You are on page 1of 11

ปฏิกริ ิยาของสารอินทรีย์

เคมีอนิ ทรีย์  Mechanism คือ กลไกการดําเนินไปของปฏิกริ ิยา


 ปฏิกริ ิยาอาจเกิดเพียงขั้นเดียว หรือมากกว่ าโดยเกิดเป็ นลําดับขั้น
LOGO เช่ น เกิดเป็ น 2 ขั้นคือ
A I+X ตามด้ วย B + I Y
ปฏิกริ ิยาของสารอินทรีย์
สารทีไ่ ด้ จากขั้นแรก คือ I เรียกสารนีว้ ่ า สารมัธยันต์
Thitiphan Chimsook (intermediate) ซึ่งสามารถเกิดปฏิกริ ิยาในขั้นต่ อไปได้
Department of Chemistry, Faculty of
Science, Maejo University
2

ปฏิกริ ิยาของสารอินทรีย์ ปฏิกริ ิยาของสารอินทรีย์


 สารมัธยันต์ ทมี่ คี าร์ บอนเป็ นองค์ ประกอบมีหลายแบบ เช่ น  3. Free radical คือ ส่ วนทีม่ อี เิ ล็คตรอนทีไ่ ม่ เข้ าคู่อย่ าง
1. Carbocation คือ อะตอมคาร์ บอนทีม่ ปี ระจุบวก มี 6 electron น้ อย 1 อิเล็คตรอน
และ 3 พันธะ + C
.
C

2. Carbanion คือ อะตอมคาร์ บอนทีม่ ปี ระจุลบ มี 3 พันธะ และ


คู่อเิ ล็คตรอนทีไ่ ม่ ได้ ใช้ ร่วม  4. Carbene คือ อะตอมคาร์ บอนทีเ่ ป็ นกลาง มี 2 พันธะ
และ 2 อิเล็คตรอน
-
C ..
C
3
4
ปฏิกริ ิยาของสารอินทรีย์ ปฏิกริ ิยาของสารอินทรีย์
ชนิดปฏิกริ ิยาของสารอินทรีย์ ชนิดปฏิกริ ิยาของสารอินทรีย์
1. ปฏิกริ ิยาการแทนที่ (Substitution) เป็ นปฏิกริ ิยาทีอ่ ะตอมใน
โมเลกุลถูกแทนทีด่ ้ วยอะตอมอืน่ 4. ปฏิกริ ิยาการจัดเรียงตัวใหม่ (Rearrangement) เป็ นปฏิกริ ิยาที่
2. ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition) เป็ นปฏิกริ ิยาที่ 2 โมเลกุลมา พันธะในโมเลกุลมีการเคลือ่ นย้ าย เปลีย่ นจากไอโซเมอร์ หนึ่ง
รวมกันแล้ วได้ 1 โมเลกุล มักเกิดทีพ่ นั ธะคู่หรือพันธะสาม ไปเป็ นอีกไอโซเมอร์
3. ปฏิกริ ิยาการกําจัด (Elimination) เกิดตรงข้ ามกับปฏิกริ ิยาการ 5. ปฏิกริ ิยารีดอกซ์ หรือ ปฏิออกซิเดชัน รีดกั ชัน เป็ นปฏิกริ ิยาที่
เติม มีการสู ญเสี ยอะตอมหรือหมู่อะตอม 2 หมู่จากโมเลกุล
ผลผลิตอาจได้ ท้งั โมเลกุลทีเ่ ป็ นพหุพนั ธะ เป็ นวง หรือเป็ น มีการถ่ ายโอนอิเล็คตรอน มีการเปลีย่ นแปลงเลขออกซิเดชัน
พวกคาร์ บีน
5 6

รีเอเจนต์ ในการทําปฏิกริ ิยาเคมี รีเอเจนต์ ในการทําปฏิกริ ิยาเคมี

 ตําแหน่ งของโมเลกุลทีม่ คี วามว่ องไวมี 2 ประเภทคือ - อิเล็กโทรฟิ ลิก (electrophilic) คือ พวกทีโ่ มเลกุลมี
- นิวคลีโอฟิ ลิก (nucleoplilic) คือ พวกทีโ่ มเลกุลมี ตําแหน่ งขาดอิเล็คตรอน
ตําแหน่ งทีม่ คี วามหนาแน่ นของอิเล็คตรอนสู ง เนื่องจาก 1. มีตาํ แหน่ งทีร่ ับอิเล็คตรอนได้ มากขึน้
1. มีคู่อเิ ล็คตรอนทีไ่ ม่ ได้ ใช้ ร่วม 2. พันธะทีม่ ขี ้วั แบบ +
2. พันธะทีม่ ขี ้วั แบบ -
เรียกตัวเข้ าทําปฏิกริ ิยานีว้ ่ า อิเล็กโทรไฟล์
3. มี อิเล็คตรอนของ C=C (electrophiles) หรือ ตัวรับอิเล็คตรอน (electron-
เรียกตัวเข้ าทําปฏิกริ ิยานีว้ ่ า นิวคลีโอไฟล์ acceptors)
(nucleophile) หรือ ตัวให้ อเิ ล็คตรอน (electron-donors)
7 8
ชนิดของคาร์ โบแคตไอออน (cabocation) ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition reaction)

