องจากพลังงานถูกใช้ไป
ง. ผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นทำหน้าที่เป็ นตัวขัดขวางปฏิกิริยา
2. สำหรับปฏิกิริยา 2H2O2(aq) 2H2O(1) + O2(g) ซึ่ งเกิดขึ้นในระบบปิ ด อัตราการสลายตัวของ
H2O2 (วัดจากปริ มาตราของก๊าซ O2 ที่เกิดขึ้น) เปลี่ยนไปตามเวลาดังรู ปใด (ENT’25)
ก. ข.
ปริ มาณ ปริ มาณ
O2 O2
เวลา เวลา

ค. ง.
ปริ มาณ ปริ มาณ
O2 O2
เวลา เวลา
3. กราฟในข้อใดที่จะแทนความสัมพันธ์ระหว่าง Y (ความเข้มข้นของ HI) กับ X (เวลาที่ปฏิกิริยาดำเนินไป
ของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) 2HI (g) (ENT’26)
C ‫א‬.
Y A
B ‫ב‬. B
A ‫ג‬. C
D ‫ד‬. D
เวลา
คำชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคำถามข้อ 4-5
จากผลการทดลองหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะแมกนีเซี ยมกับกรดไฮโดรคลอริ กได้
ผลดังต่อไปนี้
ปริมาตรของก๊าซไฮโดรเจน (cm3) เวลา(s)
1 20
2 40
3 70
4 90
5 110
4. อัตราการเกิดของก๊าซไฮโดรเจนที่ปริ มาตรระหว่าง 4-5 cm3 มีคา่ กี่ cm3/s
1 1 1 5
ก. 20 ข. 90 ค. 110 ง. 320

1
5. อัตราเฉลี่ยการเกิด H มีค่าเท่ากับ 64×22. 4×10 3 mol/s อัตราการใช้ HCI เป็ นกี่ mol/s
1 1
ก. 128×22 . 4×103 ข. 64×22. 4×10 3

1 1
ค. 32×22 . 4×103 ง. 16×22. 4×103

6. เมื่อนำ Mg มา 5 กรัม ใส่ ลงในสารละลาย HCI 2.5mol/l จำนวน 100 cm3 หลังจากเวลาผ่านไป 50 วินาที
ปรากฏว่าเหลือ Mg อยูจำ ่ นวนหนึ่ง ส่ วนกรดใช้หมดไปพอดี จงคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยเป็ น mol/l
ก. 0.0025 ข. 0.005
ค. 0.025 ง. 0.05
7. จากสารละลาย Na2S2O3 0.3 mol/l 10 cm3 ทำปฏิกิริยากับ HCI 0.2 mol/l 10 cm3 ใช้เวลาทั้งสิ้ น 20
วินาที ปฏิกิริยาจึงสิ้ นสุ ด จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย เมื่อคิดจากมวลของ S เป็ นกรัม/วินาที กำหนด
สมการให้ดงั นี้
2−
S2O 3 + 2H+ H2O + SO2 + S
ก. 0.0016 ข. 0.0036
ค. 0.0048 ง. 0.0056
8. ก๊าซ NO2 สลายตัวตามสมการ
2NO2 (g) 2NO(g) + O2 (g)
1 1
ก. 128×22 . 4×103 ข. 64×22. 4×10 3
1 1
ค. 32×22 . 4×103 ง. 16×22. 4×103
9. จากสมการ 2N2O5(g) 4NO2 (g) + O2(g)
การสลายตัวของ N2O5 มีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นดังนี้
เวลา (s) ความเข้มข้นของ N2O5 (mol/dm3)
0 X
500 3.5
1000 2.5
1500 1.8
2000 1.2
ถ้าอัตราการสลายตังของ N2O5 เป็ น 1.9x10 mol/dm .s ข้อใดเป็ นค่าของ X (mol/dm3) และอัตราการ
-3 3

เกิดของ O2 (mol/dm3.s) ในช่วงเวลา 0 – 500 วินาที (ENT’38)


