You are on page 1of 13

พันธะเคมี

พันธะเคมี = แรงยึดเหนี่ยวที่ยดึ อะตอมไว้ดว้ ยกันเป็ นโมเลกุล


แบ่ งเป็ น 1. พันธะไอออนิก(Ionic bond)
2. พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond)
3. พันธะโลหะ (Metallic bond)

กฎออกเตต (Octet Rule)


คือการที่อะตอมต่าง ๆ พยายามทาให้ Valence electron มีครบ 8 เหมือนแก๊สเฉื่ อย
ข้ อยกเว้น
1. ธาตุ H, Li, B, Be จะมีอิเล็กตรอนวงนอกครบ 2 เรี ยก กฎดูเอต ซึ่งมี Valence e- เท่ากับ He
2. สารประกอบที่ไม่ครบออกเตต เช่น BeCl2, BCl3, AlCl3 จะมีอิเล็กตรอนไม่ครบแปด
3. สารประกอบที่เกินออกเตต เช่น ธาตุฝั่งขวาของตารางธาตุที่อยูต่ ้ งั แต่คาบ 3 ขึ้นไป จะสามารถ
ออกเตตได้ เช่น SF6, SO42-, PCl5. ICl3

พันธะไอออนิก(Ionic bond)
แรงดึงดูดทางไฟฟ้าของไอออนบวก กับ ไอออนลบ
ไม่จาเป็ นต้องเป็ นโลหะ กับ อโลหะเสมอไป กัน NH4Cl
คุณสมบัติทั่วไป
1. แข็ง แต่เปราะ เพราะ เมื่อทุบแล้วระนาบสมดุลเคลื่อน บวกลบผลักกัน
2. แข็ง แต่ไม่นาไฟฟ้า เมื่อหลอมเหลวหรื อละลายจะนาไฟฟ้า
3. จุดเดือด จุดหลอมเหลวสู ง
วัฏจักรบอร์ น-ฮาเบอร์ (Born-Haber cycle)
เป็ นวัฎจักรที่แสดงขั้นตอนการเกิดสารประกอบไอออนิก เช่น การเกิด NaCl
ขั้นตอนที่ 1 Na ระเหิดกลายเป็ นไอ

ขั้นตอนที่ 2 Cl2 แตกตัวเป็ นอะตอม

ขั้นตอนที่ 3 อะตอมของโซเดียมแตกตัวเป็ นไอออน

ขั้นตอนที่ 4 อะตอมของคลอรี นแตกตัวเป็ นไอออน

ขั้นตอนที่ 5 โซเดียมไอออนรวมกับคลอไรด์ไอออน

สมการรวมที่เกิดขึน้

ทริคการจา
NaCl จะเกิดขึ้นได้ จะมาจาก Na+ และ Cl- ในสถานะแก๊ส
Na(g) เป็ น Na+ (g) ได้ยงั ไง คาตอบ IE
Na ในธรรมชาติ เป็ นของแข็งหนิ คาตอบ ระเหิดสิ
Cl(g) เป็ น Cl- (g) ได้ยงั ไง คาตอบ EA
Cl2(g) เป็ น Cl(g) ยังไง คาตอบ BE (หาร 2 ด้วย)
โจทย์ จงเขียนสมการของพลังงานรวมของสารประกอบไอออนิกดังต่ อไปนี้
1. MgCl2

2. Na2O

โครงสร้ างสารประกอบไอออนิก
ไอออนบวกและไอออนลบมีการจัดเรี ยงเป็ น 3 มิติ โดยไอออนแต่ละชนิดจะถูกเรี ยกว่า
“จุดแลตทิซ(Lattice point)” จุดแลตทิซจะอยูใ่ น “หน่วยเซลล์(unit cell)” ซึ่งเป็ นหน่วยที่เล็กที่สุด
ที่ใช้บอกรู ปร่ างผลึก ไอออนแต่ละชนิดจะถูกล้อมรอบด้วยไอออนอีกชนิด และจานวนที่ลอ้ มรอบ
จะถูกเรี ยกว่า “เลขโคออร์ดิเนชัน(coordination number, CN)”