แบ่ งตามคาร์ โบแคตไอออนได้ หลายชนิดตามจํานวน  เกิดกับสารประกอบไม่ อมิ่ ตัว เช่ น ไฮโดรคาร์ บอนไม่ อมิ่ ตัว
หมู่แอลคิลทีเ่ ข้ าไปแทนทีค่ อื และสารประกอบคาร์ บอนิล
 โดยโมเลกุลมีการรับเอาอะตอม หรือกลุ่มอะตอมเข้ ารวมกับ
1. primary carbocation, 1 สู ตรทัว่ ไปคือ RC+H2 พันธะไพ
2. secondary carbocation, 2 สู ตรทัว่ ไปคือ R2C+H 1. ปฏิกริ ิยาการเติมของอัลคีน
3. tertiary carbocation, 3 สู ตรทัว่ ไปคือ R3C+ - Hydrogenation เติมไฮโดรเจน
Ni
CH3CH=CH2 + H2 CH3CH2CH3

9 10

ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition reaction) ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition reaction)


 Hydrogenation เติมไฮโดรเจน  Hydrohalogenation เติมพวกสารประกอบไฮโดรเจนเฮไลด์
Ni
+ 2H2
CH2=CH2 + HCl CH3CH2Cl
 Halogenation เติมฮาโลเจน
Br Br
CCl4
+ Br2 CH3CH=CH2 + HBr CH3CH - CH3 + CH3CH2CH2Br
Br

Br Br
CCl4
CH3CH2CH=CH2 + Br2 CH3CH2CH - CH2
12
11
ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition reaction) ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition reaction)

ปฏิกริ ิยาการเติมนํา้ เมือ่ มีกรดเป็ นตัวเร่ งให้


 2. ปฏิกริ ิยาการเติมของแอลไคน์
แอลกอฮอล์
H2, Ni H2, Ni
H2SO4 HC CH CH2=CH2 CH3CH3
CH2=CH2 + H2O CH3CH2OH

OH  3. ปฏิกริ ิยาการเติมของสารประกอบคาร์ บอนิล


H2SO4
CH3CH=CH2 + H2O CH3CH - CH3 + CH3CH2CH2OH พันธะ C=O ในสารประกอบคาร์ บอนิลเป็ นพันธะมีข้วั
โดย C มีสภาพขั้วบวก และ O มีสภาพขั้วลบ หมู่คาร์ บอนิล
จึงเกิดปฏิกริ ิยาได้ ง่าย
13 14

ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition reaction) ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition reaction)


- ปฏิกริ ิยาการเติมนํา้ ได้ สารไฮเดรต - ปฏิกริ ิยาการเติมแอลกอฮอล์
O OH O OH
CH3OH, H+
RCH RCH hemiacetal
H - C - H + H2O H-C-H
OCH3
OH
O OH
O OH
CH3OH, H+
CH3CCH3 + H2O CH3 - C - CH3 hemiketal
RCR RCR
OH
OCH3

15 16
ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition reaction) ปฏิกริ ิยาการเติม (Addition reaction)
 กลไกปฏิกริ ิยาการเติมมี 2 แบบ 2. ปฏิกริ ิยาการเติมแบบนิวคลีโอฟิ ลิก
1. ปฏิกริ ิยาการเติมแบบอิเลคโทรฟิ ลิก โดยเกิดผ่ านคาร์ โบแคท นิวคลีโอไฟล์ ใช้ อเิ ล็คตรอนคู่อสิ ระสร้ างพันธะ
ไอออน กับ C เกิดการเปลีย่ นแปลงจนได้ ผลิตภัณฑ์ เช่ น การ
CH2=CH2 + HCl CH3CH2Cl เติมนํา้ ในแอลดีไฮด์ และคีโตน
O - OH
OH
+ H - C - H + H2 O H-C-H H-C-H
CH2=CH2 + HCl CH3 - CH2 + Cl-
OH OH
+ +
CH3 - CH2 + Cl- CH3CH2Cl
17 18

ปฏิกริ ิยาการแทนที่ (Substitution reaction)


 ปฏิกริ ิยาทีอ่ ะตอมหรือหมู่ของอะตอมในโมเลกุลหรือ
ไอออน ถูกแทนทีด่ ้ วยอะตอมหรือหมู่อะตอมใหม่
1. Halogenation แทนทีด่ ้ วยฮาโลเจน
light
CH3CH3 + Cl2 CH3CH2Cl

