You are on page 1of 14

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1

แบบทดสอบ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายและคํานวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร
2. ทํ า การทดลอง เขี ย นกราฟแสดงความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปริ ม าณสารกั บ เวลา
และแปลความหมายจากกราฟ
3. บอกความหมายและคํานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก
1. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนตปริมาณมากเกินพอกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก วัดปริมาณ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น ณ เวลาต่าง ๆ ได้ผลดังนี้
ปริมาณ CO2 (cm3)

C
B

เวลา (s)

ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. ที่จุด C มีอัตราการเกิด CO2 สูงที่สุด
ข. ที่จุด A มี CaCO3 ปริมาณมากกว่าที่จุด C
ค. ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นสมบูรณ์และสิ้นสุดทีจ่ ุด C
ง. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่จุด A ต่ํากว่าจุด B

จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกความหมายและคํานวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก
2. โลหะอะลูมิเนียมมวล 15.0 กรัม ทําปฏิกิริยาเคมีกับสารละลายกรดซัลฟิวริกปริมาณเกินพอ เมื่อเวลาผ่าน
ไป 5.0 นาที พบว่ามีโลหะอะลูมิเนียมเหลือ 5.0 กรัม อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของโลหะอะลูมิเนียม
ณ ช่วงเวลาเริ่มต้นถึง 5.0 นาที มีค่ากี่โมลต่อนาที (มวลต่อโมลของ Al = 27)
ก. 2.0
ข. 0.11
ค. 0.074
ง. 0.037

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2

จุดประสงค์การเรียนรู้ ทําการทดลอง เขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารกับเวลา


และแปลความหมายจากกราฟ
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [X] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก
3. ปฏิกิริยาการสลายตัวของโพแทสเซียมไนเตรตได้โพแทสเซียมไนไตรต์และแก๊สออกซิเจน ดังสมการเคมี
2KNO3(s)  2KNO2(s) + O2(g)
กราฟข้อใดแสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สออกซิเจนต่อเวลา ตั้งแต่เริ่มต้นปฏิกิริยาเคมีจนกระทั่ง
สิ้นสุดปฏิกิริยาเคมี
ปริมาณแก๊ส O2 (cm3)

ปริมาณแก๊ส O2 (cm3)
ปริมาณแก๊ส O2 (cm3)
ปริมาณแก๊ส O2 (cm3)

เวลา (s) เวลา (s) เวลา (s) เวลา (s)


ก. ข. ค. ง.

จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ 1. ทํ า การทดลอง เขี ย นกราฟแสดงความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปริ ม าณสารกั บ เวลา
และแปลความหมายจากกราฟ
2. บอกความหมายและคํานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก
4. ปฏิกิริยาเคมีชนิดหนึ่งมีการลดลงของปริมาณสารตั้งต้นที่เวลาต่าง ๆ ดังนี้
6.0
5.0
4.0
ปริมาณสาร (g)

3.0
2.0
1.0
0.0 เวลา (s)
0.0 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยมีค่ากี่กรัมต่อวินาที
ก. 0.50
ข. 0.60
ค. 0.63
ง. 0.75

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายและคํานวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร
2. บอกความหมายและคํานวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

5. การแยกน้ําด้วยกระแสไฟฟ้าได้แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สออกซิเจน ดังสมการเคมี
2H2O(l)  2H2(g) + O2(g)

ศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยจับเวลาของการเกิดแก๊ส H2 ได้ผลดังตารางต่อไปนี้
เวลา (min) ความเข้มข้นของ H2 (M)
0.0 0.0
1.0 7.9
2.0 16.8
3.0 23.3
4.0 29.5
5.0 34.7
6.0 37.4
7.0 39.1
8.0 40.0
9.0 40.0
10.0 40.0

อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊ส O2 เฉลี่ยในหน่วย Mmin-1 มีคา่ เท่าใด


ก. 2.0
ข. 2.5
ค. 4.0
ง. 5.0

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4

จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ ทํ า การทดลอง เขี ย นกราฟแสดงความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปริ ม าณสารกั บ เวลา
และแปลความหมายจากกราฟ
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

6. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารละลายเลด(II)ไนเตรตกับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ปริมาณมากเกินพอ วัด
ปริมาณตะกอนของเลด(II)ไอโอไดด์ที่เกิดขึ้น ณ เวลาต่าง ๆ ได้ดังนี้

ปริมาณ PbI2 (g) A

เวลา (s)
เพราะเหตุใดกราฟที่จุด A จึงเป็นเส้นตรง
ก. KI ทําปฏิกิริยาหมด
ข. Pb(NO3)2 ทําปฏิกิริยาหมด
ค. อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ PbI2 คงที่
ง. อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ PbI2 ช้าลง

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎี
สถานะแทรนซิชัน
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก
7. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างแก๊สไนโตรเจนและแก๊สออกซิเจนได้แก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ ดังสมการเคมี
N2(g) + O2(g)  2NO(g)
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้เมื่อใด

ข้อ ทิศทางการชน พลังงานที่เกิดจากการชน


ก. น้อยกว่าพลังงานก่อกัมมันต์
ข. มากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์
ค. มากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์
ง. เท่ากับพลังงานก่อกัมมันต์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎี
สถานะแทรนซิชัน
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

8. พิจารณากราฟแสดงพลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยาของสาร A กับน้ํา และ B กับน้ํา ต่อไปนี้


พลังงาน

พลังงาน
B + H2O
A + H2O
AOH + H2 BOH + H2
การดําเนินไปของ การดําเนินไปของ
A(s) + H2O(l)  AOH(aq) + H2(g) B(s) + H2O(l)  BOH(aq) + H2(g)
ปฏิกิริยาเคมีของสารใดน่าจะเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ง่ายกว่า เพราะเหตุใด
ก. ปฏิกิริยาเคมีของสาร A เพราะมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์มากกว่าปฏิกิริยาเคมีของสาร B
ข. ปฏิกิริยาเคมีของสาร B เพราะมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์น้อยกว่าปฏิกิริยาเคมีของสาร A
ค. ปฏิกิริยาเคมีของสาร A เพราะมีพลังงานของปฏิกิริยาน้อยกว่าปฏิกิริยาเคมีของสาร B
ง. ปฏิกิริยาเคมีของสาร B เพราะมีพลังงานของปฏิกิริยามากกว่าปฏิกิริยาเคมีของสาร A

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎี
สถานะแทรนซิชัน
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

9. ปฏิกิริยาเคมีหนึ่งมีกราฟแสดงพลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยาดังนี้

100
พลังงาน (kJ/mol)

50
ผลิตภัณฑ์
20
สารตั้งต้น
การดําเนินไปของปฏิกิริยา
ประเภทของปฏิกิริยาเคมี พลังงานของปฏิกิริยา (E) และพลังงานก่อกัมมันต์ (Ea) ของปฏิกิริยาเคมีนี้
ข้อใดถูก
ข้อ ประเภทของปฏิกิริยาเคมี E (kJ/mol) Ea (kJ/mol)
ก. ดูดพลังงาน 50 100
ข. ดูดพลังงาน 30 80
ค. คายพลังงาน 30 50
ง. คายพลังงาน 80 100

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎี
สถานะแทรนซิชัน
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

10. ปฏิกิริยาเคมีระหว่างแก๊สมีเทนกับไอน้ํา ดังสมการเคมี


CH4(g) + H2O(g) + 205 kJ  CO(g) + 3H2(g)
ข้อใดถูกต้อง
ก. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงาน
ข. ผลิตภัณฑ์มีพลังงานต่ํากว่าสารตั้งต้น
ค. หลังเกิดปฏิกิริยาเคมี พบว่าอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
ง. พลังงานก่อกัมมันต์มีค่ามากกว่า 205 kJ/mol

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 7

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎี
สถานะแทรนซิชัน
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

11.พิจารณากราฟแสดงพลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยาของสาร A B C และ D ต่อไปนี้


พลังงาน (kJ/mol)

พลังงาน (kJ/mol)

พลังงาน (kJ/mol)