‫א‬. 5.0 , 1.2 x10-3
‫ב‬. 5.0 , 1.5 x 10-3
‫ג‬. 6.0 , 2.5 x 10-3
‫ד‬. 8.8 , 3.5 x 10-3
10. ข้อมูลดังต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคำถาม (ENT’28)
สาร A และ B ทำปฏิกิริยากันดังสมการ A(aq) + B(aq) 2C(aq) เมื่อใช้สารละลาย A
เข้มข้น 0.2 mol/l จำนวน 3 cm ผสมกับสารละลาย B เข้มข้น 0.2 mol/l จำนวน 3 cm3 แล้วจับเวลาทันทีที่
3
สารละลายผสมกันหลังจากเวลาผ่านไป 10 วินาที นำสารละลายไปวิเคราะห์หาจำนวนโมลของสาร C ทันที
ปรากฏว่ามีสาร C เกิดขึ้น 2.3x10-4 mol อัตราการเกิดนี้มีปฏิกิริยานี้มีค่าเท่าใด
‫א‬. ระยะทางที่ระดับสารละลายลดลงใน 1 วินาที
‫ב‬. ความเข้มข้นของสาร C ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยา / เวลา = 0.23 x10-4 mol/l.s
‫ג‬. ความเข้มข้นของสาร A ที่ลดลง เนื่องจากปฏิกิริยา/เวลา =0.38x10-4 mol/l.s
‫ד‬. อัตราการลดลงของสาร A ซึ่ งมีค่าเท่ากับ 0.19x10-2 mol/l.s

เฉลยแบบฝึ กหัด

1. ข
2. ก
3. ข
4. ก
5. ค
6. ก
7. ก
8. ข
9. ข
10.ง
โรงเรี ยนสภาราชินี จังหวัดตรัง กลุ ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์
วิชาเคมี (เพิ่มเติม) 2 ว 32222 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5
กฎอัตราและค่ าคงที่ของกฎอัตรา
กฎอัตรากล่าวว่า “ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับผลคูณของความเข้มข้นของ
สารตั้งต้นและความเข้มข้นแต่ละค่ามีเลขยกกำลัง ซึ่ งแล้วแต่ปฏิกิริยาใดโดยเฉพาะ”
ถ้าปฏิกิริยาทัว่ ไปเป็ นดังนี้
aA+bB  →   cC+dD
ตามกฎดังกล่าวสามารถเขียนให้อยูใ่ นรู ปความสัมพันธ์ทางคณิ ตศาสตร์ได้ดงั นี้

