You are on page 1of 36

บทที่ 16

ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี 1
***************************************************************************************
ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี (Electrochemistry) เป็ นเรื่องราวที่ว่าด้ วยการใช้ พลังงานทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี และว่าด้ วยการเปลี่ยนแปลง
ทางเคมีแล้ วทำให้ เกิดพลังงานไฟฟ้า กระบวนการที่เกิดขึ ้นดังกล่าวเป็ นสิ่งที่เกิดขึ ้นตรงข้ ามกัน แต่อาศัยพื ้นฐานในหลักการอันเดียวกัน ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้ องกับไฟฟ้า
เคมี เรียกว่า ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี
ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี (Electrochemical reaction) เป็ นปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวกับการถ่ายโอนอิเล็กตรอน โดยเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีเป็ น
พลังงานไฟฟ้า แล้ วทำให้ เกิดกระแสไฟฟ้า เช่น การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นในเซลล์ถ่ายไฟฉาย แบตเตอรรี่รถยนต์ นอกจากนั ้นยังสามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้ เป็ น
พลังงานเคมี คือ ผ่านกระแสไฟฟ้าลงไปในสารต่าง ๆ แล้ ว ทำให้ เกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น การชุบโลหะด้ วยไฟฟ้า การแยกน้ำด้ วยไฟฟ้า ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายโอน
อิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยารี ดอกซ์ (Redox reaction)

16.1 ปฏิกิริยาเคมีกบั การถ่ายโอนอิเล็กตรอน

16.1.1 ความหมายและการหาเลขออกซิเดชัน

เลขออกซิเดชัน (Oxidation number หรือ Oxidation state) ย่อว่า ON.


คือ ค่าประจุไฟฟ้าที่สมมติขึ ้นของไอออน
หรื ออะตอมของธาตุ โดยคิดจากจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ หรือรับหรื อใช้ ร่วมกับอะตอมของธาตุตามที่ กำหนดขึ ้น
สารประกอบไอออนิก ค่าเลขออกซิเดชันของธาตุกำหนดจากจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ หรือรับ โดยกำหนดธาตุที่ให้ อิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันเป็ นบวก
และมีค่าเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ และธาตุที่รับอิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันเป็ นลบ และมีค่าเท่ากับ จำนวนอิเล็กตรอนที่รับ เช่น CaCl2 มีสตู รโครงสร่าง
แบบจุดดังนี ้
-
Cl - Ca2+ Cl
ON = -1 ON = +2 ON = -1

ส่วนสารโคเวเลนต์ ค่าเลขออกซิเดชันของธาตุที่กำหนดจากจำนวนอิเล็กตรอนที่ใช้ ในการร่ วมพันธะกับอะตอมของธาตุที่มีคา่ อิเล็กโตรเนกาติวิตีตา่ งกัน


โดยกำหนดให้ ธาตุที่มีคา่ อิเล็กโตรเนกาติวิตีมากมีค่าเลขอออกซิเดชันเแป็ น ลบ และมีค่าเท่ากับ จำนวนอิเล็กตรอนที่ใช้ ในการร่ วมพันธะ เช่น H2O มีสตู รโครงสร้ าง
แบบจุดดังนี ้

H O H
ON = +1 ON = +1
ON = -2

กฎสำหรับใช้ กำหนดเลขออกซิเดชัน ดังนี ้


1. ธาตุอิสระทุกชนิด มีเลขอออกซิเดชันเท่ากับ ศูนย์ เช่น Ca0 O20 S80 Si0
2. เลขออกซิเดชันของธาตุ เท่ากับประจุของไอออนของธาตุนั ้น เช่น Na+ มี ON = +1 , Ca2+ มี ON = +2 ,
Cl- มี ON = -1 , และ O2- มี ON = -2
3. ฟลูออรีน เป็ นธาตุที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวีตีสงู สุด ในสารประกอบทุกชนิด ฟลูออรีนจะมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ -1 เช่น Ba2F HF
BaSiF6 BrF
4. ออกซิเจน ในสารประกอบมีเลขอออกซิเดชันเท่ากับ -2 ยกเว้ น ออกเดชันในออกไซด์บางชนิดที่ออกซิเจนจะมีเลขอออกซิเดชันเป็ นอย่าง
อื่น เช่น ในเปอร์ ออกไซด์ ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน = -1 ในซุปเปอร์ ออกไซด์ ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชัน = -1/2 และในออกไซด์ของฟลูออรี น
ออกซิเจนมีเลขออกซิเดชันมีเลขออกซิเดชัน = +2
สารประกอบทัว่ ไปที่มีออกซิเจนเป็ นองค์ประกอบ เช่น H2SO4 , Ca3(PO4) , H2O , CH3CH2OH
เปอร์ ออกไซด์ เช่น H2O2 , Na2O2 , BaO2
ซุปเปอร์ ออกไซด์ เช่น NaO2 , KO2
ออกไซด์ของฟลูออรี น เช่น OF2
5. ไฮโดรเจนในสารประกอบมีเลขออกซิเดชันเท่ากับ +1 ยกเว้ น ไฮไดรด์ของโลหะ (สารประกอบธาตุที่มี H กับโลหะเป็ นองค์ประกอบร่วม
กัน) ที่ไฮโดรเจนจะมีเลขออกซิเดชัน = -1 สารประกอบทัว่ ไปที่มีไฮโดรเจนเป็ นองค์ประกอบ เช่น NaHSO4 , CH4 , NH3 ไฮไดรด์ของโลหะ
เช่น NaH , CaH 2
6. ธาตุในสารบางชนิดมีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียว ตัวอย่าง
โลหะหมู่ IA ในสารประกอบทุกชนิดมีเลขออกซิเดชันค่าเดียวคือ +1 เช่น NaCl, K2SO4
โลหะหมู่ IIA ในสารประกอบทุกชนิดมีเลขออกซิเดชันค่าเดียวคือ +2 เช่น CaCO3, BaSO4
ธาตุบางชนิด ในสารประกอบมีเลขออกซิเดชันค่าเดียว เช่น ZnSO4 AgCl NaF Al2O3 (Zn = +2 , Ag = +1 ,
F = -1 , Al = +3)
7. ในสารประกอบทุกชนิดจะพบว่า ”ผลรวมของเลขออกซิเดชันของทุกอะตอมของธาตุเท่ากับศูนย์” เช่น KClO4 มีผลรวมของเลข
ออกซิเดชันเท่ากับ 0 ดังนี ้
K+1 Cl+7 O44(-2) จะได้ (+1) + (+7) + (4 x -2) = 0
8. ในไอออนของกลุม่ อะตอมของธาตุจะพบว่า “ผลรวมของเลขออกซิเดชันของทุกอะตอมเท่ากับประจุของไอออนนั ้น” เช่น P2O74- มีผล
รวมของเลขออกซิเดชันของทุกอะตอมเท่ากับ -4 ดังนี ้
2P + 7O = -4
2(+5) + 7(-2) = -4
การหาเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบ

ผลรวมของเลขออกซิเดชันทุกอะตอมของธาตุในสารประกอบ =0

ตัวอย่าง จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุ S ในสารประกอบ H2S , H2SO4 , H2S2O3


วิธีทำ ให้ เลขออกซิเดชันของ S ในทุกสารประกอบ =X
กฎ ผลรวมของเลขออกซิเดชันทุกอะตอมของธาตุในสารประกอบ =0
H2S 2(H) + (X) = 0
2(+1) + X = 0
X = -2
H2SO4 2(H) + X + 4(O) = 0
2(+1) + X + 4(-2) = 0
X = +6
H2S2O3 2(H) + 2X + 3(O) = 0
2(+1) + 2X + 3(-2) = 0
X = +2

ตัวอย่าง จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุทรานซิชนั ในสารประกอบต่อไปนี ้


Fe(ClO4)3 , K2Cr2O7 , Ni(H2O)4Cl2
วิธีทำ ให้ เลขออกซิเดชันของธาตุทรานซิชนั = X
กฎ ผลรวมของเลขออกซิเดชันทุกอะตอมของธาตุในสารประกอบ =0
Fe(ClO4)3 X + (-1 x 3 ) = 0 เนื่องจาก (ClO4-1) มีประจุเป็ น -1
X = +3
K2Cr2O7 2(+1) + 2(X) + 7(-2) = 0
X = +6
Ni(H2O)4Cl2 X + (0 x 4) + (-1 x 2) = 0 เนื่องจาก H2O มีประจุรวมเป็ นศูนย์
X = +2
การหาเลขออกซิเดชันของธาตุในไอออน

ผลรวมของเลขออกซิเดชันทุกอะตอมของธาตุในไอออน = ประจุของไอออน

ตัวอย่าง จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุ N NH4+ , NO2- , NO3-


ใน
วิธีทำ ให้ เลขออกซิเดชันของ N ในไอออนทุกชนิด = X
ใช้ กฎ ผลรวมของเลขออกซิเดชันทุกอะตอมของธาตุในไอออน = ประจุของไอออน
NH4+ X + 4(+1) = +1
X = -3
-
NO2 X + 2(-2) = -1
X = +3
-
NO3 X + 3(-2) = -1
X = +5
ตัวอย่าง จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุทรานซิชนั ในไอออนต่อไปนี ้
TiO2+ , MnO42- , CrO42- , ZnO22-
วิธีทำ ให้ เลขออกซิเดชันของธาตุทรานซิชนั =X
ใช้ กฎ ผลรวมของเลขออกซิเดชันทุกอะตอมของธาตุในไอออน = ประจุของไอออน

TiO2+ X + (-2) = +2
X = +4
MnO42- X + 4(-2) = -2
X = +6
2-
CrO 4 X + 4(-2) = -2
X = +6
ZnO22- X + 2(-2) = -2
X = +2

แบบทดสอบที่ 16.1
1. จงหาเลขออกซิเดชันของเหล็กในสารประกอบต่อไปนี ้
1.1K2FeO4
1.2K4Fe(CN)6
1.3FeF63-
1.4Fe(CO)42-
1.5Fe(H2O)62+
1.6Fe(CO)5
1.7FeO43-
1.8Ba2FeO4

2. จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบดังนี ้
2.1 P ใน PCl3 , P4O6 , HPO3 , POCl3 , H3PO3 , POCl3 , H4P2O7 , Mg3(PO4)2
2.2 Cl ใน Cl2 , HCl , HClO , HClO2 , HClO3 , Cl2O7 , Ca(ClO4)2 , NaClO3
2.3 Mn ใน MnO , MnO2 , Mn(OH)2 , KMnO4 , Mn2O7

3. จงหาเลขออกซิเดชันของธาตุในไอออนดังนี ้
3.1 Cr ใน CrO2- , Cr(OH)4- , CrO42- , Cr2O72-
3.2 B ใน BO2- , BO33- , B4O72-
3.3 N ใน N3- , N3- , NH4+
3.4 Br ใน Br- , BrO- , BrO3- , BrO4-

เฉลยแบบทดสอบที่ 16.1
1
ข้ อ
1.1 +6 1.2 +2 1.3 +3 1.4 -2
1.5 +2 1.6 0 1.7 +5 1.8 +4

ข้ อ 2
ข้ อ 2.1 +3 +3 +5 +5 +3 +5 +5 +5
ข้ อ 2.2 0 -1 +1 +3 +5 +7 +7 +5
ข้ อ 2.3+2 +4 +2 +7 +7
ข้ อ 3
ข้ อ 3.1 +3 +3 +6 +6
ข้ อ 3.2 +3 +3 +3
ข้ อ 3.3 -3 -1/3 -3
ข้ อ 3.4 -1 +1 +5 +7

16.1.2 ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับสารละลายบางชนิด

การทดลองปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับไอออนของโลหะบางชนิด
การทดลองที่ Zn ลงในสารละลาย CuSO4 (สีฟ้า)
1 จุ่มแผ่น สักครูหนึง่ จะเกิดสารสีน้ำตาลแดงมาเกาะรอบแผ่น Zn และจะพบว่า
สารละลายสีฟ้าจางลง ส่วนแผ่น Zn สึกร่ อนไป

รู ป 16.1 ปฏิกิริยาการถ่ายโอนอิเล็กตรอนโดยจุ่มแผ่น Zn ลงในสารละลาย CuSO4 จะเกิดการเปลี่ยนแปลงโดย Zn สึกกร่ อน เกิดสารสีน้ำตาลแดง


และสีฟ้าจางลง

CuSO4 สีฟ้าเกิดจาก Cu2+ ดังนันเมื


อธิบาย ในสารละลาย ้ ่อสีฟ้าจางลงแสดงว่า Cu
2+
มีปริมาณลดลง ในขณะเดียวกันนันก็
้ เกิดสารสีน ้ำตาล
2+
แดงของ Cu มาเกาะแผ่น Zn เกิดปฏิกิริยาคือ Cu รับอิเล็กตรอนกลายเป็ น Cu ดังนี ้

Cu2+ (aq) + 2e-  Cu (s)


2+ 2+
ส่วนแผ่น Zn สึกกร่อน โดยให้ อิเล็กตรอนแก่ Cu กลายเป็ น Zn เกิดปฏิกิริยาดังนี ้

Zn (s) + Cu2+ (aq)  Zn2+(aq) + Cu (s)