พลังงาน (kJ/mol)
การดําเนินไปของปฏิกิริยา การดําเนินไปของปฏิกิริยา การดําเนินไปของปฏิกิริยา การดําเนินไปของปฏิกิริยา
สาร A สาร B สาร C สาร D
ถ้าต้องการแหล่งพลังงานความร้อนจากปฏิกิริยาเคมี ควรเลือกปฏิกิริยาเคมีของสารใด
ก. A ข. B ค. C ง. D

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทําการทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้นของสาร พื้นที่ผิวของสาร อุณหภูมิ


และตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเป็นปัจจัยหลักทีม่ ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยหลักที่มีผลต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

12.ปฏิ กิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ได้ น้ําและแก๊สออกซิเจนเป็ นปฏิ กิ ริ ยาคายพลังงาน


เมื่อศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของปฏิกิริยานี้โดยวัดปริมาตรแก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้น ณ เวลาต่าง ๆ
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. เติมตัวเร่งปฏิกิริยา
2. ลดอุณหภูมิ
3. เพิ่มความเข้มข้นของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ข้อความใดเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ทําให้อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ก. ข้อ 1 และ 2 เท่านั้น
ข. ข้อ 1 และ 3 เท่านั้น
ค. ข้อ 2 และ 3 เท่านั้น
ง. ข้อ 1 2 และ 3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 8

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทําการทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้นของสาร พื้นที่ผิวของสาร อุณหภูมิ


และตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเป็นปัจจัยหลักทีม่ ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยหลักที่มีผลต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

13.ปฏิกิริยาเคมีระหว่างผงสังกะสีมวล 3 กรัม กับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกปริมาณมากเกินพอ เมื่อวัด


ปริมาณแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้น ณ เวลาต่าง ๆ ได้ผลดังเส้นกราฟ A
ปริมาณแก๊ส H2 (cm3)

B
A

เวลา (s)

การเปลี่ยนแปลงใดที่ทําให้ปริมาณแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นเป็นดังเส้นกราฟ B
ก. เพิ่มอุณหภูมิ
ข. ใช้ผงสังกะสีมวล 6 กรัม
ค. ใช้แผ่นสังกะสีมวล 3 กรัม
ง. ใช้ HCl ความเข้มข้นน้อยลง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 9

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทําการทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้นของสาร พื้นที่ผิวของสาร อุณหภูมิ


และตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเป็นปัจจัยหลักทีม่ ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยหลักที่มีผลต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

14.การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับสารละลายกรดซัลฟิวริก ทําการทดลอง
โดยใช้สารละลายกรดซัลฟิวริกเป็นสารกําหนดปริมาณและใช้สารตั้งต้นปริมาณเท่ากัน แต่การทดลองที่ 1
มีอุณหภูมิต่ํากว่าการทดลองที่ 2
ข้อใดเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์กับเวลาของการทดลองทั้งสอง
การทดลองที่ 1 การทดลองที่ 2

ก. ข.
NaOH (mol/dm3)

NaOH (mol/dm3)
ความเข้มข้นของ

ความเข้มข้นของ

เวลา (s) เวลา (s)

ค. ง.
NaOH (mol/dm3)

NaOH (mol/dm3)
ความเข้มข้นของ

ความเข้มข้นของ

เวลา (s) เวลา (s)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 10

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทําการทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้นของสาร พื้นที่ผิวของสาร อุณหภูมิ


และตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเป็นปัจจัยหลักทีม่ ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยหลักที่มีผลต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

15.ปฏิ กิ ริ ย าการสลายตั ว ของแก๊ ส ไฮโดรเจนไอโอไดด์ เ ป็ น แก๊ ส ไอโอดี น และแก๊ ส ไฮโดรเจน เมื่ อ ไม่ ใ ช้
ตัวเร่งปฏิกิริยามีพลังงานก่อกัมมันต์ 183 kJ/mol และเมื่อใช้ Pt เป็นตัวเร่งปฏิกิริยามีค่าพลังงานก่อกัมมันต์
58 kJ/mol
ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. เมื่อใช้ Pt เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จะได้ผลิตภัณฑ์ปริมาณมากที่สุด
ข. เมื่อไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา จะใช้เวลาในการเกิดปฏิกิริยาน้อยที่สุด
ค. เมื่อใช้ Pt เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จะมีพลังงานของปฏิกิริยาน้อยที่สุด
ง. เมื่อไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา จะต้องใช้พลังงานในการเกิดสาร ณ สถานะแทรนซิชันมากที่สุด

