You are on page 1of 24

แผนการสอนประจาสั ปดาห์ ที่ 2

เรื่ อง เคมีไฟฟ้า

หัวข้อเรื่ อง
1. เลขออกซิเดชัน
2. ปฏิกิริยารี ดอกซ์
3. เซลล์ไฟฟ้าเคมี
4. ส่วนประกอบสาคัญของเซลล์กลั วานิ ก
5. ศักย์ไฟฟ้ารี ดกั ชันมาตรฐาน
6. ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์
7. แผนภาพของเซลล์กลั วานิก

รายละเอียด
เคมีไฟฟ้าเป็ นการกล่าวถึงเรื่ องปฏิกิริยาเคมีที่เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้า โดยปฏิกิริยาเคมีน้ ี เรี ยกว่า
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ซ่ ึงมีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนระหว่างสาร และแยกออกเป็ น 2 ปฏิกิริยาย่อย คือ ปฏิกิริยา
ออกซิเดชัน และปฏิกิริยารี ดกั ชัน ในส่ วนเซลล์ไฟฟ้านั้นจะประกอบด้วยขั้วไฟฟ้าและอิเล็กโทรไลต์ โดย
ขั้วไฟฟ้าที่เกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันเรี ยกว่าแอโนด และขั้วไฟฟ้าที่เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชันเรี ยกว่า แคโทด ซึ่ง
เซลล์ไฟฟ้าสามารถแสดงได้ดว้ ยแผนภาพเซลล์ ทั้งนี้ความรู ้เกี่ยวกับเซลล์ไฟฟ้าสามารถนาไปใช้ในการ
ป้องกันการกัดกร่ อนของโลหะได้

เนื้อหาที่สอน
เคมีไฟฟ้า (electrochemistry) นับเป็ นสาขาของเคมีที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงระหว่างพลังงาน
ไฟฟ้าและพลังงานเคมี แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
1) กระบวนการที่ เกิ ดขึ้ นได้เอง (spontaneous process) เป็ นกระบวนที่ มี ก ารปลดปล่อยพลัง งาน
ไฟฟ้าออกจากปฏิกิริยาเคมีโดยกระบวนการนี้สามารถเกิดขึ้นได้เอง
2) กระบวนการที่ เ กิ ด ขึ้ น เองไม่ ไ ด้( non-spontaneous process) เป็ นกระบวนการที่ ต้อ งมี ก ารให้
พลังงานไฟฟ้าเพื่อทาให้เกิดปฏิกิริยาขึ้นจึงทาให้กระบวนการนี้ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้
ทั้งนี้ เคมีไฟฟ้าจะเกี่ยวข้องกับการถ่ายเทของอิเล็กตรอนในขณะเกิดปฏิกิริยาเคมี ทาให้ก่อนที่จะ
ศึกษาเคมีไฟฟ้าจึงต้องมีความเข้าใจในเบื้องต้นเกี่ยวกับเลขออกซิเดชันและปฏิกิริยารี ดอกซ์ซ่ ึงเป็ นปฏิกิริยาที่
มีการให้และการรับอิเล็กตรอน
และในบทเรี ย นนี้ จะกล่ า วเน้ น ในเรื่ อ งเซลล์กัล วานิ ก ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ปฏิ กิ ริ ย าเคมี ที่ ท าให้ เ กิ ด
กระแสไฟฟ้าขึ้น

1. เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิ เดชัน (oxidation number) หรื อสถานะออกซิ เดชัน (oxidation state) คือ ตัวเลขที่แสดง
ค่าความเป็ นประจุของ 1 อะตอม โดยหลักเกณฑ์ในการกาหนดเลขออกซิเดชัน มีดงั ต่อไปนี้
I. อะตอมของธาตุต่างๆในสภาวะอิสระมีเลขออกซิเดชัน เป็ น 0
คาว่า “สภาวะอิสระ” หมายถึง อะตอมของธาตุ ที่สามารถอยู่ได้ดว้ ยตนเอง ไม่ได้อยู่ร่วมกับอะตอมของธาตุ
อื่น เช่น Zn เป็ นธาตุที่อยู่ไ ด้ด้วยตนเองเพีย ง 1 อะตอม Cl2 เป็ นธาตุที่อยู่ไ ด้ด้วยตนเองโดยมี 2 อะตอม
เป็ นต้น