สมการนี้เรี ยกว่ากฎอัตรา หรื อสมการอัตรา


V = อัตราการเกิดปฏิกิริยา
k = ค่าคงที่ของอัตรา และเป็ นค่าคงที่เฉพาะปฏิกิริยาที่อุณหภูมิคงที่
n,m = เลขยกกำลังความเข้มข้นอาจเป็ นจำนวนเต็มบวกหรื อเศษส่ วนก็ได้
กฎอัตราบอกให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของสารตั้งต้นกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น
ถ้ากฎอัตรา คือ V = k[A]2[B]0 แสดงว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาไม่ข้ นึ กับความเข้มข้นของสาร B แต่ข้ ึนอยู่
กับ [A]2 คือ ถ้าเพิ่ม [A] เป็ น 2 เท่า อัตราการเกิดปฏิกิริยา (V) จะเพิ่มขึ้น 22 = 4 เท่า เป็ นต้น
         ค่า n และ m เป็ นค่าที่ได้จากการทดลอง แต่อย่างไรก็ตามบางกรณี อาจทราบค่า n และ m ได้ ถ้า
ปฏิกิริยาใดเกิดขึ้นเพียงขั้นเดียว n และ m จะมีคา่ เท่ากับตัวเลขแสดงจำนวนโมลของสารตั้งต้นในสมการที่
ดุลแล้ว เช่น ถ้าปฏิกิริยาระหว่าง A และ B เกิดขึ้นเพียงขั้นเดียวดังนี้
                         2A + B    →    C + D
กฎอัตราของปฏิกิริยานี้คือ
V = k[A]2 [B]
ในปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นมากกว่า 1 ขั้น ค่า n และ m จะมีคา่ ไม่เท่ากับตัวเลขแสดงจำนวนโมลของสารในสมการ
ที่ดุลแล้วของปฏิกิริยารว เพราะอัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยูก่ บั ขั้นที่ชา้ ที่สุดซึ่ งเรี ยกว่า “ขั้นกำหนดอัตรา”
กรณี น้ ีกฎอัตราจึงต้องพิจารณาจากสมการที่ดุลแล้วของขั้นที่ชา้ ที่สุด เช่น ปฏิกิริยาระหว่างก๊าซ NO กับก๊าซ
H2 เกิดขึ้น 2 ขั้นดังนี้
ขั้นที่ 1 2NO (g) + H2 (g)    →    N2 (g) + H2O2 (g) เกิดช้า
ขั้นที่ 2 H2O2 + H2 (g)    →    2H2 O เกิดเร็ ว
ปฏิกิริยารวมคือ 2NO (g) + 2H2 (g)    →    N2 (g) + 2H2O (g)
อัตราการเกิดปฏิกิริยาขึ้นอยูก่ บั ขั้นที่ 1 ดังนั้นกฎอัตราของปฏิกิริยานี้คือ
V = k[NO] 2 [H2]
ไม่ใช่ V = k[NO]2 [H2]2 คิดจากสมการรวม
       
วิธีการทดลองหาค่า n,m และกฎอัตรา ในการศึกษาผลของความเข้มข้นของสารตั้งต้นต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆ นั้นใช้วธิ ีการทดลองวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเป็ นชุดๆ โดยในการทดลองแต่ละชุด
นั้นให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่จะศึกษาเปลี่ยนแปลง ส่ วนความเข้มข้นของสารตั้งต้นตัวอื่นๆ รวมทั้ง
ภาวะต่างๆ ให้คงที่ เช่น ปฏิกิริยา
        NO2 (g) + CO (g)     →     CO2 (ag) + NO (g) ที่ 430 ๐ C เมื่อทำการทดลอง 2 ชุด โดยชุดที่ 1 ให้
ความเข้มข้นของ NO2 คงที่ ส่ วนชุดที่ 2 ให้ความเข้มข้นของ CO คงที่ ผลการทดลองเป็ นดังนี้

         
  จากการทดลองชุดที่ 1 เมื่อเพิ่ม [CO] เป็ น 2 เท่า อัตราการเกิดปฏิกิริยา ก็เพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าด้วย
แสดงว่า n = 1
                                      
จากการทดลองชุดที่ 2 เมื่อเพิ่ม [NO2] เป็ น 2 เท่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าด้วย
แสดงว่า m = 1
                                      
ดังนั้น     [CO]
V = k[NO2][CO]   สมการนี้คือกฎอัตรา
การคำนวณหาค่ า n,m กฎอัตราและค่ าคงที่ของอัตรา

ตัวอย่าง จากปฏิกิริยา 2NO(g) + O2 (g)       →        2NO2 (g) ซึ่ งเกิดที่  25 ๐ C มีขอ้ มูลดังต่อไปนี้

 
จงหา
1. ค่า n 2. ค่า m 3. กฎอัตรา 4. k
5. จงคำนวณหาอัตราเริ่ มต้นของการเกิด NO2 ถ้าความเข้มข้นเริ่ มต้นของ NO = 0.04 mol dm-3 และความเข้ม
ข้นเริ่ มต้นของ O2 = 0.015  mol  dm-3
วีธีทำ
1. หาค่า n โดยเลือกการทดลองที่ 3 และการทดลองที่ 4 ซึ่ งความเข้มข้นของ O2 คงที่
                    จากกฎอัตรา             V   =   k[NO]n [O2]m
                    ผลการทดลองที่ 3 แทนค่าในสมการทัว่ ไป
                                          0.021         =           k [0.01]n [0.03]m                      (1)
                    ผลการทดลองที่ 4 แทนค่าในการสมการทัว่ ไป
                                          0.084         =           k [0.02]n [0.03]m                      (2)
                   สมการ (2)  /   สมการ (1)