จากการทดลองที่ 1 ( )
สรุปได้ ว่า เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีขึ ้น โดยมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน มีการให้ และรับอิเล็กตรอน ระหว่างโลหะ Zn กับ
2+
ไอออนของโลหะ คือ Cu ในปฏิกิริยา
การทดลองเพิ่มเติม ถ้ าจุ่มแผ่น Cu ลงในสารละลาย ZnSO4 จะไม่พบการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดขึ ้น แสดงว่าไม่เกิดปฏิกิริยา นัน่ คือ ไม่มีการถ่าย
โอนอิเล็กตรอนเกิดขึ ้น

การทดลองที่ 2 จุ่มแผ่น Cu ลงในสารละลาย AgNO3 ซึง่ ไม่มีสี สักครู่หนึง่ จะพบว่ามีสารเข้ ามาเกาะแผ่น Cu และสารละลายมีสีฟ้าเกิดขึ ้น ส่วนแผ่น
Cu สึกกร่ อน
อธิบาย AgNO3 ไม่มีสี เมื่อทำการทดลองดังกล่าวจะเกิดสารสีฟ้า คือ Cu2+ ขึ ้นในสารละลาย และ ชัน้ Cu สึกกร่อนแสดง
ในสารละลาย
+ 2+ +
ว่า ให้ อิเล็กตรอนแก่ Ag กลายเป็ น Cu ส่วน Ag รับอิเล็กตรอนแล้ วเกิด Ag ดังสมการของปฏิกิริยาดังนี ้

Cu(s)  Cu2+ (aq) + 2e-


2Ag+ (aq) + 2e-  2Ag (s)
Cu (s) + 2Ag+ (aq)  Cu2+ (aq) + 2Ag(s)
+
จากการทดลองที่ 2 สรุปได้ ว่า เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างโลหะ Cu กับไอออนของโลหะ Ag ขึ ้นใน
ปฏิกิริยา
ในทางตรงข้ าม ถ้ าทดลองเพิ่มเติมโดยจุ่มแผ่น Ag ลงในสารละลาย CuSO4 จะไม่พบการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดขึ ้น แสดงว่าไม่เกิดไม่เกิดปฏิกิริยา
เคมี นัน่ คือ ไม่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเกิดขึ ้น
จากการทดลองที่ 1 และที่ 2 สามารถสรุปรวม ๆ ว่าปฏิกิริยาที่เกิดขึ ้นระหว่างโลหะกับไอออนของโลหะจะต้ องมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนเสมอ
1 จะพบว่าแผ่น Zn ใน CuSO4 (aq) เกิดปฏิกิริยาเคมีโดย Cu2+ รับอิเล็กตรอน และ Zn เสียอิเล็กตรอน
ถ้ าพิจารณาการทดลองที่
2+ 2+
และแผ่น Cu ใน ZnSO4 (aq) ไม่เกิดปฏิกิริยาเคมี แสดงว่า Zn รับอิเล็กตรอนของ Cu ไม่ได้ ดังนัน้ จึงสรุ ปได้ ว่า Cu รับอิเล็กตรอนได้ ดี
2+
กว่า Zn
+ 2+
ในทำนองเดียวกัน การทดลองที่ 2 สรุปได้ ว่า Ag รับอิเล็กตรอนได้ ดีกว่า Cu
จากการทดลองที่ 1 และที่ 2 สามารถเรี ยงลำดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของไอออนโลหะได้ ดงั นี ้
Ag+ > Cu2+ > Zn2+

( )
เมื่อทำการทดลองเพิ่มเติม แล้ วนำมาเขียนเป็ นตารางโดยจัดเรี ยงลำดับความสามารถในการรับ ชิง อิเล็กตรอนของไอออนของโลหะต่าง ๆ และการให้
อิเล็กตรอนของโลหะต่าง ๆ ได้ ดงั นี ้

ตารางที่ 16.1 ลำดับความสามารถในการเสียและรับอิเล็กตรอนของโลหะและไอออนของโลหะ


ยาก โลหะ ไอออนของโลหะ ง่าย
Au Au3+
Pt Pt2+
Pd Pd2+
Hg Hg2+
Ag Ag+
Cu Cu2+
Pb Pb2+
Sn Sn2+
Ni Ni2+
Co Co2+
Cd Cd2+
Fe Fe2+
Cr Cr3+
Zn Zn2+
Mn Mn2+
Al Al3+
Mg Mg2+
Na Na+
Ca Ca2+
Sr Sr2+
Ba Ba2+
ง่าย
K K+ ยาก

จากตารางที่ 16.1 สรุปได้ ว่า


1.ความสามารถในการเสียอิเล็กตรอนของโลหะต่างชนิดกัน ไม่เท่ากัน เช่น Zn เสียอิเล็กตรอนได้ ง่ายกว่า Cu
2. ความสามารถในการรับ (ชิง) อิเล็กตรอนของไอออนของโลหะต่างชนิดกันจะไม่เท่ากัน เช่น Ag+ รับอิเล็กตรอนได้ ดีกว่า Cu2+
3. ความสามารถในการให้ และรับอิเล็กตรอนของสารเป็ นสมบัติเฉพาะของสารนั ้น
4. โลหะใดเสียอิเล็กตรอนได้ ง่าย ไอออนของโลหะนันจะรั
้ บอิเล็กตรอนยาก และโลหะใดเสียอิเล็กตรอนยาก ไอออนของโลหะนันจะรั
้ บอิเล็กตรอนได้ ง่าย
2+ 2+
เช่น Cu รับอิเล็กตรอนง่ายกว่า Zn ในทางตรงข้ าม Cu จะเสียอิเล็กตรอนยากกว่า Zn
5. การรับอิเล็กตรอน ถ้ าเป็ นโลหะจะอยู่ในรูปไอออนบวกของโลหะ หรือถ้ าเป็ นอโลหะจะอยู่ในรูปธาตุอิสระ เช่น
Cu2+ (aq) + 2e-  Cu
Ag+ (aq) + e-  Ag
Cl2 (g) + 2e-  2Cl- (g)
ยกเว้ น 2H (aq) +2e  H2 (g) ไฮโดรเจนเป็ นธาตุอโลหะจะรับอิเล็กตรอน จะอยู่ในรูปไอออนบวก
+ -

สำหรับการให้ อิเล็กตรอน ถ้ าเป็ นโลหะจะอยู่ในรูปธาตุอิสระ หรือ ถ้ าเป็ นอโลหะจะอยู่ในรูปไอออนลบของอโลหะ เช่น


Cu (s)  Cu2+ (aq) + 2e-
Zn (s)  Zn2+ (aq) + 2e-
2Cl- (aq)  Cl2 (g) + 2e-
ยกเว้ น H2 (g)  2H+ (aq) + 2e- ไฮโดรเจนเป็ นธาตุอโลหะจะให้ อิเล็กตรอน จะอยู่ในรู ปธาตุอิสระ

ตัวอย่าง A B C และ D เป็ นโลหะที่เกิดไอออนที่มีประจุ +2 หมด จากการทดลองได้ ข้อมูลดังนี ้


1. จุ่มโลหะ A ลงในสารละลายที่มี B2+ จะพบว่าไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
2. จุ่มโลหะ C ลงในสารละลาย D2+ เกิดโลหะ D เกาะรอบ ๆ โลหะ C
3. จุ่มโลหะ D ลงในสารละลาย B2+ เกิดโลหะ B เกาะรอบ ๆ โลหะ D
จากข้ อมูลข้ างต้ น จงตอบคำถามต่อไปนี ้
.
ก จงเรี ยงลำดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของไอออนบวกของโลหะจากมากไปน้ อย
ข. จงเรียงลำดับความสามารถในการให้ อิเล็กตรอนของโลหะจากมากไปน้ อย
2+
ค. ถ้ าจุ่มโลหะ A ลงในสารละลายที่มี C จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรื อไม่ ถ้ าเกิดให้ เขียนสมการแสดงปฏิกิริยา และถ้ าไม่เกิดให้ บอกเหตุผลด้ วยว่า
เพราะเหตุใด ?
วิธีทำ
.
ก จากการวิเคราะห์ ข้ อ 1. A + B2+ ไม่เกิดปฏิกิริยา แสดงว่า B2+ รับอิเล็กตรอนของโลหะ A ไม่ได้ ในทางกลับกัน A2+ จะรับ
2+ 2+
อิเล็กตรอนของ B ได้ สรุปว่า A รับอิเล็กตรอนได้ ดีกว่า B
จากข้ อ 2. C + D  C + D แสดงว่า D รับอิเล็กตรอนของโลหะ C ได้ แสดงว่า D รับอิเล็กตรอนได้ ดีกว่า C
2+ 2+ 2+ 2+ 2+

จากข้ อ 3. D + B  D + B แสดงว่า B รับอิเล็กตรอนของโลหะ D ได้ แสดงว่า B รับอิเล็กตรอนได้ ดีกว่า D


2+ 2+ 2+ 2+ 2+

จากข้ อ 1 , 2 และ 3 สรุปรวมโดยจัดเรียงลำดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของไอออนบวกของโลหะจากมากไปน้ อยดังนี ้


A2+ > B2+ > D2+ > C2+

ข . .
จากข้ อ ก สามารถนำมาสรุ ปในทำนองเดียวกัน โดยจัดเรียงลำดับความสามารถในการให้ อิเล็กตรอนของโลหะจากมากไปน้ อยดังนี ้

C > D > B > A

.
ค ถ้ าจุ่มโลหะ A ลงในสารละลายที่มี C2+ จะพบไม่มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดขึ ้นเพราะ C2+ ไม่สามารถไปรับอิเล็กตรอนของ A ได้
2+
เนื่องจาก A รับอิเล็กตรอนดีกว่า C2+

แบบทดสอบที่ 16.2
1.โลหะ M
จุ่มในสารละลายคอปเปอร์ (II)
ซัลเฟต เกิดสารสีน้ำตาลแดงเกาะที่โลหะ M สารละลายจะมีสีฟ้าจางลง และถ้ าจุ่มโลหะ M ลงใน
สารละลายซิงค์ซลั เฟต จะไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
จากข้ อมูลที่กำหนดให้ ข้างต้ นจงตอบคำถามต่อไปนี ้
.
ก จงเรี ยงลำดับความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของสารจากมากไปน้ อย
ข. จงเรียงลำดับความสามารถในการให้ อิเล็กตรอนของสารจากมากไปน้ อย

ค. สมการของปฏิกิริยา Cu2+ (aq) + Zn (s)  Cu (s) + Zn2+ (aq) เกิดขึ ้นหรื อไม่ อธิบาย

เฉลยแบบทดสอบที่ 16.2
ข้ อ 1 แนวคิด
.
ก จากการวิเคราะห์การทดลอง จะได้ ว่า Cu2+ รับอิเล็กตรอนได้ ดีกว่า M ไอออน และ M ไอออน รับอิเล็กตรอนได้ ดีกว่า Zn2+ สรุปการจัด
2+ 2+
เรียงำดับความสามารถรับอิเล็กตรอนของสารจากมากไปน้ อย คือ Cu > M ไอออน > Zn
. . Zn > M > Cu
ข ในทางตรงข้ ามกับข้ อ ก จะได้ ความสามารถในการให้ อิเล็กตรอนของสารจากมากไปน้ อย คือ

ค. จากสมการ คือ Cu (aq) + Zn (s)  Cu(s) + Zn (aq) ถ้ าเกิดแสดงว่า Cu รับอิเล็กตรอนของ Zn


2+ 2+ 2+
ได้
2+ 2+
จากข้ อ ก. จะพบว่า Cu รับอิเล็กตรอนได้ ดีกว่า Zn ดังนันสมการของปฏิ
้ กิริยาข้ างต้ นจึงเกิดได้

16.1.3 ปฏิกิริยารี ดอกซ์ (Redox reaction)


คำว่า ปฏิกิริยารี ดอกซ์ เป็ นกระบวนการเผาไหม้ การเกิดสนิม และการหายใจ แต่เดิมนัน้ หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการเกี่ยวข้ องกับออกซิเจน และ
ไฮโดรเจน ปั จจุบนั ปฏิกิริยารีดอกซ์ หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน เกิดเป็ นพลังงานทางเคมี แล้ วถูกปล่อยออกมาในรูปพลังงานไฟฟ้า ซึง่ สามารถพบ
ในเซลล์ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์
Redox มาจากคำวา Reduction + Oxidation
ปฏิกิริยา Reduction (รี ดกั ชัน) หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน
ปฏิกิริยา Oxidation (ออกซิเดชัน) หมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการให้ อิเล็กตรอน
ดังนัน้ ปฏิกิริยารี ดอกซ์ (รี ดกั ชัน + ออกซิเดชัน) จึงหมายถึง ปฏิกิริยาที่มีการให้ และ รับอิเล็กตรอน หรือ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจากสาร
หนึง่ ไปยังอีกสารหนึ่ง นัน่ เอง
รู ปที่ 16.2 Antceine Lawoisir (ค.ศ. 1743 - 1794) เป็ นบิดาแห่งเคมีแผนใหม่ ลาวัวซิเยร์ เป็ นลูกชายของเศรษฐี นักกฎหมาย เขาเป็ น
บุคคลแรกที่อธิบายปฏิกิริยารีดอกซ์ จากการเผาไหม้

ปฏิกิริยาเคมีแบ่งโดยการใช้ การถ่ายโอนอิเล็กตรอนเป็ นเกณฑ์ มี 2 ชนิด คือ

1. ปฏิกิริยารี ดอกซ์ (Redox reaction)


-
ปฏิกิริยารีดอซ์ หรือ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดกั ชัน คือ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน หรื อ เป็ นปฏิกิริยาที่มีการให้ และรับอิเล็กตรอน เช่น

ถ่ายโอน e-

Cu2+(aq) + Zn(s) Cu(s) + Zn2+(aq)


รับ e-
ให้ e-

เขียนแยกสมการได้ ดงั นี ้

0
Zn (s)  Zn2+ (aq) + 2e-
0
Cu (aq) + 2e  Cu (s )
2+ -

จะเห็นได้ วา่ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ส่วนของสารที่ให้ อิเล็กตรอน (e- ) จะมีเลขออกซิเดชันเพิ่ม


ขึ ้น และส่วนของสารทีรับอิเล็กตรอนจะมีเลขออกซิเดชันลดลง
ตัวอย่างปฏิกิริยารี ดอกซ์
1. ปฏิกิริยาการรวมตัว เช่น

ธาตุ 1 + ธาตุ 2  สารประกอบ

เช่น
2Mg (s) + O2 (g)  2MgO (s)
2H2 (g) + O2 (g)  2H2O (l)

สารประกอบ 1 + ธาตุ  สารประกอบ 2

เช่น 2FeCl2 (s) + Cl2 (g)  2FeCl3 (s)


2CO (g) + O2 (g)  2CO2 (g)
ZnS (s) + 2O2(g)  ZnSO4 (s)

2. ปฏิกิริยาการสลายตัว

สารประกอบ  สาร 1 + สาร 2 + ….