ธาตุใน เลขออกซิเดชัน ธาตุใน เลขออกซิเดชัน ธาตุใน เลขออกซิเดชัน


สภาวะอิสระ ของอะตอม สภาวะอิสระ ของอะตอม สภาวะอิสระ ของอะตอม
Zn Zn = 0 Cl2 Cl = 0 P4 P = 0
Ag Ag = 0 H2 H = 0 S8 S = 0

II. ไอออนที่มีอะตอมเดี่ยว มีเลขออกซิเดชันเท่ากับประจุของไอออนนั้น


คาว่า “ไอออนที่มีอะตอมเดี่ยว” หมายถึง อะตอมของธาตุ จานวน 1 อะตอม ที่มีประจุบวกหรื อประจุลบ เช่น
Na+ เป็ นไอออนของธาตุเพียง 1 อะตอม ดังนั้นเลขออกซิ เดชันจึงเท่ากับประจุของไอออน คือ ให้ค่า = +1
ในขณะที่ I3_ เป็ นไอออนของธาตุจานวน 3 อะตอม ดังนั้นเลขออกซิ เดชันจึงเท่ากับประจุของไอออนเพียง 1
อะตอม ซึ่งให้ค่า = -1/3

ไอออนที่มี เลขออกซิเดชัน ไอออนที่มี เลขออกซิเดชัน ไอออนที่มี เลขออกซิเดชัน


อะตอมเดี่ยว ของอะตอม อะตอมเดี่ยว ของอะตอม อะตอมเดี่ยว ของอะตอม
Na+ Na = +1 S2- S = -2 Hg22+ Hg = +1
Al3+ Al = +3 Ba2+ Ba = 0 I3_ I = -1/3

III. เลขออกซิ เดชันของโลหะอัล คาไลน์ (หมู่ 1A) และโลหะอัล คาไลน์เอิ ร์ท (หมู่ 2A) ใน
สารประกอบ มีค่าเท่ากับ +1 และ +2 ตามลาดับ
โลหะอัลคาไลน์ (หมู่ 1A) ประกอบด้วย Li, Na, K, Rb, Cs และ Fr
โลหะอัลคาไลน์เอิร์ท (หมู่ 2A) ประกอบด้วย Be, Mg, Ca, Sr, Ba และ Ra
สารประกอบ เลขออกซิเดชัน สารประกอบ เลขออกซิเดชัน สารประกอบ เลขออกซิเดชัน
ที่มีโลหะหมู่ ของอะตอม ที่มีโลหะหมู่ ของอะตอม ที่มีโลหะหมู่ ของอะตอม
1A หรื อ 2A 1A หรื อ 2A 1A หรื อ 2A
ร่ วมด้วย ร่ วมด้วย ร่ วมด้วย
NaCl Na = +1 Li3PO4 Li = +1 Mg3(PO4)2 Mg = +2
K2SO4 K = +1 CaCl2 Ca = +2 BaSO4 Ba = +2

ตัวอย่าง NaCl เป็ นสารประกอบ ที่ประกอบด้วยอะตอมของ Na กับอะตอมของ Cl โดย Na เป็ นโลหะอัล