            =         


                                           4              =             2n
                                           2 2           =             2n
                                           n              =             2
2. หาค่า m โดยเลือกการทดลองที่ 1 และการทดลองที่ 2 ซึ่ งความเข้มข้นของ NO คงที่
                   ผลการทดลองที่ 1 แทนค่า ในสมการทัว่ ไป
                                           0.007 = k[0.01] n [0.01] m           (3)
                   ผลการทดลองที่ 2 แทนค่า ในสมการทัว่ ไป
                                           0.014 = k[0.01] n [0.02] m           (4)
สมการ (4) / สมการ (3)

                                              =         


                                                   2        =          2 m
                                                 m         =          1
3. หากฎอัตรา
                  จาก   V          =     k[NO] n [O 2 ] m
                  เนื่องจาก   n   =   2   และ   m   =   1
                  กฎอัตราคือ V      =    k [NO] 2 [ O 2 ]
4. หาค่า k
จาก   V     =    k[NO]2 [O2]
ใช้ค่าต่างๆ ในการทดลองที่ 1 แทนค่าในกฎอัตรา
                 0.007 mol dm-3 s-1  = k[0.01 mol dm-3 ]2  [0.01 mol dm-3]

                                K            =            


                ค่าคงที่ของอัตรา        =           7.0 x 103  dm6mol-2s -1    
5. อัตราเร็ วเริ่ มต้นของการเกิด NO2 เมื่อความเข้มข้นเริ่ มต้นของ NO = 0.04 mol dm-3  และความเข้มข้นเริ่ ม
ต้นของ O2 = 0.015 mol dm-3
               จากฎอัตราที่ได้
                V             =             k [NO]2 [O2]
                K             =             7.0 x 103 dm6 mol-2 s -1
ตัวอย่ าง ข้อมูลอัตราการเกิดปฏิกิริยาบันทึกไว้สำหรับปฏิกิริยาที่อุณหภูมิค่าหนึ่งเฉพาะ ดังนี้
    2ClO2 (aq) + 2OH-     →      ClO-3 (aq) + ClO-2 (aq) + H2O (l)

การทดลองที่ [ClO2](mol/l) [OH-](mol/l) อัตราการเกิดปฏิกริ ิยา(mol/l –s)


1 0.015 0.015 3.88 x 10 -4
2 0.030 0.015 1.55 x 10 -3
3 0.015 0.030 7.76 x 10 -4
4 0.030 0.030 3.11 x 10 -3
 
ก. จงหากฎอัตราของปฏิกิริยานี้
  ข. จงบอกอันดับของปฏิกิริยานี้
ค. จงหาค่าคงที่ของอัตรา
จากสมการของปฏิกิริยาเขียนกฎอัตราทัว่ ไปเป็ น V = K [ClO2] n [OH-] m
               จากการทดลองที่ 1 และ 2 มี [OH-] คงที่จะได้วา่
                              V2 / V1   =   ([ClO2] 2 / [ClO2] 1) n
               แทนค่า (1.55x10-3 mol/l-s / 3.88x10-4 mol/l-s) = (0.030 mol/l / 0.015 mol/l) n
                                                                       3.99 = (2) n
                                                                         (4) = (2) n
                                                                      (2) 2 = (2) n     จะได้วา่ n = 2
               จากการทดลองที่ 1 และ 3 มี [ClO2] คงที่ จะได้วา่
                              V3/ V1   =  ([OH-] 3 / [OH-] 1) n
               แทนค่า (7.76x10-4 mol/l-s / 3.88x10-4 mol/l-s) = (0.030 mol/l / 0.015 mol/l) n
                                                                        (2) 1= (2) m   จะได้วา่   m = 1
           ก. กฎอัตราของปฏิกิริยานี้คือ  V = K [ClO2] 2 [OH-] 1
           ข. อันดับของปฏิกิริยาเท่ากับ 2 + 1 = 3