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทําการทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้นของสาร พื้นที่ผิวของสาร อุณหภูมิ


และตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเป็นปัจจัยหลักทีม่ ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยหลักที่มีผลต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

16.ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะทองแดงกับสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต ดังสมการเคมี
Cu(s) + AgNO3(aq)  Ag(s) + CuNO3(aq)

ข้อใดเป็นภาวะที่ปฏิกิริยาเคมีเกิดได้เร็วที่สุด
ก. แผ่นทองแดงมวล 3 g กับ AgNO3 1 M ปริมาตร 10 cm3
ข. แผ่นทองแดงมวล 3 g กับ AgNO3 2 M ปริมาตร 10 cm3
ค. ผงทองแดงมวล 3 g กับ AgNO3 1 M ปริมาตร 10 cm3
ง. ผงทองแดงมวล 3 g กับ AgNO3 2 M ปริมาตร 10 cm3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 11

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทําการทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้นของสาร พื้นที่ผิวของสาร อุณหภูมิ


และตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเป็นปัจจัยหลักทีม่ ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยหลักที่มีผลต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก
17.ถ้าปฏิกิริยาเคมีชนิดหนึ่ง มีการกระจายพลังงานจลน์ของโมเลกุลของสารตั้งต้นที่อุณหภูมิห้องดังกราฟ
ต่อไปนี้

Y
จํานวนโมเลกุล

Ea
พลังงานจลน์
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. พลังงานก่อกัมมันต์มีค่าลดลง
2. ความสูงของกราฟที่จุด Y ลดลง
3. อนุภาคในพื้นที่ Z มีจํานวนเพิ่มขึ้น
ข้อความใดเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อให้ความร้อนแก่ระบบของปฏิกิริยาเคมีข้างต้น
ก. 1 และ 2 เท่านั้น
ข. 1 และ 3 เท่านั้น
ค. 2 และ 3 เท่านั้น
ง. 1 2 และ 3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 12

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎี
สถานะแทรนซิชัน
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

18.ปฏิกิริยาระหว่างแก๊ส X และแก๊ส Y ได้แก๊ส XY2 เป็น ดังสมการเคมี


X(g) + 2Y(g)  XY2(g)

ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน ซึ่งมีพลังงานของปฏิกิริยาเท่ากับ 189 กิโลจูลต่อโมล และมี


พลังงานก่อกัมมันต์เท่ากับ 264 กิโลจูลต่อโมล

ข้อใดสรุปถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยา XY2(g)  X(g) + 2Y(g)


ข้อ E (kJ/mol) Ea (kJ/mol)
ก. –189 264
ข. –189 75
ค. +189 264
ง. +189 75

จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกความหมายและคํานวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

19.นักเรียนคนหนึ่งทําการทดลองเตรียมแก๊สไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาเคมี 2 ปฏิกิริยา ดังนี้


ปฏิกิริยาที่ 1 ปฏิกิริยาเคมีระหว่างโลหะสังกะสีกับสารละลายกรดไฮโดรคลอริก ดังสมการเคมี
Zn(s) + HCl(aq)  ZnCl2(aq) + H2(g) (สมการยังไม่ดลุ )
พบว่าเมื่อผ่านไป 10 นาที ความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริกลดลง 4 โมลาร์
ปฏิกิริยาที่ 2 ปฏิกิริยาการแยกน้ําด้วยกระแสไฟฟ้า เขียนสมการได้ดังนี้
H2O(l)  H2(g) + O2(g) (สมการยังไม่ดลุ )
พบว่าเมื่อผ่านไป 12 นาที มีแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น 6 โมลาร์
ปฏิกิริยาเคมีใดมีอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สไฮโดรเจนสูงกว่า และสูงกว่ากี่เท่า