เช่น NH4NO3  N2O (g) + 2H2O (g)


2HgO (s)  2Hg (l) + O2 (g)


2KNO3 (s)  2KNO2 (s) + O2(g)


(NH4)2Cr2O7 (s)  N2 (g) + Cr2O3 (s) + 4H2O(g)


3. ปฏิกิริยาการแทนที่ เช่น

2Na (s) + 2H2O (l)  2NaOH (aq) + H2(g)


Zn (s) + 2HCl (aq)  ZnCl2 (aq) + H2(g)
Zn (s) + CuSO4 (aq)  ZnSO4 (aq) + Cu (s)
H2 (g) + CuO (s)  Cu (s) + H2O (g)

Br2 (aq) + 2 NaI (aq)  2NaBr (aq) + I2 (aq)


I2(aq) + H2S (aq)  S (s) + 2HI (aq)

2. ปฏิกิริยานอนรี ดอกซ์ (Non-redox reaction)


ปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ คือ ปฏิกิริยาที่ไม่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนหรื อเป็ นปฏิกิริยาที่ไม่มีการให้ และรับอิเล็กตรอนในปฏิกิริยานั ้น เช่น

+1 -2 +1 +1 -1 +1 -2
NaOH (aq) + HCl  NaCl (aq) + H2O (l )
จากสมการของปฏิกิริยาข้ างต้ น ไม่มีธาตุใดเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันเลย แสดงว่า ไม่มีธาตุให้ หรือรับอิเล็กตรอนเลย ปฏิกิริยานอนรี ดอกซ์มีดงั นี ้
1. ปฏิกิริยาการรวมตัวแล้ วเกิดกรดหรื อเบสหรื อสารอื่น ๆ

+ H2O  กรด
ออกไซด์ของอโลหะ

SO4 (g) + H2O (l)  H2SO3 (aq)


CO2 (g) + H2O (l)  H2CO3 (aq)

ออกไซด์ของโลหะ + H2O  เบส

Na2O (s) + H2O (l)  2 NaOH (aq)


CaO (s) + H2O (l)  Ca(OH)2 (aq)
2. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส

กรด + เบส  เกลือ + H2O

HCl (aq) + NH3 (g)  NH4 (s)


SO2 (aq) + 2NaOH (aq)  Na2SO3 (aq) + H2O (l)
HNO3 (aq) + KOH (aq)  KNO3 (aq) + H2O (l)

3. ปฏิกิริยาการสลายตัว เชน
CaCO3 (s)  CaO (s) + CO2 (g)

NH4Cl (s)  NH3 (g) + HCl (g)


2NaHSO3 (s)  Na2SO3 (s) + H2O (l) + SO2 (g)


(NH4)2S (s)  2NH3 (g) + H2S (g)


4. ปฏิกิริยาการแทนที่ เช่น
CaCO3 (s) + SiO2 (s)  CaSiO3 (l) + CO2 (g)

2Ca3(PO4)2 + 6SiO2 (s)  6CaSiO3 (s) + P4O10 (g)


[Cu(H2O)4]2+ (aq) + 4NH3 (g)  [Cu(NH3)4]2+ (aq) + 4H2O (l)

5. Partner-exchange reaction
Na2CO3 (s) + 2HCl(aq)  2NaCl (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
K2SO3 (s) + 2HCl (aq)  2KCl (aq) + SO2 (g) + H2O (l)
NaCl (s) + H2SO4 (conc)  NaHSO4 (s) + HCl (aq)
Mg3(BO3)2 + 6HCl (aq)  3MgCl2 (aq) + 2H3BO3 (aq)
BCl3 (l) + 3H2O (l)  H3BO3 (aq) + 3HCl (aq)
รู ปที่ 16.3 ใน ค.ศ. 1775 ลาวัวซิเร์ ได้ รับการแต่งตังจากรั
้ ฐบาลฝรั่งเศสเป็ นผู้ อำนวยการของโรงงานผลิตยุทโธปกรณ์ ณ ที่แห่งนี ้ เขาได้ ทำการทดลองปฏิกิริยา
การเผผาไหม้ และการหายใจ

การพิจารณาว่าปฏิกิริยาใดเป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์และปฏิกิริยานอนรีดอกซ์


1. ปฏิกิริยารี ดอกซ์ จะมีสารที่ให้ อิเล็กตรอนและรับอิเล็กตรอนเท่ากันในสมการที่ดลุ แล้ ว ดังนันสมการจึ
้ งไม่มีอิเล็กตรอนแสดงอยู่ เช่น

e-
Cu2+ (aq) + Zn (s)  Cu (s) + Zn2+ (aq)

จากสมการ จะพบว่า Zn 1 โมลให้ อิเล็กตรอนแก่ Cu2+ 1 โมล พอดีกนั ไม่มีอิเล็กตรอนเหลือหรื อขาด ดังนัน้ ในสมการจึงไม่มีอิเล็กตรอนแสดง
อยู่

2. ปฏิกิริยาที่มีธาตุอิสระร่ วมอยู่ด้วย ไม่วา่ จะเป็ นสารตั ้งต้ นหรื อสารผลิตภัณฑ์ จะเป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์ เช่น

0 +1 +1 0
2Na (s) + 2H2O (l)  2NaOH (aq) + H2 (g )
0 +1 +2 0
Zn (s) + 2HCl (aq)  ZnCl2 (aq) + H2 (g )

+7 +2 +6 +2 0
2KMnO4 (s)  K2MnO4 (s) + MnO2 (s) + O2 (g)

3.
สมการเคมีที่ไม่มีอิเล็กตรอนแสดงอยู่ในปฏิกิริยาที่ไม่มีสารใดเป็ นธาตุอิสระ จะพิจารณาว่า เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์หรื อไม่ ต้ องตรวจสอบเลข
ออกซิเดชันของธาตุทรานซิชนั ก่อนว่าเปลี่ยนแปลงหรื อไม่ ถ้ าเปลี่ยนเป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์ และถ้ าไม่เปลี่ยนเลขออกซิเดชัน ก็ตรวจเลขออกซิเดชันของธาตุที่คอ่ นไปทาง
ขวาของตารางธาตุว่า เปลี่ยนหรื อไม่ ถ้ าเปลี่ยนก็เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์ และถ้ าไม่เปลี่ยนเลขออกซิเดชันก็สรุปว่าไม่เป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์ สำหรับถ้ ามีธาตุหมู่ IA และ
2A ในรูปสารประกอบไม่ต้องตรวจเลขออกซิเดชัน เพราะไม่เปลี่ยน แต่จะคงที่เสมอ เช่น
ปฏิกิริยารีดอกซ์
+7 +2 +2 +3
2KMnO4 (aq) +10FeSO4 (aq) +8H2SO4(aq)  K2SO4(aq)+2MnSO4(aq)+5Fe2(SO4)3(aq)+8H2O(l)
ปฏิกิริยานอนรีดอกซ์
+4 -1 +1 +6 -2 +4 -2 -1 +6 -2 -1 +1 -1
2CCl4 + K2CrO4  2COCl2 + CrO2Cl2 + 2KCl

4. ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส ส่วนมากเป็ นปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ เช่น

H+ (aq) + OH- (aq)  H2O (l)


HCl (aq) + NaOH (aq)  NaCl (aq) + H2O (l)

5. Double displacement ส่วนมากเป็ นปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ เช่น


ปฏิกิริยาชนิด

BaCl2 (aq) + Na2SO4 (aq)  BaSO4 (s) + 2NaCl (aq)


AgNO3 (aq) + KCl(aq)  AgCl (s) + KNO3 (aq)

รู ปที่ 16.4 ในสมัยโบราณ คนงานญี่ปนถลุ (


ุ่ งแร่ทองแดง ซึง่ มีกระบวนการรี ดอกซ์เกี่ยวข้ อง
ด้ วย )
ตัวออกซิไดซ์และตัวรี ดิวซ์ของสารในปฏิกิริยารี ดอกซ์
-
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ หรื อปฏิกิริยาออกซิเดชัน รีดกั ชัน เป็ นปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน หรื อเป็ นปฏิกิริยาที่มีเลขออกซิเดชันของธาตุเปลี่ยนแปลง ซึง่
เขียนแยกเป็ นสองส่วนได้ และแต่ละส่วนของปฏิกิริยามีชื่อเรี ยกแตกต่างกัน ซึง่ ประกอบด้ วย 2 ปฏิกิริยาดังนี ้
(Oxidation Reaction) คือ ปฏิกิริยาที่มีการให้ อิเล็กตรอนเกิดขึ ้น โดยเรียกสารที่ให้ อิเล็กตรอนว่า ตัวรีดิวซ์
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
(Reducer หรือ Reducing agent)
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน (Reduction reaction) คือ ปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอนเกิดขึ ้น โดยเรี ยกสารที่รับอิเล็กตรอนว่า ตัวออกซิไดส์
(Oxidizing agent)
2+
การพิจารณาปฏิกิริยาระหว่างโลหะ Zn กับ Cu ซึง่ เขียนแทนด้ วยสมการ
ถ่ายโอน e-

Zn (s) + Cu2+(aq)  Zn2+ (aq) + Cu (s)


รับ e-

ให้ e-

ปฏิกิริยาที่มีการให้ และรับอิเล็กตรอน เรียกว่า ปฏิกิริยารี ดอกซ์


เขียนแยกเป็ นปฏิกิริยาย่อย ดังนี ้
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Zn (s)  Zn2+ (aq) + 2e- ……….. (1)
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Cu2+ (aq) + 2e-  Cu (s) ………. (2)
ปฏิกิริยาที่ 1 เป็ นปฏิกิริยาออกซิเดชัน เพราะมีการให้ อิเล็กตรอน โดยมี Zn ให้ อิเล็กตรอนเรี ยกว่า ตัวรีดิวซ์
2+
ปฏิกิริยาที่ 2 เป็ นปฏิกิริยารี ดกั ชัน เพราะการรับอิเล็กตรอน โดยมี Cu รับอิเล็กตรอน เรียกว่า ตัวออกซิไดซ์

สรุป ปฏิกิริยาระหว่าง Zn กับ Cu2+ ด้ วยสมการดังนี ้

Zn (s) + Cu2+(aq)  Zn2+ (aq) + Cu (s)


ปฏิกิริยารี ดกั ชัน

ปฏิกิริยา ออกซิเดชัน

ตัวออกซิไดส์
ตัวรี ดิวซ์

การพิจารณาปฏิกิริยาต่าง ๆ ด้ วยแผนภาพสมการเคมีดงั ตัวอย่างต่อไปนี ้


1.
+7 +4 +2 +6
2MnO4- + 6H+ + 5SO32- 2Mn2+ + 3H2O + 5SO42-
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน S4+ S 6+ + 2e -
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Mn+7 + 5e - Mn 2+
ตัวออกซิไดซ์ ตัวรี ดิซ์
MnO4- เป็ นตัวออกซิไดส์ จะได้ ว่า MnO4- ออกซิไดซ์ SO32- แต่ถกู รีดิวซ์โดย SO32-
SO32- เป็ นตัวรีดิวซ์ จะได้ วา่ SO32- รีดิวซ์ MnO4- แต่ถกู ออกซิไดส์โดย MnO4-
2.
0 -1 +5
6Cl2 (g) + 6Ba(OH)2 (aq) 5BaCl2 (aq) + Ba(ClO3)2 + 6H2O
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Cl0 + e- Cl-
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Cl0 Cl+5 + 5e-
ตัวออกซิไดซและตัวรี ดิวซ์