ข้ อ 1.  จากการทดลองปฏิกิริยาระหว่างโลหะ Mg กับกรด HCl ได้ แก๊ ส H2   จับเวลาในการเกิดแก๊ สทุก ๆ 1


cm3 ได้ ดงั นี ้

ปริ มาตรแก๊ ส H2 ที่เกิด


1 2 3 4 5
ขึ ้น(cm3)
 เวลา(s) 10 22 37 57 82

       จงหาอัตราการเกิดแก๊ สระหว่าง 4-5 cm3 

ก) 0.04     cm3/s ข) 0.083  cm3/s ค) 0.66    cm3/s ง) 25.0     cm3/s


ข้ อ 2.  จากการทดลองปฏิกิริยาระหว่างโลหะ Mg กับกรด HCl ได้ แก๊ ส H2   จับเวลาในการเกิดแก๊ สทุก ๆ 1
cm3 ได้ ดงั นี ้
ปริ มาตรแก๊ ส H2 ที่เกิด
1 2 3 4 5
ขึ ้น(cm3)
 เวลา(s) 10 22 37 57 82

       จงหาอัตราการเกิดแก๊ ส H2 เฉลี่ย

ก)  0.060 cm3/s ข)  0.069 cm3/s ค)  0.071 cm3/s ง)  16.40 cm3/s

ข้ อ 3. เมื่อใส่โลหะ Mg 9.0 กรัมลงในกรด HCl พบว่าเมื่อเวลาผ่านไป 15 วินาที มีโลหะ Mg เหลืออยู่ 1.8


กรัม จงคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา (มวลอะตอมของ Mg = 24)

ก) 0.01 mol/s ข) 0.02 mol/s ค) 0.30 mol/s ง) 0.48 mol/s

ข้อ 4.  เมื่อใส่ โลหะ Mg 9.0 กรัมลงในกรด HCl พบว่าเมื่อเวลาผ่านไป 15 วินาที  มีโลหะ Mg เหลืออยู่ 1.8
กรัม  จงคำนวณหา อัตราการลดลงของกรด HCl 
           (มวลอะตอมของ Mg = 24)

ก) 0.01 mol/s ข) 0.02 mol/s  ค) 0.04 mol/s  ง) 0.48 mol/s 

ข้อ 5.  จากสมการ        2NO(g)   +   O2(g)     -------------->    2NO2(g)   ข้อสรุ ปข้อใดถูกต้อง

ก) อัตราการลดลงของแก๊ส O2  =    อัตราการเกิดแก๊ส NO2 


ข) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี     =   1/2 อัตราการเกิดแก๊ส NO2
ค) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี     =   2 เท่าของอัตราการเกิดแก๊ส NO2
ง) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี     =   2 เท่าของอัตราการลดลงของแก๊ส O2
ข้อ 6.  จากการทดลองพบว่า  อัตราการลดลงของสาร X เท่ากับ 1/4 ของอัตราการลดลงของสาร Y  และ
เท่ากับ 1/2 ของอัตราการเกิดสาร Z  จงเขียนสมการแสดง
           ปฏิกิริยาเคมีในการทดลองนี้    

ก)   1/2 X   +     Y  ----------->    1/4 Z 


ข)   X   +   1/4 Y  ----------->  1/2 Z
ค)   X   +   2Y  ----------->    4Z
ง)   X   +   4Y  ----------->    2Z

ข้อ 8.  ปฏิกิริยา   A + B   ------------------->  F      เป็ นปฏิกิริยาที่เกิดหลายขั้นตอน     ปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยา
ประเภทใด และมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์เท่าใด

                                                             