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 13

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎี
สถานะแทรนซิชัน
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก
20.ปฏิกิริยาเคมีระหว่างแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์กับแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์เป็นดังสมการเคมี
CO(g) + NO2(g)  CO2(g) + NO(g)
ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาคายพลังงานซึ่งมีพลังงานของปฏิกิริยาเท่ากับ 226 กิโลจูลต่อโมล และมีพลังงาน
ก่อกัมมันต์เท่ากับ 134 กิโลจูลต่อโมล

จงเขียนกราฟแสดงพลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยา CO2(g) + NO(g)  CO(g) + NO2(g) โดย


ระบุสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ รวมทั้งค่าของพลังงานก่อกัมมันต์และพลังงานของปฏิกิริยาในหน่วยกิโลจูล
ต่อโมล

จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีการชนและทฤษฎี
สถานะแทรนซิชัน
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [X] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก
21.สาร A และ B เป็นเชื้อเพลิงที่นําไปใช้ในอุตสาหกรรม เมื่อเกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ สาร A
และ B บริสุทธิ์ 1 โมล มีกราฟแสดงพลังงานกับการดําเนินไปของปฏิกิริยาดังนี้
พลังงาน (kJ/mol)
13

105 สาร A
สาร B
72
480
250
120
การดําเนินไปของปฏิกิริยา
สาร A และ B มีมวลต่อโมลและราคาดังนี้
สาร มวลต่อโมล ราคา (บาทต่อกิโลกรัม)
A 16 12
B 12 6
ควรเลื อ กสารใดสํ า หรั บ ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง ในโรงงานอุ ต สาหกรรม โดยพิ จ ารณาจากความคุ้ ม ทุ น
จงอธิบายเหตุผล พร้อมทั้งแสดงวิธีคํานวณประกอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 14

จงใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคําถามข้อ 22 – 23
ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ดังสมการเคมี

2H2O2(aq)  2H2O(l) + O2(g)


ทําการทดลอง 2 ครั้ง โดยวัดปริมาตรของแก๊สออกซิเจนทีเ่ กิดขึ้นทุก ๆ 10 วินาที ได้ผลดังนี้
เวลา (วินาที) ปริมาตรของ O2 (cm3)
การทดลองที่ 1 การทดลองที่ 2
0 0.0 0.0
10 7.0 13.0
20 13.0 25.0
30 18.0 35.0
40 23.0 42.0
50 27.0 45.0
60 30.0 45.0
70 33.0 45.0

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายและคํานวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสาร
2. ทํ า การทดลอง เขี ย นกราฟแสดงความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งปริ ม าณสารกั บ เวลา
และแปลความหมายจากกราฟ
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [ ] นําไปใช้ [X] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [ ] ค่อนข้างง่าย [X] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก

22.จงตอบคําถามต่อไปนี้
22.1 จงวาดกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณแก๊สออกซิเจนกับเวลาของทั้งสองการทดลอง
22.2 จากกราฟในข้อ 23.1 จงเปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สออกซิเจนที่เวลา 45
วินาที ของการทดลองที่ 1 และ 2 พร้อมแสดงวิธีคํานวณ

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทําการทดลอง และอธิบายผลของความเข้มข้นของสาร พื้นที่ผิวของสาร อุณหภูมิ


และตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งเป็นปัจจัยหลักทีม่ ีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงปัจจัยหลักที่มีผลต่อ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ระดับพฤติกรรม [ ] จํา [ ] เข้าใจ [X] นําไปใช้ [ ] วิเคราะห์ [ ] ประเมินค่า [ ] สร้างสรรค์
ระดับความยาก [ ] ง่ายมาก [X] ค่อนข้างง่าย [ ] ปานกลาง [ ] ค่อนข้างยาก [ ] ยากมาก
23.จากข้อมูลการทดลองที่ 1 และ 2 การทดลองใดใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา จงอธิบายโดยใช้ข้อมูลประกอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like