Br
light
+ Br2

20
ปฏิกริ ิยาการแทนที่ (Substitution reaction) ปฏิกริ ิยาการแทนที่ (Substitution reaction)

2. แทนทีใ่ นอัลคิดเฮไลด์ ผลิตภัณฑ์ ขนึ้ กับชนิดนิวคลีโอไฟล์ 3. ปฏิกริ ิยาการแทนทีใ่ นแอลกอฮอล์ ผลิตภัณฑ์ เป็ นอัลคิลเฮไลด์
ทีเ่ ข้ าแทน
light
H2O CH3CH2 - OH + HCl CH3CH2 - Cl + H 2O
CH3CH2 - Br + NaOH CH3CH2 - OH + NaBr
light
(CH3)2CH - OH + HBr (CH3)2CH - Br + H 2O
alcohol light
CH3CH2 - I + CH3ONa CH3CH2 - OCH3 + NaI (CH3)3C - OH + HI (CH3)3 - I + H2O

21 22

ปฏิกริ ิยาการแทนที่ (Substitution reaction) ปฏิกริ ิยาการแทนที่ (Substitution reaction)

4. ปฏิกริ ิยาการแทนทีใ่ นวงแหวนเบนซีน 5. ปฏิกริ ิยาการแทนทีใ่ นวงแหวนเบนซีนด้ วยฮาโลเจน


Cl กรณีมหี มู่อลั คิลเกาะทีว่ งเบนซีน ปฏิกริ ิยาการแทนทีเ่ กิดที่
+ Cl2
Fe
+ HCl
เบนซิลกิ คาร์ บอน โดยฮาโลเจนจะเข้ าไปแทนทีอ่ ะตอมไฮโดรเจน
or FeCl3 ทีเ่ กาะกับคาร์ บอนนี้

CH3
hv or heat Br
Fe + Br2 + HBr
+ CH3Cl + HCl
or FeCl3

23 24
ปฏิกริ ิยาการแทนที่ (Substitution reaction) ปฏิกริ ิยาการแทนที่ (Substitution reaction)
6. ปฏิกริ ิยาการแยกสลายของสารอนุพนั ธ์ ของกรดคาร์ บอกซิลกิ
7. ปฏิกริ ิยาการแยกสลายของสารอนุพนั ธ์ ของกรดคาร์
O O บอกซิลกิ
+ -
CH3CCl + 2NH3 CH3CNH2 + NH4Cl O O
H+ or OH
C17H35 - C - OCH2CH3 + CH3OH C17H35 - C - OCH3 + CH3CH2OH

ethyl octadecanoate methyl octadecanoate

O O
O O H+
hydrolysis CH2 = CH - C - OCH3 + CH3CH2OH CH2 = CH - C - OCH2CH3 + CH3OH
COCH3 + H2O COH + CH3OH
esterification methyl propenoate ethyl propenoate

25 26

กลไกปฏิกริ ิยาการแทนที่ กลไกปฏิกริ ิยาการแทนทีแ่ บบ SN1


1. ปฏิกริ ิยาอนุมูลอิสระ เกิดผ่ านอนุมูลอิสระ  ขั้นที่ 1 leaving group Cl- หลุดออก เกิดเป็ นอินเทอร์ มเิ ดียต
2. ปฏิกริ ิยาการแทนทีน่ ิวคลีโอฟิ ลิก จะมีนิวคลีโอไฟล์ มา แคทไอออนคาร์ บอน
เกีย่ วข้ อง แบ่ งได้ 2 แบบ CH3 CH3
slow
• แบบ SN1 กลไกจะเกิด 2 ขั้นตอน คือ พันธะเก่ าแตก H3C C Cl H3C C + Cl-
ออกก่ อน ผ่ านคาร์ โบแคทไอออน แล้ วจึงสร้ างพันธะ CH3 CH3
ใหม่ กบั นิวคลีโอไฟล์
• แบบ SN2 เกิดผ่ านขั้นตอนเดียว คือ การสลายพันธะ  ขั้นที่ 2 นิวคลีโอไฟล์ เข้ าทําปฏิกริ ิยา
เก่ าพร้ อมกับสร้ างพันธะใหม่ กบั นิวคลีโอไฟล์
27
กลไกปฏิกริ ิยาการแทนทีแ่ บบ SN1 กลไกปฏิกริ ิยาการแทนทีแ่ บบ SN1
 ขั้นที่ 2 นิวคลีโอไฟล์ เข้ าทําปฏิกริ ิยา  กรณีสารตั้งต้ นแอลคิลเฮไลด์ มสี เทอริโอเคมีที่
คาร์ บอนทีเ่ กิดปฏิกริ ิยาจะได้ ผลิตภัณฑ์ เป็ นของผสม
ราซีเมท เช่ น ปฏิกริ ิยาไฮโดรไลซิส ของ (S)-3-bromo-3-
CH3 CH3
fast
H3C C H2O H3C C O H