ก) เป็ นปฏิกิริยาดูดพลังงาน  มีคา่ พลังงานก่อกัมมันต์ 50 kJ


ข) เป็ นปฏิกิริยาดูดพลังงาน  มีคา่ พลังงานก่อกัมมันต์ 90 kJ
ค) เป็ นปฏิกิริยาคายพลังงาน  มีคา่ พลังงานก่อกัมมันต์ 50 kJ
ง) เป็ นปฏิกิริยาคายพลังงาน  มีคา่ พลังงานก่อกัมมันต์ 40 kJ

ข้อ 9.  เมื่อเติมตัวเร่ งปฏิกิริยา   ทำให้ปฏิกิริยาเกิดเร็ วขึ้นได้อย่างไร

ก) ตัวเร่ งปฏิกิริยาช่วยจัดทิศทางในการชนของอนุภาคให้เหมาะสม
ข) ตัวเร่ งปฏิกิริยาช่วยให้ความถี่ในการชนของอนุภาคมากขึ้น
ค) ตัวเร่ งปฏิกิริยาช่วยเพิม่ พื้นที่ผวิ สัมผัสของสารให้มากขึ้น
ง) ตัวเร่ งปฏิกิริยาทำให้พลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาลดลง
ข้อ 10.  ปฏิกิริยา  A + B  ----------> C  เป็ นปฏิกิริยาคายพลังงาน  และ เป็ นปฏิกิริยาไปข้างหน้าที่
ผันกลับได้   มีค่าพลังงานก่อกัมมันต์ 2 kJ   และคายพลังงาน 1 kJ
             ปฏิกิริยา   C ---------> A + B  ซึ่ งเป็ นปฏิกิริยาย้อนกลับ   จะมีคา่ พลังงานก่อกัมมันต์เท่าใด

ก)  1 ข)  2 ค)  3 ง)  4

1. ข้อใดต่อไปนี้ เป็ นข้อความที่ไม่ถูกต้อง

ก. ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีโมเลกุลของสารตั้งต้นต้องชนกันให้ถูกทิศทาง

ข. โมเลกุลที่จะมาชนกันแล้วเกิดปฏิกิริยาคือโมเลกุลที่มีพลังงานต่ำ ๆ

ค. ปฏิกิริยาที่มีพลังงานกระตุน้ ต่ำจะมีอตั ราเร็ วสู งกว่าปฎิกิริยาที่มีพลังงานกระตุน้ สู ง

ง. พลังงานกระตุน้ เป็ นค่าเฉพาะของปฏิกิริยาหนึ่ง ๆ

2. ปฏิกิริยา มีพลังงานก่อกัมมันต์ไปข้างหน้า 140.5 kJ และมีพลังงานก่อกัมมันต์ยอ้ นกลับ 85.0 kJ


ข้อความใดถูกต้อง

ก. ปฏิกิริยานี้คายพลังงาน 55.5 kJ

ข. ปฏิกิริยานี้ดูดพลังงานมากกว่า 55.5 kJ

ค. สารที่เป็ นสารผลิตภัณฑ์มีพลังงานสู งหว่าสารที่เป็ นสารตั้งต้น

ง. ปฏิกิริยานี ผันกลับไม่ได้ ์

3. ข้อใดเป็ นเหตุผลที่อธิบายว่า "เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารตั้งต้นอัตราการเกิดปฏิกิริยา เพิ่มขึ้น "

ก. จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มมากขึ้น เป็ นการลดพลังงานกระตุน้

ข. จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มมากขึ้น เป็ นการบังคับให้อนุภาคชนกันทุกทิศทาง

ค. จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มมากขึ้น เป็ นการเพิ่มพื้นที่ผวิ ของสารตั้งต้น

ง. จำนวนอนุภาคของสารตั้งต้นเพิ่มมากขึ้น โอกาสที่อนุภาคจะชนกันมีมากขึ้นทำให้อนุภาคที่มี
พลังงานสูงมีจำนวนมากขึ้น

You might also like