คาไลน์ (หมู่ 1A) จึงทาให้มีเลขออกซิเดชันเท่ากับ +1
IV. ส่วนใหญ่เลขออกซิเดชันของออกซิเจนในสารประกอบ มีค่าเท่ากับ -2 เช่น
CaO เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2
FeO เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2
N2O เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2
NaHCO3 เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2
ยกเว้น 4.1) สารประกอบเปอร์ออกไซด์ เช่น
H2O2 เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -1
Na2O2 เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -1
4.2) สารประกอบซุปเปอร์ออกไซด์ เช่น
KO2 เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -1/2
OF2 เลขออกซิเดชันของอะตอม O = +2
V. ส่วนใหญ่เลขออกซิเดชันของไฮโดรเจนในสารประกอบมีค่าเท่ากับ +1 เช่น
NH3 เลขออกซิเดชันของอะตอม H = +1
H4P2O7 เลขออกซิเดชันของอะตอม H = +1
Mg(OH)2 เลขออกซิเดชันของอะตอม H = +1
NaOH เลขออกซิเดชันของอะตอม H = +1
ยกเว้น สารประกอบไฮไดรด์ไอออนิก เช่น
LiAlH4 เลขออกซิเดชันของอะตอม H = -1
NaBH4 เลขออกซิเดชันของอะตอม H = -1
RbH เลขออกซิเดชันของอะตอม H = -1
NaBH4 เลขออกซิเดชันของอะตอม H = -1
VI. ในสารประกอบที่เป็ นกลางพบว่าผลบวกของเลขออกซิเดชันทั้งหมดจะมีค่าเป็ นศูนย์ ซึ่งใน
กรณี น้ ีมกั ใช้หาเลขออกซิเดชันของอะตอมของธาตุที่ไม่ได้อยูใ่ นหลักเกณฑ์ในการกาหนดเลขออกซิเดชัน
ตัวอย่าง KMnO4
การหาเลขออกซิเดชันของอะตอม Mn
KMnO4 มี 3 อะตอม คือ K Mn O
โดย เลขออกซิเดชันของอะตอม K = +1 (K มี 1 อะตอม)
และ เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2 (O มี 4 อะตอม)
ดังนั้นเลขออกซิเดชันของ Mn ยังไม่ทราบค่า (จึงได้กาหนดให้เลขออกซิเดชันของ Mn = X)
จากหลักเกณฑ์ : ในสารประกอบที่เป็ นกลางพบว่าผลบวกของเลขออกซิเดชันทั้งหมดจะมีค่าเป็ นศูนย์
แทนค่า K + Mn + 4O = 0
(+1) + (X) + 4(-2) = 0
X -7 = 0
X = +7
ดังนั้น เลขออกซิเดชันของอะตอม K = +1
เลขออกซิเดชันของอะตอม Mn = +7
เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2
ตัวอย่าง Na2C2O3
การหาเลขออกซิเดชันของอะตอม C
Na2C2O3 มี 3 อะตอม คือ Na C O
โดย เลขออกซิเดชันของอะตอม Na = +1 (Na มี 2 อะตอม)
และ เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2 (O มี 3 อะตอม)
ดังนั้นเลขออกซิเดชันของ C ยังไม่ทราบค่า (จึงกาหนดให้เลขออกซิเดชันของ C = X เมื่อ C มี 2 อะตอม)
จากหลักเกณฑ์ : ในสารประกอบที่เป็ นกลางพบว่าผลบวกของเลขออกซิเดชันทั้งหมดจะมีค่าเป็ นศูนย์
แทนค่า 2Na + 2C + 3O = 0
2(+1) + 2(X) + 3(-2) = 0
2X - 4 = 0
X = +2
ดังนั้น เลขออกซิเดชันของอะตอม Na = +1
เลขออกซิเดชันของอะตอม C = +2
เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2
VII. ในกลุ่มอะตอมที่เป็ นไอออน ผลรวมของเลขออกซิเดชันจะเท่ากับประจุที่แสดงนั้น
ตัวอย่าง NO3-
วิธีการหาเลขออกซิเดชันของอะตอม N
เมื่อ NO3- มี 2 อะตอม คือ N O และผลรวมของเลขออกซิเดชัน = -1
โดย เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2
ทั้งนี้ ต้องการหาเลขออกซิเดชันของ N (กาหนดให้เลขออกซิเดชันของ N = X)
แทนค่า (X) + 3(-2) = -1
X = +5
ดังนั้น เลขออกซิเดชันของอะตอม N = +5
เลขออกซิเดชันของอะตอม O = -2
ตัวอย่างที่ 15.1
ให้หาเลขออกซิเดชันของทุกอะตอมต่อไปนี้
ก. KClO3 ข. P4 ค. K2Cr2O7 ง. C2O32-
วิธีทา
ก. KClO3
สารประกอบนี้มี 3 อะตอม คือ K Cl O และผลรวมของเลขออกซิเดชัน = 0
แทนค่า K Cl O
+1 + X + 3(-2) = 0
X–5 = 0
X = +5
ดังนั้น เลขออกซิเดชันของอะตอม K ใน KClO3 = +1 #
เลขออกซิเดชันของอะตอม Cl ใน KClO3 = +5 #
เลขออกซิเดชันของอะตอม O ใน KClO3 = -2 #
ข. P4
ธาตุอิสระ เป็ นธาตุที่ไม่ได้อยูร่ ่ วมกับธาตุอื่น ซึ่ง P4 คือ ธาตุอิสระ
ดังนั้น เลขออกซิเดชันของอะตอม P ใน P4 = +1 #
ค. K2Cr2O7
สารประกอบนี้มี 3 อะตอม คือ K Cr O และผลรวมของเลขออกซิเดชัน = 0
แทนค่า K Cr O
2(+1) + 2X + 7(-2) = 0
2X - 12 = 0
X = +6
ดังนั้น เลขออกซิเดชันของอะตอม K ใน K2Cr2O7 = +1 #
เลขออกซิเดชันของอะตอม Cr ใน K2Cr2O7 = +6 #
เลขออกซิเดชันของอะตอม O ใน K2Cr2O7 = -2 #
ง. C2O32-
ไอออนนี้มี 2 อะตอม คือ C O และผลรวมของเลขออกซิเดชัน = -2
แทนค่า C O
2X + 3(-2) = - 2
2X – 6 = -2
X = +2
ดังนั้น เลขออกซิเดชันของอะตอม C ใน C2O32- = +2 #
เลขออกซิเดชันของอะตอม O ใน C2O32- = -2 #