Cl2 เป็ นตัวออกซิไดส์ และตัวรีดิวซ์ จะได้ วา่ Cl2 ออกซิไดส์ และรีดิวซ์ Cl2 ด้ วยกันเอง เรียกปฏิกิริยาแบบนี ้ว่า Autoredox
reaction หรือ Selfredox reaction หรือ Disproportion reaction

3.
+5 -2 -1 0
KClO3 (s) 2KCl(s) + 3O 2 (g)
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
Cl+5 + 6e- Cl-
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
O2- Oo + 2e-

KClO3 เป็ นทังตั้ วออกซิไดส์ และตัวรีดิวซ์ เพราะ Cl มีเลขออกซิเดชันลดลง (รับอิเล็กตรอน ) และ O มีเลขออกซิเดชัน
เพิ่มขึ ้น (ให้ อิเล็กตรอน ) ปฏิกิริยานี ้สารชนิดเดียวกันถูกทังออกซิ
้ ไดส์และถูกรีดิวซ์ เรียก Autoredox reaction

ปฏิกิริยารีดอกซ์อธิบายโดยใช้ เลขออกซิเดชัน
(
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ คือ ปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน โดยมีสว่ นหนึง่ เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ ้น ให้ อิเล็กตรอน ) และอีกส่วนหนึง่ เลขออกซิเดชัน
(
ลดลง รับอิเล็กตรอน )
ปฏิกิริยารี ดอกซ์แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ ปฏิกิริยาที่มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ ้น และเรียกสารที่มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ ้นว่า เป็ นตัวรี ดิวส์
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน คือ ปฏิกิริยาที่มีเลขออกซิเดชันลดลง และเรี ยกสารที่มีเลขออกซิเดชันลดลงว่าเป็ นตัวออกซิไดส์

+1 0 0 +2
+
2Ag (aq) + Cu(s) 2Ag(s) + Cu 2+ (aq)
เลขออกซิเดชันลดลง :ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น : ปฏิกิริยาออกซิเดชัน

ตัวออกซิไดซ์ ตัวรี ดิซ์


การพิจารณาปฏิกิริยารีดอกซ์ โดยใช้ เลขออกซิเดชันจากปฏิกิริยาดังนี ้
+4 +1 +2 0
MnO2(s) + 2KBr(aq) + 2H2SO4(aq) MnSO4(aq)+ K2SO4(aq) + 2H2O(l) +Br2(l)
เลขออกซิ เดชันเพิ่มขึ้น : ปฏิกิริยาออกซิ เดชัน
เลขออกซิ เดชันลดลง :ปฏิกิริยารี ดกั ชัน

ตัวออกซิไดซ์ ตัวรี ดิซ์

จากตัวอย่างของปฏิกิริยารีดอกซ์ พบว่า ตัวออกซิไดส์ รับอิเล็กตรอนแล้ วเลขออกซิเดชันลดลง และ ตัวรีดิวซ์ ให้ อิเล็กตรอนแล้ ว เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ ้น
กำหนดเลขออกซิเดชันสูงสุด และต่ำสุดเป็ น +8 และ -4 ตามลำดับ แผนภาพง่าย ๆ ต่อไปนี ้แสดงการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันในปฏิกิริยาออกซิเดชันและ
รี ดกั ชัน
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
(
จำนวนอิเล็กตรอน ลดลง ให้ อิเล็กตรอน )

 -3 -2 -1 0 +1 +2 +3  เลขออกซิเดชัน
( ON )
(
จำนวนอิเล็กตรอน เพิ่มขึ ้น รับอิเล็กตรอน )
เลขออกซิเดชัน ลดลง
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
รู ปที่ 16.5 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน หรือรี ดกั ชันของธาตุที่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันและเปลี่ยนแปลงจำนวนอิเล็กตรอนตามที่กำหนดให้ แก่ธาตุ

ตารางที่ 16.2 ตัวออกซิไดส์บางชนิดที่ควรทราบ


ตัวออกซิไดส์ ผลของการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
KMnO4 ในสารละลายกรด MnO4- (aq)  Mn2+ (aq) +7 เป็ น +2
สีม่วง ไม่มีสี

KMnO4 ในสารละลายเบส MnO (aq)  MnO2 (s)


4
-
+7 เป็ น +4
หรือสารละลายที่เป็ นกลาง สีม่วง ของแข็งสีดำ

KMnO4 ในสารละลายเบสแก่ MnO4- (aq)  MnO42-


+7 เป็ น +6
(aq)
K2Cr2O7 ในสารละลายกรด Cr2O72- (aq)  2Cr3+ (aq) +6 เป็ น +3
สีส้ม สีเขียว

K2Cr2O7 ในสารละลายกรด CrO4 (aq)  2Cr(OH)4-


2-

(aq) +6 เป็ น +3
สีเหลือง สีเขียว
MnO2 MnO2 (s)  NO2 (g) +5 เป็ น +4
KClO3 ClO3- (aq)  Cl- (aq) +5 เป็ น -1
KClO ClO- (aq)  Cl- (aq) +1 เป็ น -1
KIO3 IO3- (aq)  ฝ I2 (s) +5 เป็ น 0
H2O2 ในสารละลายกรด H2O2 (aq)  H2O (l) -1 เป็ น -2

ตารางที่ 16.3 ตีวรีดิวซ์บางชนิดที่ควรทราบ

ตัวรี ดิวซ์ ผลของการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน


โลหะ (M) M(s)  M (aq) n+ 0 เป็ น n
คาร์ บอน
C (s)  CO2 (g) 0 เป็ น +4
CO CO (g)  CO2 (g) +2 เป็ น +4
H2 H2 (g)  2H+ (aq) 0 เป็ น +1
H2S S2- (aq)  S (s) -2 เป็ น 0
SO2 (g) / SO32- (aq) SO32- (aq)  SO42- (aq) +4 เป็ น +6
H2C2O4 C2O42- (aq)  2CO2 (aq) +3 เป็ น +4
Na2S2O3 2S2O32- (aq)  S4O62- +2 เป็ น +5/2
(aq)
I- , Br- , Cl- (aq) 2X - (aq)  X2 (g , l , s) -1 เป็ น 0
เกลือ Fe (II) Fe2+ (aq)  Fe3+ (aq) +2 เป็ น +3
เกลือ Sn (II) Sn2+ (aq)  Sn4+ (aq) +2 เป็ น +4
H2O2 ในสารละลายกรด H2O2 (aq)  O2 (g) -1 เป็ น 0
จากตารางที่ 16.2 และ 16.3 สรุปได้ วา่
1. KMnO4 และ K2Cr2O7 เป็ นตัวออกซิไดส์ที่แรง ไม่วา่ จะอยู่ในสารละลายกรดหรื อเบส เช่น
+7 +2 +2 +3
2KMnO4(aq) + 10FeSO4(aq) + 8H2SO4(aq) K2SO4(aq)+ 2MnSO4(aq) + 2Fe2(SO 4)3(aq) + 8H2O(l)
เลขออกซิ เดชันเพิ่มขึ้น : ปฏิกิริยาออกซิ เดชัน
เลขออกซิ เดชันลดลง :ปฏิกิริยารี ดกั ชัน

ตัวออกซิ ไดซ์ ตัวรี ดิซ์


+6 -1 +3 0
K2Cr2O7 (aq) + 14HCl(aq) 2KCl(aq) + 2CrCl3(aq) + 7H2O(l) + 3Cl2(g)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน

ตัวออกซิไดซ์ ตัวรี ดิซ์


2. H2O2 ในสารละลายกรด เป็ นตัวออกซิไดส์ หรื อเป็ นตัวรีดิวซ์ก็ได้ ทังนี
้ ้ขึ ้นอยู่กบั สารที่ ทำปฏิกิริยาด้ วย เช่น

-1 -2
2Fe2+(aq) + H2O2(aq) + 2H+(aq) 2Fe3+(aq) + 2H2O(l)
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
ตัวออกซิไดซ์
-1 0
2MnO4-(aq) + 5H2O (aq) + 6H+(aq) 2Mn2+(aq) + 8H2O(l) + 5O2(g)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ตัวรี ดิซ์
3. ตัวออกซิไดส์ จะมีเลขออกซิเดชันลดลง ดังนัน้ ถ้ าสารใดมีธาตุที่มีเลขออกซิเดชันสูง แนวโน้ มของสารนั ้นจะเป็ นตัวออกซิไดส์ดีและแรง เช่น
+7 +6
KMnO4 , K2Cr2O7
4. ตัวรีดิวซ์ จะมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ ้น ดังนัน้ ถ้ าสารใดมีธาตุที่มีเลขออกซิเดชันต่ำ แนวโน้ มของสารนันจะเป็
้ นตัวรีดิวซ์ดีและแรง เช่น โลหะหมู่ IA
- - -
ทุกตัว Na K ไอออนลบของธาตุหมู่ 7A ได้ แก่ I , Br , Cl
-1 0
MnO2(s) + 4HCl(conc) MnCl2(aq) + 2H2O(l) + Cl2(g)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ตัวรี ดิซ์

0 +1
2Na(s) + 2H2O (l) 2NaOH (aq) + H2(g)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ตัวรี ดิซ์

ตารางที่ 16.4 ปฏิกิริยารี ดอกซ์


เทอม การเปลี่ยนแปลงอิเล็กตรอน การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ให้ อิเล็กตรอน เพิ่มขึ ้น
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน อิเล็กตรอนรับ ลดลง
ตัวออกซิไดซ์ รับอิเล็กตรอน ลดลง
ตัวรี ดิวซ์ ให้ อิเล็กตรอน เพิ่มขึ ้น
สารที่ถูกออกซิไดส์ ให้ อิเล็กตรอน เพิ่มขึ ้น
สารที่ถูกรีดิวซ์ รับอิเล็กตรอน ลดลง

ตัวอย่าง สมการของปฏิกิริยาในข้ อใดเป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์ อธิบาย


ก. Cu2+ + 4NH3  Cu(NH3)42+
ข. Cl2 + 2OH  Cl + ClO + H2O
- - -

ค. Ca + 2F  CaF2
2+ -

ง. Ca + F2  CaF2

จ. 2CCl4 + CrO4  2COCl2 + CrO2Cl2 + 2Cl


2- -

ฉ. NH3 + H  NH4
+ +

วิธีทำ
. . .
ข้ อ ก ค จ ฉ เป็ นปฏิกิริยานอนรี ดอกซ์ ไม่มีธาตุใดเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
.
ข้ อ ข เป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์ เพราะธาตุ Cl2 เปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน ดังนี ้

0 -1 +1
Cl2 + 2OH  Cl + ClO- + H2O
- -

ข้ อ ง. เป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์ เพราะ Ca มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ ้น และ F2 มีเลขออกซิเดชันลดลงดังนี ้

0 +2 -1
0
Ca + F2  CaF2
ตัวอย่าง จงพิจารณาปฏิกิริยาต่อไปนี ้
6Fe2+ (aq) + Cr2O72- (aq) + 14H+ (aq)  6Fe3+ (aq) + 2Cr3+ (aq) + 7H2O (l)
จงตอบคำถาม
.
ก สารใดถูกออกซิไดส์
ข. สารใดถูกรี ดิวซ์
ค. สารใดเป็ นตัวออกซิไดส์
ง. สารใดเป็ นตัวรี ดิวซ์
วิธีทำ
+2 +6 +3 +3
6Fe2+(aq) + Cr 2O72- (aq) + 14H +(aq) 6Fe 3+(aq) + 2Cr3+(aq) + 7H2O(l)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน

ตัวรี ดิซ์ ปฏิกิริยารี ดกั ชัน


ตัวออกซิไดซ์
ก. Fe2+ ถูกออกซิไดส์
2-
ข. Cr2O7 ถูกรี ดิวซ์
2-
ค. Cr2O7 เป็ นตัวออกซิไดส์
2+
ง. Fe เป็ นตัวรีดิวซ์

ตัวอย่าง กำหนดสมการของปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี ้ แล้ วระบุวา่ สารใดเป็ นตัวออกซิไดซ์ และตัวรีดิวซ์ พร้ อมทังระบุ


้ จำนวนเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลงด้ วย
ก. I2 (aq) + 2OH- (aq)  I- (aq) + IO- (aq) + H2O (l)
ข. 2Cr2O7 + 16H (aq)  4Cr (aq) + 3O2(g) + 8H2O (l)
2- + 3+

ค. 3Fe (aq) + Al (s)  3Fe (aq) + Al (aq)


3+ 2+ 3+

ง. 6I (aq) + BrO3 (aq) + 6H (aq)  3I2 (aq) + Br (aq) + 3H2O (l)


- - + -

จ. 5Br (aq) + BrO3 (aq) + 6H (aq)  3Br2 (aq) + O2 (g)


- - +

ฉ. XeF4 (s) + 2H2O (l)  Xe (g) + 4HF (aq) + O2 (g)

วิธีทำ
ก .
0 -1- +1
I2(aq) + 2OH-(aq) I (aq) + IO- (aq) + H2O (l)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ON เปลี่ยน= (+1)-0 = 1
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน ON เปลี่ยน= (+1)-0 = 1

ตัวออกซิไดซ์ และตัวรี ดิวซ์


ข .
+6 -2 +3 0
2Cr2O72-(aq) + 16H +(aq) 3+
4Cr (aq) + 3O 2(g) + 8H 2O(l)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ON เปลี่ยน= 0-(-2) = 2
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน ON เปลี่ยน= (+6)-(+3) = 3
ตัวรี ดิวซ์
ตัวออกซิไดซ์
ค .
+3 0 +2 +3
3Fe3+(aq) + Al(s) 3Fe 2+(aq) + Al3+(aq)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ON เปลี่ยน= (+3)-0 = 3
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน ON เปลี่ยน= (+3)-(+2) = 1

ตัวออกซิไดซ์ ตัวรี ดิวซ์


.