การละลายนา้ ของสารประกอบไอออนิก
กลไกของการละลาย
1. สารประกอบแตกตัวเป็ นไอออน
เช่น
2. ไอออนแต่ละชนิดจะถูกน้ าล้อมรอบ เรี ยก “ถูกไฮเดรต(Hydrated)”
เช่น
พลังงานที่เกีย่ วข้ องกับการละลาย
1. พลังงานแลตทิซ(Lattice energy)
2. พลังงานไฮเดรชัน(Hydration energy)
การละลายของสารประกอบไอออนิกจะเป็ นแบบใดขึ้นอยูก่ บั พลังงาน 2 ชนิดนี้
ถ้า แลตทิซ > ไฮเดรชัน
ถ้า แลตทิซ < ไฮเดรชัน
ถ้า แลตทิซ = ไฮเดรชัน
ถ้า แลตทิซ >>> ไฮเดรชัน
การคานวณ(แนวโจทย์)
แบบที่ 1 ให้พลังงานแลตทิซกับไฮเดรชันมา ถามว่าเป็ นการละลายแบบใด
วิธีทา
โจทย์ จากกระบวนการละลายของสาร XY
+ -
X(s) + 484 kJ → X (g) + Y (g)
+ - + -
X (g) + Y (g) → X (aq) + Y (aq) + 469 kJ
การละลายของ XY 2 โมล ดูดหรื อคายความร้อนเท่าใด
วิธีทา

แบบที่ 2 ให้อุณหภูมิน้ าก่อนละลายและหลังละลายมา ถามค่าพลังงาน


วิธีทา ให้ใช้สูตร Q = mc∆t ในการคานวณ

โจทย์ เมื่อละลายสาร A โดยก่อนละลาย น้ ามีอุณหภูมิอยูท่ ี่ 20 C

หลังละลายพบว่าอุณหภูมิของสารละลายเป็ น 45 C จงหาพลังงานที่เกิดขึ้น
จากการละลายว่ามีค่าเท่าใด และคายความร้อนหรื อดูดความร้อน
วิธีทา
การละลายนา้ ของสารประกอบไอออนิก
ข้อตกลง ในการละลายเปรี ยบเทียบต่อ น้ า 100 กรัม
ละลายได้ดี = ละลายได้มากกกว่า 1 กรัม
ละลายได้เล็กน้อย = ละลายได้มากกว่า 0.1 กรัมแต่ไม่เกิน 1 กรัม
ไม่ละลาย = ละลายได้นอ้ ยกว่า 0.1 กรัม
สารประกอบไอออนิกที่ไม่ ละลายนา้
2+
1. Ag+, Hg2+
2 , Pb รวมกับ หมู่ VIIA
2+
2. Ag+, Hg2+ 2- 2-
2 , Pb รวมกับ SO4 , CO3 , PO4
3-

3. โลหะหมู่ IIA รวมกับ SO2-4 , CO2-3 , PO3-4 ,


4. สารประกอบซัลไฟด์ ยกเว้นหมู่ IA และแอมโมเนียม
5. สารประกอบไฮดรอกไซด์ ยกเว้นหมู่ IA และแอมโมเนียม

สารประกอบไอออนิกที่ละลายนา้
1. สารประกอบของหมู่ IA
2. สารประกอบแอมโมเนียม
3. สารประกอบไนเตรต
4. สารประกอบแอซิเตต ยกเว้น CH3COOAg ละลายได้เล็กน้อย
5. สารประกอบซัลเฟต ยกเว้น Ag+, Hg22+, Pb2+
6. สารประกอบเปอร์คลอเรต ยกเว้น KClO4 ละลายได้เล็กน้อย
สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุ ทธิ
สมการไอออนิก เป็ นสมการที่แสดงไอออนอิสระในสารละลายครบทุกชนิด
สมการไอออนิกสุ ทธิ เป็ นสมการที่แสดงเฉพาะไอออนที่เกิดปฏิกิริยาได้ผลิตภัณฑ์(มักเป็ นตะกอน)
หลักการเขียน
1. แยกสารประกอบไอออนิกให้เป็ นไอออน
2. ตัดสารที่ไม่เกี่ยวข้องออก
3. สารที่ไม่ละลายน้ าให้คงไว้
4. ดุลสมการ
เช่น AgNO3 + NaCl → AgCl + NaNO3

พันธะโลหะ (Metallic bond)


