You are on page 1of 2

แบบฝึ กหัดบทที่ 8

ข้ อ 1 ทำเครื่ องหมาย ถูก ( / ) หน้ าข้ อที่ถกู เครื่ องหมายผิด (X) หน้ าข้ อที่ผิด
……………. 1. ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ อุณหภูมิ ความเข้ มข้ นของสารละลาย
พื ้นที่ผวิ และตัวเร่งปฏิกิริยา
……………. 2. มีปฏิกิริยาระหว่างของแข็งกับแก๊ สชนิดหนึง่ ซึง่ สามารถเกิดได้ ตลอดเวลา ถ้ าต้ องการ
ให้ อตั ราปฏิกิริยาเพิ่มขึ ้น ควรลดขนาดของแข็งลง
……………. 3. การที่อตั ราปฏิกิริยาเพิ่มขี ้นเมื่ออุณหภูมิสงู ขี ้น เนื่องจากโมเลกุลมีพลังงานสูงพอที่จะ
เกิดปฏิกิริยา มีจำนวนมากขึ ้น
…………….. 4. สาเหตุที่เกลือผงละลายได้ เร็ วกว่าเกลือเม็ด เพราะเกลือผงมีพลังงานกระตุ้นต่ำกว่า
เกลือเม็ด
……………. 5. เมื่อตังโลหะ ้ Mg ไว้ ในอากาศไม่มีปฏิกิริยาเกิดขึ ้น จนกว่าจะจุดด้ วยไม้ ขีด แสดงว่า
พลังงานความร้ อนจากไม้ ขีดไฟลดพลังงานกระตุ้นลง
……………. 6. การเติมตัวเร่งปฏิกิริยา จะทำให้ ได้ สารใหม่เพิ่มมากขี ้น
…………….. 7. เมื่อเติมตัวเร่งปฏิกิริยา ลงไปตัวเร่งจะทำให้ พลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยานัน้ ๆ ลดลง
……………. 8. โมเลกุลที่ชนกันแล้ วเกิดปฏิกิริยาได้ จะต้ องชนแล้ วได้ พลังงานเท่ากับ หรื อสูงกว่า
พลังงานกระตุ้นเท่านัน้
…………….. 9. พลังงานกระตุ้นเป็ นพลังงานศํกย์ที่โมเลกุลจำต้ องมีเพื่อให้ เกิดปฏิกิริยา
…………….. 10.  2 A + B C อัตรา = ½  [A] = d [B] = d [C]
dt dt dt

ข้ อ 2. จากปฏิกิริยา A + B C พบว่า
ก. ถ้ าเพิ่มความเข้ มข้ น B เป็ น 2 เท่า โดยให้ ความเข้ มข้ น A เท่าเดิม พบว่าอัตราของ
ปฏิกิริยาจะเพิ่มเป็ น 2 เท่า
ข. ถ้ าเพิ่มความเข้ มข้ นทัง้ A และ B เป็ น 2 เท่า อัตราปฏิกิริยาเพิ่มเป็ น 16 เท่า จงหากฏ
อัตราและอันดับของปฏิกิริยา
ข้ อ 3. จากปฏิกิริยาการสลายตัวของน้ำ เป็ นดังนี ้
2 H2O (l) 2 H2 (g) + O2 (g)
เวลา (วินาที) 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0
[H2O] mol / l 100 0.965 0.742 0.549 0.433 0.367
จงหา
1. อัตราเร็วการสลายตัว ณ วินาทีที่ 40.0
2. อัตราเร็วเฉลี่ย ณ วินาที ที่ 20.0 – 80.0 วินาที
3. อัตราเร็วเฉลี่ย ณ วินาที ที่ 0.0 – 100.0 วินาที

1. อัตราส่วนเริ่มต้ นของปฏิกิริยาต่อไปนี ้ หาโดยใช้ ความเข้ มข้ นตามตาราง


3H2 + N2 2 NH3
ความเข้ มข้ นเริ่ มต้ น อัตราการเกิดปฏิกิริยา
[2 H2] [N2] ( mol / ls )
0.2 0.1 2.50 x 10-3
0.2 0.2 1.00 x 10-2
0.2 0.3 2.25 x 10-2
0.4 0.4 3.20 x 10-1
0.8 0.4 2.56

จงหา ก. สมการกฏอัตราของปฏิกิริยา
ข. ค่าคงที่ของปฏิกิริยา
ค. อันดับของปฏิกิริยา

You might also like