-1 +5 0 -1
6I-(aq) + BrO3-(aq) + 6H+(aq) 3I2(aq) + Br-(aq) + 3H2O(l)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ON เปลี่ยน= (+5)-(-1) = 6
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน ON เปลี่ยน= 0 -(-1) = 1

ตัวรี ดิวซ์ ตัวออกซิไดซ์


ฉ .
+4 -2 0 0
XeF4(s) + 2H2O(l) Xe(g) + 4HF(aq) + O2(g)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ON เปลี่ยน= 0-(-2) = 2
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน ON เปลี่ยน= +4 -0 = 4
ตัวออกซิไดซ์ ตัวรี ดิวซ์

16.1.4 ประโยชน์ของปฏิกิริยารีดอกซ์
ในชีวิตประจำวันของเรานันใช้
้ ประโยชน์ของปฏิกิริยารี ดอกซ์มากดังเช่น การลบรอยเปื อ้ นของสนิมเหล็ก และใช้ ในการทำพิมพ์เขียว

การลบรอยเปื อ้ นของสนิมเหล็ก
สนิมเหล็ก เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างเหล็กกับออกซิเจนและน้ำดังนี ้
2Fe (s)  2Fe2+ (aq) + 4e-
O2 (g) + 2H2O (l) + 4e-  4OH- (aq)
; 2Fe (s) + O2 (g) + 2H2O (l)  2Fe2+ (aq)+ 4OH- (aq)
ปฏิกิริยารวม

2Fe2+ (aq)+ 4OH- (aq)  Fe(OH)2 (s)


(ไอร์ออน(II)ไฮดรอกไซด์)
และ Fe(OH)2 (s) จะทำปฏิกิริยากับก๊ าซ O2 เกิดเป็ นผลึกไอร์ ออน (II) ออกไซด์ ซึง่ เป็ นสนิมเหล็กสีน้ำตาลดังนี ้

4Fe(OH)2 (s) + O2 (g)  2H2O (l) + 2[Fe2O3 .H2O] (s)

Fe2O3 .nH2O นอกจากนันผลึ


สนิมเหล็กจึงมีสตู รทัว่ ไปเป็ น ้ กไอร์ ออน (II/III) ออกไซด์ที่มีสตู รเป็ น Fe3O4 .nH2O เป็ น
Mixed basic Oxide แยกเขียนเป็ นสูตรได้ เป็ น FeO. Fe2O3 . nH2O ซึง่ เฉพาะส่วนที่เป็ น Fe2O3 .nH2O เป็ นสนิมเหล็ก ส่วน FeO
ไม่เป็ นสนิมเหล็ก ดังนัน้ จึงจัดผลึกไอร์ ออน (II/III) ออกไซด์เป็ นสนิมเหล็กชนิดหนึง่ ด้ วย
เนื่องจาก Fe(OH)2 ทีเ่ กิดขึ ้นเป็ นต้ นเหตุของการเกิดสนิมเหล็ก ซึง่ เป็ นรอยเปื อ้ นที่ลบออกยาก ดังนันถ้ ้ าต้ องการจะลบรอยเปื อ้ น ควรใช้
สารละลายกรดออกซาลิก (H2C2O4) ซึง่ เป็ นกรดอินทรีย์ที่มี pH = 4 - 5 กระบวนการของปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่เกิดขึ ้นดังนี ้
H2C2O4 (aq) 2H+ (aq) + C2O42- (aq)

ส่วนออกซาเลตไอออน (C2H42-) จะละลายรอยเปื อ้ นที่เป็ นสนิมเหล็กเป็ นไอออนเชิงซ้ อน ดดยทำปฏิกิริยากับ Fe3+ ในสนิมเหล็ก ดังนี ้

Fe2O3 . nH2O

Fe3+ (aq) + 3C2O42- (aq)  [Fe(C2O4)3]3- (aq)


ไตรออกซาเลตไอร์ ออน(III) ไอออน

รู ปที่ 16.5 โครงสร้ างของไตรออกซาเลตไอร์ ออน (III) ไอออน


การทำพิมพ์เขียว
พิมพ์เขียว หรื อ กระดาษพิมพ์เขียว (Blue print) เป็ นกระดาษที่ใช้ ในการอัด สำเนา ในการเขียนแบบก่อสร้ าง มีพื ้นสีน้ำเงิน ทำได้ ด้วยการนำกระดาษ
มาฉาบด้ วยสารละลายผสมระหว่างโพแทสเซียมเฮกซะไซยาโนเฟอเรต (III) K3[Fe(CN)6 ] และแอมโมเนียมไอร์ ออน (III) ซิเตรต
[(NH4)Fe(H2C6H5O7)4] เมื่อถูกแสงซิเตรตไอออน รีดิวซ์ไอร์ ออน (III) เป็ นไอร์ออน (II) เกิดสารสีน้ำเงินขึ ้นบนกระดาษ และส่วนที่ไม่ถูกแสงกระดาษ
ก็ยงั คงเป็ นสีขาวเหมือนเดิม แล้ ว นำกระดาษที่ได้ ไปล้ างด้ วยน้ำแล้ วทำให้ แห้ ง จะได้ กระดาษพิมพ์เขียวตามต้ องการ
ปฏิกิริยาแสดงการทำพิมพ์เขียวเกิดขึ ้นดังนี ้
ขันที
้ ่ 1 K3Fe(CN)6 (aq)  3K+ (aq) + [Fe(CN)] 63- (aq)
โพแทสเซียมเฮกซะไซยาโนเฟอเรต (III)
้ ่2
ขันที (NH4)Fe(H2C6H5O7)4 (aq) NH4+ (aq) + [Fe(H2C6H5O7)4]- (aq)
แอมโมเนียมไอร์ ออน (III) ซิเตรต

้ ่ 3 NH4 (aq) + [Fe(CN)] 6 (aq)  (NH4)3Fe(CN) 6 (aq)


+ 3-
ขันที
แอมโมเนียมเฮกซะไซยาโนเฟอเรต (III)
้ ่4
ขันที

แสง
[(H2C6H5O7)4Fe]- (aq) 
 Fe2+
(NH4)3Fe(CN)6

Fe3[Fe(CN)6]2
พิมพ์เขียว
ไอร์ ออน (II) เฮกซะไซยาโนเฟอเรต(III)

แบบทดสอบที่ 16.3
1.แผนภาพแสดงปฏิกิริยาต่อไปนี ้ เป็ นปฏิกิริยาออกซิเดชัน หรือปฏิกิริยารีดกั ชัน หรือปฏิกิริยารีดอกซ์
1.1 SO32-  H2SO4
1.2 Zn  Zn(OH)42-
1.3 MoO3  MoO2I
1.4 H2  2NaH
1.5 O3  H2O
1.6 CaF2 + K2SO4 + 4C  CaS + 2KF + 4CO
1.7 CS2 + 3Cl2  CCl4 + S2Cl2
1.8 Ba(OH)2  BaO2
1.9 CuI  CuSO4
้ ข้อ 1.1 - 1.9 เขียนเฉพาะส่วนที่จะเน้ นถึงเท่านัน้
หมายเหตุ สมการตังแต่

2.สารใดเป็ นตัวออกซิไดซ์ และสารใดเป็ นตัวรีดิวซ์ ในปฏิกิริยาต่อไปนี ้


2.1 Fe3O4 + 4H2  3Fe + 4H2O
2.2 MnO2 + 4HCl  MnCl2 + Cl2 + 2H2O
2.3 2K2Cr2O7 + 2H2O + 3S  3SO2 + 4KOH + 2Cr2O3
2.4 2Ca3(PO4)2 + 5C + 6SiO2  6CaSiO4 + P4 + 5CO2
2.5 CaCO3  CaO + CO2
2.6 2KClO3  2KCl + 3O2
2.7 H2SO4 + KOH  K2SO4 + 2H2O
2.8 NH4NO2  N2 + 2H2O
2.9 Mg2Si + 4HCl  2MgCl2 + SiH2
2.10 6KOH + 3Br2  5KBr + KBrO3 + 3H2O

3.สมการใดต่อไปนี ้เป็ นสมการของปฏิกิริยารีดอกซ์


3.1 LiAlH4 + 4H+  Li+ + Al3+ + 4H2
3.2 24Cu2S + 128H+ + 32NO3-  48Cu2+ + 32NO + 3S8 + 64H2O
3.3 TiCl4 + 2H2S  TiS2 + 4HCl
3.4 K2Cr2O7 + 4KCl + 3H2SO4  2CrO2Cl2 + 3K2SO4 + 3H2O
3.5 SnCl2 + H2O  Sn(OH)Cl + H+ + Cl-
3.6 Sn + Sn(OH)62-  2Sn(OH)3-
3.7 2Hg2+ + Sn2+  Hg2 2+ + Sn4+
3.8 Hg22+ + H2S  HgS + Hg + 2H+

4.สารใดเป็ นตัวออกซิไดส์ และตัวรีดิวซ์เฉพาะในปฏิกิริยารีดอกซ์ต่อไปนี ้


4.1 5SO32- + 2MnO4- + 6H+  5SO42- + 2Mn2+ + 3H2O
4.2 2NO2(g) + 7H2(g)  2NH3 (g) + 4H2O (g)
4.3 2[Fe(CN)]64- + H2O2 + 2H+  2[Fe(CN)6]3- + 2H2O
4.4 Na2CO3 + 2HCl  2NaCl + H2O + CO2
4.5 2KI + F2  2KF + I2
4.6 CaS + 2HCl  CaCl2 + H2S
4.7 O2 + 4HCl  2Cl2 + 2H2O
4.8 2PbO2  2PbO + O2
5.จงเขียนเลขออกซิเดชันของธาตุที่เปลี่ยนแปลงไปในปฏิกิริยาต่อไปนี ้
5.1 S(s) + 2F2 (g)  SF4 (g)
5.2 2CuSO4 (aq) + 4KI (aq)  2CuI (s) + 2K2SO4 (aq) + I2 (s)
5.3 NH3 (g) + 3Cl2 (g)  NCl3 (g) + 3HCl (g)
5.4 I2 (aq) + SO2 (aq) + 2H2O  2HI (aq) + H2SO4 (aq)
5.5 2PbS (s) + 3O2 (g)  2PbO (s) + 2SO2 (g)

6.จงเขียนสมการของปฏิกิริยาต่อไปนี ้ แล้ วบอกด้ วยว่าเป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์หรือไม่ ถ้ าเป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์ให้ ระบุตวั ออกซิไดส์ และตัวรี ดิวซ์ แต่ถ้าไม่เป็ นปฏิกิริยารี
ดอกซ์ ให้ อธิบายว่าเพราะเหตุใด
6.1 ใส่สารละลาย NiSO4 ในภาชนะทำด้ วยเหล็ก พบว่าภาชนะผุกร่ อน และเกิดสารสีเทาตกตะกอนอยู่ก้นภาชนะ
6.2 เทกรดเกลือลงไปบนหินปูน เกิดฟองก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ และแคลเซียมคลอไรด์ และน้ำ
เฉลยแบบทดสอบที่ 16.3
ข้ อ 1 แนวคิด
ข้ อ ธาตุที่เลขออกซิเดชันเปลี่ยน ชนิดของปฏิกิริยา
1.1 S มี ON เปลี่ยนจาก +4 +6 ON เพิ่ม ออกซิเดชัน

1.2 Zn มี ON เปลี่ยนจาก 0 +2 ON เพิ่ม ออกซิเดชัน

1.3 Mo มี ON เปลี่ยนจาก +6 +5 ON ลด รีดกั ชัน

1.4 H มี ON เปลี่ยนจาก 0  -1 ON ลด รีดกั ชัน

1.5 O มี ON เปลี่ยนจาก 0  -2 ON ลด รีดกั ชัน

1.6 C มี ON เพิ่มจาก 0 +2 ออกซิเดชันและ


รีดกั ชัน
S มี ON ลดจาก +6  -2
1.7 S มี ON เพิ่มจาก -2  +1 ออกซิเดชันและ
รีดกั ชัน
Cl มี ON ลดจาก 0  -4
1.8 O มี ON เพิ่มจาก -2  +1 ออกซิเดชัน

1.9 Cu มี ON เพิ่มจาก +1  +2 ออกซิเดชัน

ข้ อ 2 แนวคิด
ข้ อ ตัวออกซิไดซ์ ตัวรีดิวซ์
2.1 Fe3O4 H2
2.2 MnO2 HCl
2.3 K2Cr2O7 S
2.4 Ca3(PO4)2 C
2.5 - -
2.6 KClO3(Cl) KClO3(O)
2.7 - -
2.8 NH4NO2 NH4NO2
2.9 - -
2.10 Br2 Br2