เป็ นแรงยึดเหนี่ยวของโลหะกับอิเล็กตรอน
ทฤษฎีที่ใช้อธิบายพันธะโลหะ
แบบจาลองทะเลอิเล็กตรอน(Electron sea model)
โลหะเป็ นธาตุที่มีค่า IE ต่า จึงเสี ยอิเล็กตรอนได้ง่าย ทาให้อิเล็กตรอน
ไหลไปมาทัว่ โลหะ อีกทั้งยังทาหน้าที่เหมือนปูนซีเมนต์ช่วยยึดไอออนบวก
ของโลหะให้คงอยูก่ บั ที่ และยังสามารถตีเป็ นแผ่นได้ เนื่องจากอิเล็กตรอน
ช่วยยึดเกาะไม่ให้ไอออนบวกผลักกัน
พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond)
พันธะที่เกิดจากการใช้อะตอมร่ วมกันเป็ นคู่ ๆ ให้ครบ 8 (octet)
การเปลีย่ นแปลงพลังงานเมื่อเกิดพันธะโคเวเลนต์

เมื่ออะตอมของไฮโดรเจนเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กนั จะเกิดแรงดึงดูดที่จะนาอิเล็กตรอนมาใช้
ร่ วมกัน ทาให้พลังงานมีค่าต่าลง จนถึงจุดที่ต่าที่สุดจะเกิดเป็ นโมเลกุลของแก๊สไฮโดรเจน และเมื่อ
เข้าใกล้กนั มาก ๆ จะเกิดแรงผลักทาให้มีพลังงานที่สูงขึ้น
การวาดสู ตรโครงสร้ างของสารประกอบโคเวเลนต์
เขียนได้ 2 แบบคือ
1. สู ตรแบบจุด
2. สู ตรแบบเส้น
วิธีการเขียน
1. ให้ดูค่า EN ของอะตอมแต่ละตัว
-อะตอมทีมี EN น้อยกว่าจะเป็ นอะตอมกลาง
-อะตอมที่มี EN มากกว่าจะเป็ นอะตอมล้อมรอบ
2. วางอะตอมล้อมรอบอะตอมกลาง
3. ใส่ จานวนเวเลนซ์อิเล็กตรอน
4. ดูวา่ อะตอมจะแชร์กนั กี่ตวั
5. แปลงเป็ นแบบเส้น
โจทย์ จงวาดโครงสร้ างแบบจุดและเส้ นของสารต่ อไปนี้
F2 HCN CCl4

ชนิดของพันธะ
1. พันธะเดี่ยว
2. พันธะคู่
3. พันธะสาม
พันธะโคออร์ ดิเนตโคเวเลนต์ (Coordinate covalent bond)
เป็ นพันธะที่เกิดจากการแชร์อิเล็กตรอนของคู่อะตอมหนึ่ง โดยที่
อิเล็กตรอนคู่ร่วมพันธะจะมาจากอะตอมกลางเท่านั้น มักพบในสารประกอบแทรนซิชนั
เช่น NH+4

[Co(H2O)6]Cl2

ความแข็งแรงและความยาวพันธะ
ความยาว : พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม
ในโมเลกุลต้องใช้พนั ธะเฉลี่ยในการเปรี ยบเทียบ
แขน
พันธะเฉลี่ย =
พันธะ
ความแข็งแรง : พันธะเดี่ยว < พันธะคู่ < พันธะสาม
โจทย์ จงเปรียบเทียบความยาวพันธะของ S-O ใน SO2, SO3, SO32-
พลังงานพันธะ(Bonding energy, BE)
พลังงานที่ใช่ในการสลายพันธะในโมเลกุลในสถานะแก๊ส
ให้กลายเป็ นอะตอมในสถานะแก๊ส
ส่ วนใหญ่โจทย์มกั จะออกคานวณ
สมมติปฏิกิริยา
aA + bB → cC +dD
พลังงานของปฏิกิริยา(∆H0 ) จะสามารถหาได้จาก
∆H0 = [a(BEA) + b(BEB)] – [c(BEC) + d(BED)]
ถ้า ∆H0 > 0 แสดงว่าเป็ นปฏิกิริยาดูดพลังงาน
ถ้า ∆H0 < 0 แสดงว่าเป็ นปฏิกิริยาคายพลังงาน