CH3 CH3 H methylhexane ได้ ของผสม (R) และ (S)-3-methyl-3-


hexanol
CH3
CH3 fast
+ H2O H3C C OH + H3O
H3C C O H
CH3
CH3 H

กลไกปฏิกริ ิยาการแทนทีแ่ บบ SN1 กลไกปฏิกริ ิยาการแทนทีแ่ บบ SN2


CH3
H3CH2CH2C
C Br
CH3 CH3
H3CH2C H H CH3 H
OH- HO C + Cl-
C Cl HO C Cl
(S)-3-bromo-3-methylhexane
CH2CH3 CH2CH3
H2CH3C

(S)-2-chlorobutane transition state (R)-2-butanol


H3C CH2CH2CH3 CH3 CH3
H3CH2CH2C H3CH2CH2C
H2O H2O
HO CH2 C C OH
+
-H + -H H3CH2C
CH2CH3 CH2CH3

(R)-3-methyl-3-hexanol carbocation (S)-3-methyl-3-hexanol


ปฏิกริ ิยาการกําจัด (Elimination reaction) ปฏิกริ ิยาการกําจัด (Elimination reaction)
 เป็ นปฏิกริ ิยาทีอ่ ะตอมหรือหมู่อะตอมในโมเลกุลหลุด 2. Dehydrohalogenation ปฏิกริ ิยาการกําจัดไฮโดรเจน
ออกแล้ วเกิดเป็ นพันธะคู่ พันธะสาม หรือวงแหวน เฮไลด์ โดยสารประกอบอัลคิลเฮไลด์ จะสู ญเสี ย H และ
1. Dehydration ปฏิกริ ิยาการกําจัดนํา้ ฮาโลเจน เมือ่ ต้ มกับเบส ให้ ผลิตภัณฑ์ เป็ นอัลคีน
Br
conc. H2SO4 CH3CHCH3 + OH- CH3CH=CH2 + H2O + Br-
CH3CH2OH CH2=CH2 + H2O
180 C
CH3 CH3

CH3 CH3 - C - CH3 + OH- CH3C=CH2 + H2O + Cl-


conc. H2SO4
Cl
CH3CHOH CH3CH=CH2 + H2O
100
33 34

กลไกปฏิกริ ิยาการกําจัด ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน - รีดกั ชัน


1. ปฏิกริ ิยาการกําจัดแบบ E1 เกิดผ่ านคาร์ โบแคทไอออน  เกีย่ วข้ องกับการถ่ ายโอนอิเล็คตรอน มีการเปลีย่ นแปลง
เช่ น การกําจัดนํา้ ในแอลกอฮอล์ ได้ อลั คีนโดยมีกรดเป็ น เลขออกซิเดชัน และมักเกิดคู่กบั ปฏิกริ ิยาอืน่ ๆ เช่ น การ
ตัวเร่ ง เติม หรือ การแทนที่
1. ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน เลขออกซิเดชัน จะเพิม่ ขึน้
2. ปฏิกริ ิยาการกําจัดแบบ E2 เกิดการสลายพันธะเดิมพร้ อม 2. ปฏิกริ ิยารีดกั ชัน เลขออกซิเดชัน จะลดลง
สร้ างพันธะไพใหม่ ขนึ้ เช่ น การกําจัดเฮไลด์ และสร้ าง
อัลคีนในสารประกอบอัลคิลเฮไลด์ โดยมีเบสเร่ งปฏิกริ ิยา

35 36
ปฏิกริ ิยาออกซิเดชัน ปฏิกริ ิยารีดกั ชัน

O
Pt
KMnO4 CH3 - CH = CH2 + H2 CH3 - CH2 - CH3
CH3 - CH2 - CH2 - OH CH3 - CH2 - C - H
LiAlH4
KMnO4 CH3 - COOH CH3 - CH2 - OH
CH3 - CH = CH2 CH3 - CH - CH2 H+
OH OH

37 38

ปฏิกริ ิยาการจัดเรียงตัวใหม่
 เป็ นปฏิกิริยาการเปลี่ยนตําแหน่งของพันธะไพได้
ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นไอโซเมอร์กบั สารตั้งต้น บางกรณี อาจเกิด
การเปลี่ยนตําแหน่งคาร์บอนของสารตั้งต้นก็ได้ LOGO

H+
CH2 = CH - CH2 - CH3 CH3 - CH = CH - CH3

CH3 H+
CH3 - CH - CH2 - OH CH3 - CH = CH - CH3 + H2O

39
www.themegallery.com

You might also like