ข้ อ 3.
ข้ อ 3.1 3.2 3.6 3.7 3.8 เป็ นสมการรีดอกซ์
ข้ อ 3.3 3.4 3.5 เป็ นปฏิกิริยานอนรี ดอกซ์

ข้ อ 4.
4.1 MnO4- เป็ นตัวออกซิไดส์ SO32- เป็ นตัวรี ดิวซ์
4.2 NO2 เป็ นตัวออกซิไดส์ H2 เป็ นตัวรีดิวซ์
4.3 H2O2 เป็ นตัวออกซิไดส์ [Fe(CN)6]4- เป็ นตัวรีดิวซ์
4.4 - ปฏิกิริยานอนรีดอกซ์
4.5 F2 เป็ นตัวออกซิไดส์ KI เป็ นตัวรี ดิวซ์
4.6 - ปฏิกิริยานอนรีดอกซ์
4.7 O2 เป็ นตัวออกซิไดส์ HCl เป็ นตัวรีดิวซ์
4.8 Pb ใน PbO2 เป็ นตัวออกซิไดส์ O ใน PbO2 เป็ นตัวรีดิวซ์

5.
ข้ อ
5.1
0 0 +4 -1
S(s) + 2F 2(g) SF 4(g)
ON เปลี่ยนจาก 0 เป็ น -1
ON เปลี่ยนจาก 0 เป็ น 4
5.2
+2 -1 +1 0
2CuSO4 (aq) + 4KI(aq) 2CuI(s) + 2K 2SO4(aq) + I2(s)
ON เปลี่ยนจาก -1 เป็ น 0
ON เปลี่ยนจาก +2 เป็ น +1
5.3
-3 0 +3 -1 -1
NH3(g) + 3Cl2(g) NCl 3(g) + 3HCl(g)
ON เปลี่ยนจาก 0 เป็ น -1
ON เปลี่ยนจาก -3 เป็ น +3
5.4
0 +4 -1 +6
I2(aq) + SO2(aq) + 2H2O(l) 2HI(aq) + H2SO4(aq)
ON เปลี่ยนจาก +4 เป็ น +6
ON เปลี่ยนจาก 0 เป็ น -1
5.5
-2 0 -2 +4 -2
2PbS(s) + 3O 2(g) 2PbO(s) + 2SO 2(g)
ON เปลี่ยนจาก 0 เป็ น -2
ON เปลี่ยนจาก -2 เป็ น +4
ข้ อ 6 แนวคิด
6.1 Ni2+ (aq) + Fe (s)  Ni (s) + Fe2+ (aq) เป็ นปฏิกิริยารีดอกซ์
Ni2+ เป็ นตัวออกซิไดซ์ Fe เป็ นตัวรีดิวซ์
6.2 CaCO3 (s) + 2HCl (aq)  CaCl2 (aq) + H2O (l) + CO2 (g)
เป็ นปฏิกิริยานอนรีดอกซ์ เพราะ ไม่มีธาตุใดเลยที่เลขออกซิเดชันเปลี่ยนแปลง

16.2 การดุลสมการรี ดอกซ์

ปฏิกิริยารี ดอกซ์ เป็ นปฏิกิริยาที่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน โดยมีทงเลขออกซิ


ั้ เดชันลดลงและเพิ่มขึ ้น หรื อเป็ นปฏิกิริยาที่มีการให้ และรับอิเล็กตรอน มี (
)
การถ่ายโอนอิเล็กตรอน ดังนัน้ การดุลสมการของปฏิกิริยารี ดอกซ์ จึงใช้ 2 (
วิธี คือ การใช้ เลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลงไป และใช้ การให้ และรับอิเล็กตรอน หรือ
การใช้ ครึ่งปฏิกิริยา )
การดุลสมการทัว่ ไป เป็ นการทำจำนวนอะตอมของธาตุต่าง ๆ ของสารตั ้งต้ น เท่ากับ จำนวนอะตอมของธาตุต่าง ๆ ของสารผลิตภัณฑ์ หรือ ทำจำนวนอะตอม
ของธาตุตา่ ง ๆ ทางซ้ าย และขวาของสมการให้ เท่ากัน สำหรับปฏิกิริยารี ดอกซ์ นอกจากจะต้ องทำจำนวนอะตอมของธาตุตา่ ง ๆ ทางซ้ ายและขวาให้ เท่ากัน ยังต้ องทำเล
ขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลงไปให้ เท่ากัน หรื อต้ องทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ และรับให้ เท่ากัน และถ้ าเป็ นการดุลสมการไอออนิก ต้ องทำจำนวนประจุทางซ้ ายและขวาให้
เท่ากันอีกด้ วย

16.2.1 การดุลสมการรี ดอกซ์โดยใช้ เลขออกซิเดชัน

การดุลสมการรี ดอกซ์โดยใช้ วิธีเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลง (The Oxidation Number Change Method) เป็ นการดุลสมการของ
ปฏิกิริยารีดอกซ์ โดยทำเลขออกซิเดชันที่ลดลงเท่ากับเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ ้น แล้ ว ทำจำนวนอะตอมของธาตุต่าง ๆ ทางซ้ ายและทางขวาให้ เท่ากัน แต่ถ้าเป็ นสมการไอ
ออนิกต้ องทำค่าประจุรวมทางซ้ าย และทางขวาให้ เท่ากันด้ วย
หลักทัว่ ไปของการดุลสมการรี ดอกซ์โดยวิธีเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลง ดังนี ้
1. เขียนสมการของปฏิกิริยาที่ยงั ไม่ดลุ แสดงเลขออกซิเดชันของธาตุที่เปลี่ยนแปลงไป และ แสดงเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ ้น และลดลงไว้ ข้างล่าง โดยคิดต่อ
้ นที่เป็ นตัวออกซิไดส์หรื อตัวรีดิวซ์นั ้น 1 โมเลกุล
สารตังต้
2. ทำเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ ้นและลดลงให้ เท่ากัน ด้ วยกาคูณไขว้ สลับค่าเลขออกซิเดชันที่เพิ่มขึ ้นและลดลงนัน้
3. ทำจำนวนอะตอมของธาตุมี่เปลี่ยนเลขออกซิเดชัน ทังซ้้ ายและทางขวาให้ เท่ากัน
4. ดุลจำนวนอะตอมของธาตุอื่น ๆ ที่ไม่เปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชันให้ เท่ากัน ถ้ ามี H2O ( H และ O ไม่เปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน) รวมอยู่
ด้ วยให้ ดลุ เป็ นอันดับสุดท้ าย และในการดุล H2O ให้ ทำจำนวนอะตอม H ซ้ ายและขวาให้ เท่ากัน
5. สำหรับสมการไอออนิก เมื่อดุลถึงขันที้ ่ 3 ให้ ดปุ ระจุทงทางซ้
ั้ ้ ่ 4 ต่อ ไป
ายและขวาให้ เท่ากันแล้ วจึงดุลขันที
6. สมการที่ดลุ แล้ ว ต้ องทำเลขสัมประสิทธิ์ข้างหน้ าของสารทุกชนิดเป็ นตัวเลขอย่างต่ำ
ตัวอย่าง จงดุลสมการปฏิกิริยาต่อไปนี ้
MnO2 (s)+KBr(aq)+H2SO4 (aq)  MnSO4 (aq)+K2SO4(aq)+H2O(l) + Br2 (l)
วิธีทำ
ขันที
้ ่ 1 เขียนสมการที่ยงั ไม่ดลุ และเขียนเลขออกซิเดชันของธาตุที่เปลี่ยนแปลงดังนี ้

+4 -1 +2 0
MnO2(s) + KBr(aq) + H 2SO4(aq) MnSO4(aq)+ K2SO4(aq) + H2O(l) + Br2(l)
ON ลดลง = 2
ON เพิ่มขึ้น = 1
2 ลด
1 เพิ่ม
ขันที
้ ่ 2 ทำ ON ที่เพิ่มขึ ้นและลดให้ เท่ากันด้ วยการใช้ คา่ ON คูณไข้ ว
1MnO2(s) + 2KBr(aq) + H2SO4(aq) MnSO4(aq)+ K2SO4(aq) + H2O(l) + Br2(l)

2 1
ขันที
้ ่ 3 ON ทังทางขวาและซ้
ดุลอะตอมของธาตุที่เปลี่ยน
้ ายให้ เท่ากัน

1MnO2 (s)+ 2KBr(aq)+H2SO4 (aq)  1MnSO4 (aq)+K2SO4(aq)+H2O(l) + Br2 (l)

ขันที
้ ่ 4 K ใน KBr เท่ากับ K ใน K2SO4 จึงไม่ต้องเติมตัวเลขใด ๆ หน้ า K2SO4
ดุลอะตอมของธาตุอื่น ๆ ด้ วยการตรวจพินิจ คือ ตรวจ
2-
ส่วนกลุม่ SO 2 กลุม่ จึงต้ องเติมเลข 2 หน้ า H2SO4 ทางด้ านซ้ ายและขวาเท่ากัน ดุล H ใน H2O นับจำนวนอะตอมของ H
4 ทางด้ านขวามี
ทางด้ านซ้ ายในกรด H2SO4 เท่ากับ 4 จึงเติม 2 หน้ า H2O ตรวจจำนวนอะตอมของ O ใน MnO2 และ O ใน H2O พบว่าเท่ากัน ดังนี ้

MnO2 (s)+ 2KBr(aq)+ 2H2SO4 (aq)  MnSO4 (aq)+K2SO4(aq)+2H2O(l) + Br2 (l)


ตรวจนับจำนวนอะตอมของธาตุแต่ละชนิดทางซ้ ายและขวา พบว่าเท่ากันแสดงว่าสมการดุล

ตัวอย่าง
Cr2O3 + Na2CO3 + KNO3  Na2CrO4 + CO2 + KNO2
วิธีทำ
ขันที
้ ่ 1 เขียนสมการที่ยงั ไม่ดลุ และเขียนเลขออกซิเดชันของธาตุที่เปลี่ยนแปลงดังนี ้

+3 +5 +6 +3
Cr2O3 + Na2CO3 + KNO3 Na 2CrO4 + CO2 + KNO2
ON เพิม่ ขึ้น = 2 x 3 = 6
ON ลดลง = 2
2 ลด
1 เพิ่ม

ขันที
้ ่ 2 ทำ ON ที่เพิ่มและลดให้ เท่ากันด้ วยการใช้ คา่ ON คูณไขว้ กนั
2Cr2O3 + Na2CO3 + 6KNO3 Na 2CrO4 + CO2 + KNO2

6 2
ขันที
้ ่ 3 ON ทังทางซ้
ดุลอะตอมของธาตุที่เปลี่ยนแปลง
้ ายและขวาให้ เท่ากัน
Cr ใน Cr2O3 = 4 จึงเติม 4 หน้ า Na2CrO4 เพื่อทำให้ Cr ให้ เท่ากัน และ N ใน KNO3 = 6 เติมเลข 6 หน้ า
KNO2 เพื่อทำ N ให้ เท่ากัน
2Cr2O3 + Na2CO3 + 6KNO3  4Na2CrO4 + CO2 + 6KNO2
้ ่ 4 ดุลอะตอมของธาตุอื่น ๆ ด้ วยการตรวจพินิจ คือ
ขันที
ตรวจ - K ใน KNO3 เท่ากับ KNO2 จึงไม่ต้องเติมตัวเลขใด ๆ หน้ า KNO2
- Na ใน Na2CrO4 = 8 จึงเติมเลข 4 หน้ า Na2CO3 เพื่อทำให้ Na ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
- C ใน Na2CO3 = 4 จึงเติมเลข 4 หน้ า CO2 เพื่อทำให้ C ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
2Cr2O3 + 4Na2CO3 + 6KNO3  4Na2CrO4 + 4CO2 + 6KNO2
ตรวจนับ O ในCr2O3 Na2CO3 และ KNO3 ทางด้ านซ้ ายรวมกัน = 6 + 12 + 18 = 36
O ใน Na2CrO4 CO2 และ KNO2 ทางด้ านขวารวมกัน = 16 + 8 + 12 = 36
ตรวจนับ จำนวนอะตอมของธาตุแต่ละชนิดทางซ้ ายและขวาพบว่า เท่ากัน แสดงว่า สมการดุลแล้ ว

ตัวอย่าง จงดุลสมการของปฏิกิริยานี ้
Cu + HNO3  Cu(NO3)2 + H2O + NO2
วิธีทำ
ขันที
้ ่ 1 เขียนสมการที่ยงั ไม่ดลุ และเขียนเลขออกซิเดชัน ของธาตุที่เปลี่ยนแปลง ดังนี ้

0 +5 +2 +4
Cu + HNO3 Cu(NO 3)2 + H2O + NO2
ON ลดลง = 1
ON เพิ่มขึ้น = 2
ขันที
้ ่ 2 ทำ ON ที่เพิ่มและลดให้ เท่ากัน ด้ วยการใช้ ค่า ON คูณไขว้ กนั