รูปร่ างโมเลกุลและมุมพันธะ
อธิบายด้วยทฤษฎี VSEPR มีชื่อเต็มว่า Valence Shell Electron Pair Repulsion ซึ่งเป็ นทฤษฎี
ที่ทานายรู ปร่ างโมเลกุล โดยขึ้นอยูก่ บั อะตอมล้อมรอบและอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
AXmEn
พิจารณากรณีที่ m เป็นจานวนเต็ม และ n เป็น 0
m = 2 → AX2 m = 5 → AX5

m = 3 → AX3

m = 6 → AX6

m = 4 → AX4

พิจารณากรณีที่ m เป็ นจานวนเต็ม และ n เป็ นจานวนเต็ม


m+n=3 m+n=4
AX2E1 AX3E1 AX2E2
m+n=5
AX4E1 AX3E2 AX2E3

วิธีหารู ปแบบ
1. หาอะตอมกลาง มักมีอะตอมเดียว ทดเลขหมู่
2. ลบด้วยจานวนแขนของอะตอมล้อมรอบ
3. ตัวเลขที่เหลือนามาหาร 2 จะเป็ นจานวนคู่ของอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว

เช่น NH3
ผลของค่า EN ต่ อมุมพันธะ
กรณี ที่ 1 อะตอมกลางมี EN ต่างกัน
เช่น NH3 กับ PH3

กรณีที่ 2 อะตอมล้อมรอบมี EN ต่ างกัน


เช่น H2O กับ OF2

สภาพขั้ว
เกิดจากความต่างของค่า EN อะตอมที่มี EN มากจะดึงหมอก
อิเล็กตรอนให้อยูใ่ กล้กบั อะตอมนั้น
ฝั่งที่มีหมอกอิเล็กตรอนมาก จะแทนด้วย
ฝั่งที่มีหมอกอิเล็กตรอนน้อย จะแทนด้วย
สภาพขั้วของพันธะ
พันธะจะไม่มีข้วั ก็ต่อเมื่อเป็ นอะตอมชนิดเดียวกัน เช่น H2, F2, O2
พันธะมีข้ วั จะเกิดขึ้นเมื่อเป็ นอะตอมต่างชนิดกัน
สภาพขั้วของโมเลกุล
โมเลกุลที่ไม่ มีข้วั
1. โมเลกุลของธาตุชนิดเดียวกัน เช่น H2, F2, O2, P4
2. โมเลกุลที่มีรูปร่ างสมมาตรคือ เส้นตรง, สามเหลี่ยมแบนราบ
ทรงสี่ หน้า, พิระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม และ ทรงแปดหน้า
อะตอมล้อมรอบต้องเป็ นชนิดเดียวกัน!!!
3. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน คือสารที่ประกอบด้วย C และ H เท่านั้น
โมเลกุลที่มีข้วั
1. โมเลกุลของ 2 อะตอมที่ต่างชนิดกัน เช่น HCN, ClF
2. โมเลกุลที่มีรูปร่ างที่ไม่สมมาตรทิศของขั้วจะพิจารณาแบบเวกเตอร์
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ (Intermolecular force)
1. แรงลอนดอน(London force, Dispersion force)
เป็ นแรงระหว่างโมเลกุลที่ไม่มีข้วั กับโมเลกุลไม่มีข้ วั
มีค่าขึ้นกับมวลโมเลกุลหรื อความหนาแน่น
เช่น C5H12
2. แรงดึงดูดระหว่ างขั้ว(dipole-dipole force)
เป็ นแรงระหว่างโมเลกุลมีข้วั กับเมลกุลมีข้ วั
เช่น HCN, HCl, OF2
3. พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond)
เป็ นแรงระหว่างโมเลกุล ไม่ใช่พนั ธะ!!!
H สร้างพันธะกับ F, O, N
เช่น จุดเดือด H2O > HF > NH3
สารผลึกโครงร่ างตาข่ าย
เป็ นอะตอมของอโลหะที่ยดึ กันไว้ดว้ ยพันธะโคเวเลนต์
ไม่มีความเป็ นโมเลกุล จึงไม่มีแรงระหว่างโมเลกุล
ข้อสังเกตุที่เห็นได้ง่ายคือ จุดเดือด จุดหลอมเหลวสู ง แต่ไม่นาไฟฟ้า
เช่น C(เพชร), C(แกรไฟต์), SiO2(ทราย)
แกรไฟต์เป็ นผลึกโครงร่ างตาข่ายที่นาไฟฟ้า!!!

You might also like