1Cu + 2HNO3 Cu(NO3)2 + H2O + NO2

2 1
ขันที
้ ่ 3 ON ทังทางซ้
ดุลอะตอมของธาตุที่เปลี่ยน้ ายและขวาให้ เท่ากัน
- Cu = 1 เท่ากับ Cu ใน Cu(NO3)2 จึงไม่ต้องเติมเลขใด ๆ หน้ า Cu(NO3)2
- เนื่องจาก N ใน HNO3 = 2 จึงต้ องเติมเลข 2 หน้ า NO2 เพื่อทำให้ N ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
Cu + 2 HNO3  Cu(NO3)2 + H2O + 2NO2
ขันที
้ ่ 4 ดุลอะตอมของธาตุอื่น ๆ ด้ วยการตรวจพินิจ ดังนี ้
N ใน HNO3 ทำให้ เกิด N ใน NO2 ขึ ้นเท่ากันแล้ ว แต่ผลิตภัณฑ์ยงั เกิด NO3- ใน
เนื่องจาก
HNO3 อีกพวกหนึง่ จำนวน 2 หมู่เท่ากันด้ วยคือ
2 HNO3 + Cu + 2 HNO3  Cu(NO3)2 + H2O + 2NO2
ดุล H ใน H2O นับจำนวนอะตอมของ H ทางด้ านซ้ าย = 4 จึงเติมเลข 2 หน้ า H2O จึงจะ
พบว่า H ทังสองข้
้ างเท่ากัน แล้ วเติมกรด HNO3 ทางด้ านซ้ าย = 4

Cu + 4 HNO3  Cu(NO3)2 + 2H2O + 2NO2


ตรวจนับ O ใน HNO3 = 4 x 3 = 12 เท่ากับ O ใน Cu(NO 3)2 H2O และ NO2
= (3 x 2) + 2 + (2 x 2) = 12
ตรวจนับ จำนวนอะตอมของธาตุแต่ละชนิดทางซ้ ายและขวา พบว่าเท่ากัน แสดงว่าสมบัติ
สมการดุล

ตัวอย่าง จงดุลสมการของปฏิกิริยาต่อไปนี ้
KMnO4 + H2O2 + H2SO4  K2SO4 + MnSO4 + H2O + O2
วิธีทำ
ขันที
้ ่ 1 เขียนสมการที่ยงั ไม่ดลุ และเขียนเลขออกซิเดชันของธาตุที่เปลี่ยนแปลงดังนี ้
+7 -1 +2 0
KMnO4 + H2O2 + H2SO4 K2SO4 + MnSO4 + H2O + O2
ON เพิ่มขึ้น = (1) x 2 = 2
ON ลดลง = 5
หมายเหตุ การจับคู่ O ทางซ้ ายและขวาต้ องจับถูกคูด่ ้ วย ถ้ าจับผิดคู่จะดุลไม่ได้

ขันที
้ ่ 2 ทำ ON ที่เพิ่มขึ ้นและลดลงให้ เท่ากัน ด้ วยการใช้ ON คูณไขว้ กนั
2KMnO4 + 5H2O2 + H2SO4 K2SO4 + MnSO4 + H2O + O2

5 2

ขันที
้ ่ 3 ดุลอะตอมของธาตุที่เปลี่ยนแปลง ON ทังทางซ้
้ ายและขวาให้ เท่ากัน
Mn KMnO4 = 2 จึงต้ องเติม 2 หน้ า MnSO4 เพื่อทำให้ Mn ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน เนื่องจาก O ใน H2O2
ใน ไม่
เท่ากับ O ใน O2 จึงต้ องดุลให้ เท่า คือ O ใน H2O2 = 10 ดังนัน้ O ใน O2 ต้ องเท่ากันด้ วยจึงต้ องเติมเลข 5 หน้ า O2 คือ

2KMnO4 + 5H2O2 + H2SO4  K2SO4 + 2 MnSO4 + H2O + 5O2

ขันที
้ ่ 4 ดุลอะตอมของธาตุที่เหลือด้ วยการตรวจพินิจดังนี ้
- K ใน KMnO4 = 2 ซึง่ เท่ากับ K ใน K2SO4 จึงไม่ต้องเติมเลขใด ๆ หน้ า K2SO4
- SO4- ใน K2SO4 และ MnSO4 รวมกัน = 2 จึงเติมเลข 2 หน้ า H2SO4 จะพบว่า SO42- ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
- ดุล H ใน H2O นับจำนวน H ใน H2O2 และ H2SO4 รวมกัน = (5 x 2) + (2 x 3) = 16 จึงเติมตัวเลข 8
ลงหน้ า H 2O
2KMnO4 + 5H2O2 + 3H2SO4  K2SO4 + 2 MnSO4 + 8 H2O + 5O2
ตรวจนับ O ทางด้ านซ้ ายทังหมด
้ = (2 x 4) + (5x 2) + (3 x 4) = 30 ซึง่ เท่ากับ O ทางด้ านขวา ( = 4 +
(4x2) + (8x1) + (5x2) = 30
ตรวจนับ จำนวนอะตอมของธาตุแต่ละชนิดทางซ้ ายและขวาพบว่า เท่ากัน แสดงว่าสมการดุล

16.2.2 การดุลสมการรีดอกซ์โดยใช้ครึ่งปฏิกิริยา
การดุลสมการรี ดอกซ์โดยใช้ วิธีการครึ่งปฏิกิริยา (Half reaction Method) หรื อ วิธีการไอออน - อิเล็กตรอน (Ion-electron
Method) เป็ นวิธีที่ดลุ สมการด้ วยการทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ และรับให้ เท่ากัน สมการที่จะดุลด้ วยวิธีนี ้ต้ องเป็ นสมการไอออนิก ถ้ าไม่เป็ นสมการไอออนิกต้ อง
เปลี่ยนเป็ นสมการไอออนิกก่อน แล้ วจึงดุลได้

หลักการดุลสมการโดยใช้ วิธีการครึ่งปฎิกิริยา
1.ใช้ การเปลี่ยนเลขออกซิเดชันของธาตุ แบ่งส่วนที่ถกู ออกซิไดส์ และถูกรี ดิวซ์ เขียนโครงครึ่งปฏิกิริยาไอออนิกสุทธิ 2 โครง โดยโครงหนึง่ เป็ นส่วนที่ถูก
ออกซิไดส์ และอีกส่วนหนึง่ ถูกรี ดิวซ์
2. ดุลแต่ละครึ่งปฏิกิริยาที่แยกได้
2.1. ดุลอะตอมของธาตุที่ถกู ออกซิไดซ์ และที่ถูกรีดิวซ์ ทังสารตั
้ ้ นและผลิตภัณฑ์ ยกเว้ น O
งต้ และ H ยังไม่ดลุ
2.2 ดุลธาตุออกซิเจนด้ วยการเติมน้ำ (H2O) เติม H2O ลงข้ าวที่มีออกซิเจนน้ อยกว่า
2.3 ในปฏิกิริยาที่เป็ นกรดเติม H+ ลงในข้ างที่มีไฮโดรเจนน้ อยกว่าของสมการ เพื่อดุลอะตอมของ H
2.4. เติมจำนวนอิเล็กตรอนลงในข้ างที่มีประจุมาก จำนวนอิเล็กตรอนที่เติมลงไปเท่ากับผลต่างระหว่างประจุรวมทัง้ 2 ข้ าง
2.5 สำหรับปฏิกิริยาที่เป็ นเบสเมื่อดุลถึงขึ ้นนี ้ถ้ าในสมการมี H+ เกิดขึ ้นไม่วา่ อยู่ทางข้ างซ้ ายหรือขวาให้ ทำลาย H+ ทังหมดด้
้ วยการบวก
+ + + -
OH เข้ าไปในสมการทั ้งข้ างซ้ ายและขวาด้ วยจำนวนเท่ากับจำนวน H นัน้ เพื่อสะเทินกรด (H ) ทังหมดด้ ้ วย OH จะได้ สมการของครึง้ ปฏิกิริยาแบบ
รี ดกั ชันหรือแบบออกซิเดชันที่ดลุ แล้ ว
3. ทำจำนวนอิเล็กตรอนในสมการของปฏิกิริยาออกซิเดชัน และรีดกั ชันให้ เท่ากันแล้ ว นำสมการทังหมดมาบวก
้ อิเล็กตรอนหักล้ างหมดไป จะได้ สมการ
ของปฏิกิริยารี ดอกซ์ที่ดลุ แล้ วตามต้ องการ
ตรวจนับ จำนวนอะตอมของธาตุแต่ละธาตุเท่ากัน และประจุรวมข้ างซ้ าเท่ากับประจุรวมข้ างขวาแสดงสมการสุทธิดลุ

ตัวอย่าง จงดุลสมการของปฏิกิริยานี ้
I2 (s) + S2O32- (aq)  I- (aq) + S4O62- (aq)
วิธีทำ
ขันที
้ ่ 1 ใช้ การเปลี่ยนเลขออกซิเดชันของธาตุแบ่งสว่นที่ถกู ออกซิไดส์และถูกรี ดิวซ์

I2 (s)  I- (aq)
S2O32- (aq)  S4O62- (aq)
ขันที
้ ่ 2 ดุลแต่ละครึ่งปฏิกิริยาที่แยกได้
ดุลอะตอมของธาตุที่เปลี่ยนเลขออกซิเดชัน
I I = 2 จึงเติมเลข 2 หน้ า I- จึงจะทำให้ I ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
ใน 2

I2 (s)  2I- (aq)


S ใน S4O62- (aq)(ทางขวา) = 4 จึงเติมเลข 2 หน้ า S2O32-(aq) จึงจะทำให้ S ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
2S2O32- (aq)  S4O62-(aq
+
สมการทัง้ 2 ไม่ต้องดุล O และ H เพราะเท่ากัน จงไม่ต้องเติม H2O และ H
ดุลประจุ ด้ วยการเติมอิเล็กตรอนลงในข้ างที่มีประจุมาก จำนวนอิเล็กตรอนที่เติมเท่ากับผลต่างระหว่างประจุทงสองข้
ั้ างดังนี ้
2e- + I2 (s)  2I- (aq) …………………. (1)
2S2O3 (aq)  S4O6 (aq + 2e …………………. (2)
2- 2- -

้ ่ 3 เนื่องจากสมการที่ (1) และ (2) ต่างมีอิเล็กตรอนเท่ากัน จึงนำมาบวกกัน อิเล็กตรอนจะหักล้ างกันหมด


ขันที

(1) + (2) ; I2 (s) + 2S2O32- (aq)  2I- (aq) + S4O62- (aq)


ตรวจนับ จำนวนอะตอมของธาตุตา่ ง ๆ และประจุรวมทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน แสดงว่าสมการของปฏิกิริยาดุล

ตัวอย่าง จงดุลสมการของปฏิกิริยาต่อไปนี ้
Fe2+ (aq) + MnO4- (aq) + H+  Fe3+ (aq) + Mn2+ (aq) + H2O (l)
วิธีทำ
ขันที
้ ่ 1 ใช้ การเปลี่ยนเลขออกซิเดชันของธาตุแบ่งส่วนที่ถกุ ออกซิไดส์ และถูกรีดิวซ์

Fe2+ (aq)  Fe3+ (aq)


MnO4- (aq)  Mn2+ (aq)
ขันที
้ ่ 2 ดุลแต่ละครึ่งปฏิกิริยาที่แยกได้
ดุลอะตอมของธาตุที่เปลี่ยนเลขออกซิเดชัน
Fe2+ (aq)  Fe3+ (aq) ไม่ต้องเติมเลขใด ๆ เพราะ Fe ทังสองข้
้ างเท่ากัน

MnO4- (aq)  Mn2+ (aq) ดุล O ดังนี ้


ในสารละลายกรด ดุล O เติม H2O เนื่องจาก O ใน MnO4- = 4 จึงเติม 4H2O ข้ าวขวาขึงจะทำให้ O ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
MnO4- (aq)  Mn2+ (aq)+ 4H2O (l)
+
ดุล H เติม H เนื่องจาก H ใน H2O = 8 ข้ างซ้ ายจึงจะทำให้ H ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน

MnO4- (aq) + 8 H+ (aq)  Mn2+ (aq)+ 4H2O (l)


ดุลประจุต้องเติมอิเล็กตรอนในข้ างที่มีประจุมาก จำนวนอิเล็กตรอนที่เติมเท่ากับผลต่างระหว่างประจุทงสองข้
ั้ าง = (+7) - (+2) = +5 เติม 5
อิเล็กตรอนข้ างซ้ าย ดังนี ้
5e- + MnO4- (aq) + 8 H+ (aq)  Mn2+ (aq)+ 4H2O (l) …………………… (1)
และเติม 1 อิเล็กตรอนข้ างขวาของส่วน Fe  Fe ดังนี ้
2+ 3+

Fe2+ (aq)  Fe3+ (aq) + e- …………………… (2)


้ ่ 3 ทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ และรับให้ เท่ากันโดยสมการ ( 2) คูณ 5 จะได้
ขันที

5Fe2+ (aq)  5Fe3+ (aq) + 5e- …………………… (3)


(1) + (3) ; 5Fe2+ (aq) + MnO4- (aq) + 8H+  5Fe3+ (aq) + Mn2+ (aq) + 4H2O (l)
ตรวจนับ จำนวนอะตอมของธาตุตา่ ง ๆ และประจุรวมทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน แสดงว่า สมการของปฏิกิริยาดุล

ตัวอย่าง จงดุลสมการของปฏิกิริยาต่อไปนี ้
U4+ + H2O + MnO4-  Mn2+ + UO22- + H+
วิธีทำ
ขันที
้ ่ 1 ใช้ การเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน แบ่งเป็ นส่วนที่ถกู ออกซิไดส์และสว่นที่ถกู รี ดิวซ์

U4+  UO22-
MnO4-  Mn2+

ขันที
้ ่ 2 ดุลแต่ละครึ่งปฏิกิริยาที่แยกได้
- ดุลอะตอมของธาตุที่เปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
U4+  UO22- ไม่ต้องเติมเลขใด ๆ เพราะ U ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
MnO4-  Mn2+ ไม่ต้องเติมเลขใด ๆ เพราะ Mn ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
- ในสารละลายกรด ดุล O เติม H2O เนื่องจาก O ใน UO22- = 2 จึงเติม 2H2O ข้ างซ้ ายจึงทำให้ O ทังสองข้
้ างเท่ากัน

U4+ + 2H2O  UO22-

- ดุล H เติม H+ เนื่องจาก H ใน H2O (ข้ างซ้ าย) = 4 จึงเติม 4H+ ข้ างขวาจึงจะทำให้ H ทังสองข้
้ างเท่ากัน

U4+ + 2H2O  UO22- + 4H+

- = 2 จึงต้ องเติม 2 อิเล็กตรอนข้ างขวา ดังนี ้


ดุลประจุ เติมอิเล็กตรอนข้ างที่มีประจุมาก จำนวนอิเล็กตรอนที่เติม

U4+ + 2H2O  UO22- + 4H+ + 2e- ………………….. (1)


- ดุล O ใน MnO4-  Mn2+ O ใน MnO4- = 4 จึงเติม 4H2O ข้ างขวาเพื่อทำให้ O ทังสองข้ ้ างเท่ากัน

MnO4-  Mn2+ + 4H2O

- ดุล H เติม H+ เนื่องจาก H ใน H 2O = 8 จึงเติม 8H+ ทางข้ างซ้ ายเพื่อทำให้ H ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
8H+ + MnO4-  Mn2+ + 4H2O

- = (+8 - 1) - (+2) = 5 ดังนี ้


ดุลประจุ เติมอิเล็กตรอนข้ างซ้ ายจำนวน

5e + 8H + MnO4-  Mn2+ + 4H2O …………………… (2)


- +

3 ทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ และรับให้ เท่ากัน


ขันที
้ ่

(1) x 5 ; 5U4+ + 10H2O  5UO22- + 20 H+ + 10e- …………….. (3)


(2) x 2 ; 10e- + 16H+ + 2 MnO4-  2Mn2+ + 8H2O …………….. (4)
(3)+(4) ; 5U4+ + 10H2O + 16H+ + 2MnO4-  2Mn2+ + 5UO22- + 20 H++
8H2O

H2O ซ้ ายมีจำนวนเท่ากับ 10 และ H2O ทางขวามีจำนวนเท่ากับ 8 หักล้ างเหลือ H2O ทางซ้ ายอีก 2 และ H+ ขวามีจำนวน
+ +
เท่ากับ 20 ส่วน H ซ้ ายมีจำนวนเท่ากับ 16 หักล้ างกันเหลือ 4 ดังนันจึ
้ งเหลือ 4H ทางขวาดังนี ้

5U4+ + 2 H2O + 16H+ + 2MnO4-  2Mn2+ + 5UO22- + 4 H+


ตัวอย่าง จงดุลสมการของปฏิกิริยานี ้
H+(aq) + MnO4- (aq) + C2O42- (aq)  Mn2+ (aq) + H2O (l) + CO2 (g)
วิธีทำ
ขันที
้ ่ 1 ใช้ การเปลี่ยนเลขออกซิเดชัน แบ่งส่วนที่ถูกออกซิไดส์ และส่วนที่รีดิวซ์คือ

MnO4- (aq)  Mn2+ (aq)


C2O42- (aq)  CO2 (g)

ขันที
้ ่ 2 ดุลแต่ละครึ่งปฏิกิริยาที่แยกได้
ดุลอะตอมของธาตุที่เปลี่ยนเลขออกซิเดชัน
MnO4- (aq)  Mn2+ (aq) ไม่ต้องดุลใดเพราะ Mn ทังสองข้ ้ างเท่ากัน

C2O42- (aq)  CO2 (g) เติมเลข 2 หน้ า CO2 เพื่อทำให้ C ทังสองข้


้ างเท่ากัน

- ในสารละลายกรด ดุล O เติม H 2O เนื่องจาก O ใน MnO4- = 4 จึงต้ องเติม 4 H2O ข้ างขวา จึงจะทำให้ O ทัง้ 2 ข้ าง
เท่ากัน
MnO4- (aq)  Mn2+ (aq) + 4 H2O

- ดุล H เติม H+ เนื่องจาก H ใน H2O (ข้ างขวา) = 8 จึงเติม 8H+ ข้ างซ้ าย จึงจะทำให้ H ทัง้ 2 ข้ างเท่ากัน
8H+ + MnO4- (aq)  Mn2+ (aq) + 4 H2O

- ดุลประจุ เติมอิเล็กตรอนข้ างที่มีประจุมาก ประจุข้างซ้ าย = (+8) + (-1) = +7 และประจุข้างขวา = +2 จึงต้ องเติมอิเล็กตรอนข้ างซ้ าย
= (+7) - (-2) = 5 ดังนี ้
5e- + 8H+ + MnO4- (aq)  Mn2+ (aq) + 4 H2O ……………….. (1)
- ดุล O ใน C2O42-  2CO2 O ใน C2O42- = 4 เท่ากับ O ใน CO2 จึงไม่ต้องเติม H2O และ H+ ประจุใน
ข้ างซ้ าย = -2 ส่วนประจุข้างขวา = 0 เติมอิเล็กตรอนข้ างขวา = 0 - (-2) = 2 ดังนี ้

C2O42- (aq)  2 CO2 (g) + 2e- ……………….. (2)

ขันที
้ ่ 3 ทำจำนวนอิเล็กตรอนที่ให้ และรับเท่ากัน

(1) x 2 ; 10e- + 16H+ + 2MnO4- (aq)  2Mn2+ (aq) + 8 H2O ……….. (3)
(2) x 5 ; 5C2O42- (aq)  10CO2 (g) + 10e- ……….. (4)
(3) + (4) ; 16H+(aq) + 2MnO4- (aq) + 5C2O42- (aq)  2Mn2+ (aq) + 8H2O (l) + 10 CO2 (g
การคำนวณเกี่ยวกับสมการของปฏิกิริยารี ดอกซ์

0.8765 g ถูกละลายในสารละลาย HCl และเหล็กละลายเป็ น Fe2+ แล้ วนำสารละลายนี ้ไปไทเทรตพอดีกบั สารละลาย


ตัวอย่าง แร่เหล็กตัวอย่างหนัก
K2Cr2O7 0.04212 mol / dm3 จำนวน 29.43 ml จงหาร้ อยละโดยมวลของ Fe ในแร่ตวั อย่างนี ้
Fe2+ + H+ + Cr2O72-  Fe3+ + Cr3+ + H2O
วิธีทำ
(กำหนดมวลอะตอมของ Fe = 55.8)
ดุลสมการรี ดอกซ์ดงั นี ้
6 Fe2+ + 14H+ + Cr2O72-  6Fe3+ + 2Cr3+ + 7 H2O
ใช้ X g 29.43 ml

หาจำนวนโมลของ Cr2O72- ที่ใช้ ไทเทรตกับ Fe2+ จะได้


2-
สารละลาย K2Cr2O7 1000 ml มี Cr2O7 = 0.04212 mol
อยู่
2-
ในสารละลาย 29.43 ml จะมี Cr2O7 อยู่ = (0.04212 x 29.43) / 1000 mol
= 1.24 x 10-3 mol
และจำนวนโมลของ Fe2+ ที่ทำปฏิกิริยาพอดีกบั Cr2O72- = 55X.8 mol
จากสมการที่ดลุ แล้ วจะได้ วา่
โมลของ Fe 2  6
โมลของ Cr2 O 72 -
= 1
X 6
55.8 = 1
1.24 x 10 -3
X = 6 x 1.24 x 10-3 x 55.8
X = 0.415 g
มวลของ Fe = 0.415 g
ในแร่เหล็กหนัก
แร่เหล็กตัวอย่าง 0.8765 g มีแร่เหล็กหนัก = 0.415
แร่เหล็กตัวอย่าง 100 g มี Fe หนัก =
0.415 X 100 = 47.35 g
0.8765

ร้ อยละโดยมวลของ Fe ในแร่เหล็กตัวอย่างนี ้ = 47.35 g


แบบทดสอบที่ 16.4
1. จงดุลสมการรี ดอกซ์ด้วยวิธีใช้ เลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลง
1.1 Al + NaOH + NaHSO4  Al2O3 + H2O + Na2S
1.2 K2Cr2O7 + HCl  CrCl3 + Cl2 + H2O + KCl
1.3 (NH4)2Cr2O7  Cr2O3 + N2 + H2O
1.4 Pb(NO3)2  PbO + NO2 + O2

2.จงดุลสมการต่อไปนี ้ด้ วยวิธีครึ่งปฏิกิริยา


2.1 Fe(CN6)4- + H+ + MnO4-  Fe2+ + CO2 + NO3- + Mn2+ + H2O
2.2 Cu3P + H+ + Cr2O72-  Cu2+ + H3PO4 + Cr3+ + H2O
2.3 Cro42- + H2O + HSnO22-  CrO2- + OH- + HSnO3-
2.4 MnO4- + H2O + NO2-  MnO2 + NO3- + OH-

3.จงดุลสมการของปฏิกิริยาต่อไปนี ้โดยใช้ วิธีครึ่งปฏิกิริยา


3.1 Zn + NO3-  Zn2+ + N2 (สารละลายกรด)
3.2 Zn + NO3-  Zn2+ + NH3 (สารละลายเบส)
3.3 P4  PH3 + HPO32- (สารละลายกรด)
3.4 P4  PH3 + HPO32- (สารละลายเบส)

เฉลยแบบทดสอบที่ 16.4
1.
1.1 8 Al + 3NaOH + 3NaHSO4  4 Al2O3 + 3H2O + 3Na2S
1.2 K2Cr2O7 + 14HCl  2CrCl3 + 3Cl2 + 7H2O + 2 KCl
1.3 (NH4)2Cr2O7  Cr2O3 + N2 + 4H2O
1.4 2Pb(NO3)2  2 PbO + 4 NO2 + O2
2.
2.1 30H2O + Fe(CN6)4-  Fe2+ + 6CO2 + 6NO3- + 60H+ + 61e-
MnO4- + 8H+ + 5e-  Mn2+ + 4H2O
5Fe(CN6)4- + 188 H+ + 61 MnO4-  5Fe2+ + 30CO2 + 30 NO3- + 61Mn2+ + 94 H2O
2.2 4H2O + Cu3P  3Cu2+ + H3PO4 + 5H+ + 11e-
6e- + 16H+ + Cr2O72-  2Cr3+ + 7H2O
6Cu3P + 124H+ + 11Cr2O72-  18Cu2+ + 6 H3PO4 + 22 Cr3+ + 53H2O
2.3 3e- + 4H+ + Cro42-  CrO2- + 2H2O
H2O + HSnO22-  HSnO3- + 2H+ + 2e-
8H+ + 2Cro42- + 3H2O + 3HSnO22-  2CrO2- + 4H2O + 6H+ + 3HSnO3-
2H+ + 2Cro42- + 3HSnO22-  2CrO2- + H2O + 3HSnO3-
2.4 MnO4- + 2H2O + 3e-  MnO2 + 4 OH-
NO2- + 2 OH-  NO3- + H2O + 2e-
2MnO4- + 4H2O + 3NO2- + 6 OH-  2MnO2 + 3NO3- + 8OH- + 3H2O
2MnO4- + H2O + 3NO2-  2MnO2 + 3 NO3- + 2OH-

3.แนวคิด
3.1 Zn  Zn2+ + 2e-
2NO3- + 12H+ + 10e-  N2+ 6H2O
5Zn + 2NO3- + 12H+  5Zn2+ + N2 + 6H2O

3.2 Zn  Zn2+ + 2e-


NO3- + 6H2O + 8e-  NH3+ 9OH-
4Zn + NO3- + 6H2O  4Zn2+ + NH3+ 9OH-
3.3 12H+ + P4 + 12e-  4 PH3
P4 + 12H2O  4HPO32- + 20H+ +12e-
12H+ + 2 P4 + 12H2O  4 PH3 + 4HPO32- + 20H+
2 P4 + 12H2O  4 PH3 + 4HPO32- + 8H+
3.4 P4 + 12H2O + 12e-  4 PH3 + 12OH-
P4 + 12H2O + 20 OH-  4HPO32- + 20H2O + 12e-
P4 + 20 OH-  4HPO32- + 8H2O +12e-
P4 + P4 + 12H2O + 20 OH-  4 PH3 + 4HPO32- + 8H2O + 12OH-
2 P4 + 4H2O + 8OH-  4 PH3 + 4HPO32-

You might also like