2. ปฏิกริ ิยารีดอกซ์
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ (redox reaction) เป็ นปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอนหรื อกล่าวว่าเป็ นปฏิกิริยาที่มี
การให้และการรับอิเล็กตรอน ทั้งนี้ ปฏิกิริยารี ดอกซ์ประกอบด้วย 2 ปฏิกิริยาย่อย คือ ปฏิกิริยาออกซิ เดชัน
(oxidation reaction) และปฏิกิริยารี ดกั ชัน (reduction reaction) จึงทาให้ปฏิกิริยารี ดอกซ์เรี ยกอีกชื่ อหนึ่ งว่า
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รี ดกั ชัน
ปฏิกิริยาออกซิ เดชัน เป็ นปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน หรื อปฏิกิริยาที่สารมีเลขออกซิ เดชัน
เพิ่ ม ขึ้ น เกิ ด ขึ้ น ที่ ข้ ัว แอโนด ซึ่ ง สารที่ เ กิ ด ในปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชัน จะถู ก เรี ย กว่า ตัว รี ดิ ว ซ์ (reducer หรื อ
reducing agent หรื อ reductant) แสดงว่าถูกออกซิไดซ์
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน เป็ นปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน หรื อปฏิกิริยาที่สารมีเลขออกซิเดชันลดลง
เกิ ดขึ้นที่ ข้ วั แคโทด ซึ่ งสารที่เกิดในปฏิกิริยารี ดักชันจะถูกเรี ยกว่า ตัวออกซิ ไดซ์ (oxidiser หรื อ oxidizing
agent หรื อ oxidant) แสดงว่าถูกรี ดิวซ์
ตัวอย่างปฏิกิริยารี ดอกซ์
Mg(s) + 2HCl (aq) → MgCl2(aq) + H2(g) ……..1)
เลขออกซิเดชัน Mg = 0 H = +1 Mg = +2 H = 0
สมการ 1) เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์ เพราะ อะตอมของธาตุตวั เดิม มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
กล่าวคือ Mg มีเลขออกซิเดชันเปลี่ยนไปจาก 0 เป็ น +2 (เลขออกซิเดชันเพิม่ ขึ้น) ดังนั้น Mg จึงถูก
เรี ยกว่า ตัวรี ดิวซ์
H มีเลขออกซิเดชันเปลี่ยนไปจาก +1 เป็ น 0 (เลขออกซิเดชันลดลง) ดังนั้น HCl จึงถูก
เรี ยกว่า ตัวออกซิไดซ์
ตัวอย่างที่ไม่ใช่ปฏิกิริยารี ดอกซ์
NaOH(aq) + HCl (aq) → NaCl (aq) + H2O (l) ……..2)
เลขออกซิเดชัน Na = +1 H = +1 Na = +1 H = +1
สมการ 2) ไม่ใช่ปฏิกิริยารี ดอกซ์ เพราะ อะตอมของธาตุตวั เดิม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน
กล่าวคือ Na มีเลขออกซิเดชันคงเดิม คือ +1
H มีเลขออกซิเดชันคงเดิม คือ +1
ตัวอย่างที่ 15.2
กาหนด 4NH3(g) + 5O2(g) → 4NO(g) + 6H2O(g)
ก. ให้หาเลขออกซิเดชันของทุกอะตอม
ข. ปฏิกิริยาที่กาหนดให้เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์หรื อไม่
ค. สารใดเป็ นตัวออกซิไดซ์ และสารใดเป็ นตัวรี ดิวซ์
วิธีทา
4NH3(g) + 5O2(g) → 4NO(g) + 6H2O(g)
เลขออกซิเดชัน N = -3 H = +1 O=0 N = +2 O = -2 H = +1 O = -2 #

N มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น จาก -3 เปลี่ยนเป็ น +2 แสดงว่า NH3 ทาหน้าที่เป็ นตัวรี ดิวซ์ #


O มีเลขออกซิเดชันลดลง จาก 0 เปลี่ยนเป็ น -2 แสดงว่า O2 ทาหน้าที่เป็ นตัวออกซิไดซ์ #
ดังนั้นปฏิกิริยานี้เป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์ เพราะมีการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน #

3. เซลล์ไฟฟ้าเคมี
จากที่ได้กล่าวในหัวข้อเรื่ อง ปฏิกิริยารี ดอกซ์วา่ เป็ นปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอนและแยกเป็ น 2
ปฏิกิริยาย่อย คือ ปฏิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยารี ดกั ชัน และจากภาพที่ 15.1 สามารถอธิบายการถ่ายเท
อิเล็กตรอนได้อย่างง่ายๆ กล่าวคือ เมื่อนาแผ่นโลหะ Zn จุ่มลงในสารละลาย CuSO4 (มีไอออนของ Cu2+ และ
SO42- ) ซึ่งเป็ นสารละลายสี ฟ้า (รู ปด้านซ้าย) จะพบว่าแผ่นโลหะ Zn จะมีโลหะ Cu เคลือบอยูแ่ ละแผ่นโลหะ
Zn จะสึ กกร่ อน (รู ปด้านขวา) จึงเขียนสมการของปฏิกิริยารี ดอกซ์ที่เกิดขึ้นได้ดงั นี้

ภาพที่ 15.1 การสึ กกร่ อนของ


Zn ในสารละลาย CuSO4
ที่มา : Silberberg M. S. 2013 : 711

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e- ……..3)


ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) ……..4)
รวมเป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์ Zn(s) + Cu2+(aq) → Zn2+(aq) + Cu(s) ……..5)
ทั้ง นี้ ก ารถ่ า ยเทอิ เล็ก ตรอนที่ มี ก ารให้อิเล็ก ตรอน (เกิ ดขึ้ นในปฏิ กิ ริย าออกซิ เดชัน) และการรั บ
อิเล็กตรอน (เกิดขึ้นในปฏิกิริยารี ดกั ชัน) นี้ จะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าขึ้นจากปฏิกิริยารี ดอกซ์น้ ี โดยเรี ยก
เซลล์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นนี้วา่ เซลล์กลั วานิก (galvanic cell) ซึ่งเป็ นการเกิดกระแสไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมี
เซลล์ไฟฟ้าเคมี แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ เซลล์กลั วานิ ก และเซลล์อิเล็กโทรไลต์ มีรายละเอียดดังนี้
เซลล์กลั วานิก
เซลล์กลั วานิ ก เป็ นเซลล์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยารี ดอกซ์ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น หรื อกล่าวว่า
ปฏิกิริยาเคมีทาให้เกิดพลังงานไฟฟ้าขึ้น ทั้งนี้ เซลล์กลั วานิ กจะแยกออกเป็ น 2 ส่ วนเพื่อไม่ให้เกิดการสัมผัส
กันโดยตรง จึงประกอบด้วยสองครึ่ งเซลล์ (half cell) ที่ครึ่ งเซลล์หนึ่ งเกิดปฏิ กิริยาออกซิ เดชันและอีกครึ่ ง
เซลล์หนึ่ งเกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน โดยใช้โลหะเป็ นขั้วไฟฟ้าอิเล็กโตรด (electrode) จุ่มในสารละลายของโลหะ
ไอออนนั้น เช่น โลหะ Zn จุ่มในสารละลาย Zn2+ ซึ่งอาจเป็ นสารละลาย Zn(NO3)2 , ZnSO4 เป็ นต้น ขั้วไฟฟ้า
ที่ใช้อาจเป็ นขั้วเฉี่ อย เช่น แพลตินัมหรื อแกรไฟต์แทนได้ และมีการเชื่อมวงจรภายในให้ครบวงจรโดยใช้
สะพานไอออนต่อไว้ระหว่างสารละลายในแต่ละครึ่ งเซลล์
เซลล์กลั วานิกที่ใช้กนั ในเชิงพาณิชย์ มีอยู่ 2 ประเภท คือ
1) เซลล์ปฐมภูมิ (primary cell) เป็ นเซลล์กัลวานิ กที่สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้ าออกได้ทนั ที
หากมีการนาไปใช้แล้วกระแสไฟฟ้าจะหมดไปและไม่สามารถนากลับคืนมาเป็ นสภาพเดิมได้อีก หรื อกล่าว
ว่าไม่สามารถนากลับมาอัดไฟเพื่อใช้อีกครั้ งได้ ดังนั้นเมื่ อใช้จนกระทัง่ กระแสไฟฟ้ าหมดแล้วจะต้องทิ้ง
เซลล์ชนิ ดนี้ ตัวอย่างของเซลล์ปฐมภูมิ เช่น เซลล์ถ่านไฟฉาย เซลล์แอลคาไลน์ เซลล์ปรอท เซลล์เชื้อเพลิง
เป็ นต้น
2) เซลล์ทุติยภูมิ (secondary cell) เป็ นเซลล์กลั วานิ กที่สร้างเสร็ จแล้วจะถูกนาไปอัดไฟก่ อน
แล้วจึงนาไปใช้เพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้ า และหากมีการนาไปใช้แล้วกระแสไฟฟ้ าจะหมดไปบางส่ วนแล้ว
สามารถทาให้กลับสู่ สภาพเดิมได้อีกโดยการนาเซลล์ทุติยภูมิน้ ี ไออัดไฟใหม่ ตัวอย่างของเซลล์ทุติยภูมิ เช่น
เซลล์สะสมไฟฟ้าแบบตะกัว่ เซลล์นิเกิล-แคดเมียม เซลล์โซเดียม-ซัลเฟอร์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (electrolytic cell) เป็ นเซลล์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็ นพลังงานเคมี หรื อ
กล่า วว่า ใช้ไ ฟฟ้ า ท าให้เกิ ดปฏิ กิ ริย าเคมี ซึ่ ง เกิ ดขึ้ นจากการผ่า นกระแสไฟฟ้ า เข้า ไปในเซลล์แล้ว ท าให้
เกิ ดปฏิ กิริยาเคมี ข้ ึน เซลล์อิเล็กโทรไลต์น้ ี จะเกิ ดขึ้นกับปฏิ กิริยาเคมี ที่เกิ ดขึ้นเองไม่ได้ (non-spontaneous
reaction) ตัวอย่างเซลล์อิเล็กโทรไลต์ เช่น เซลล์แยกน้ าด้วยไฟฟ้า การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า

4. ส่ วนประกอบสาคัญของเซลล์กลั วานิก
จากที่กล่าวมาแล้วว่าเซลล์กลั วานิคประกอบด้วยครึ่ งเซลล์ปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่ งเซลล์
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน โดยมีข้วั ไฟฟ้าโลหะจุ่มในสารละลายของโลหะไอออน และมีการเชื่อมวงจรให้ครบวงจร
ด้วยสะพานไอออน ดังนั้นจึงขอกล่าวรายละเอียดส่ วนประกอบที่สาคัญของเซลล์กลั วานิก ดังนี้
ขั้วไฟฟ้า
ขั้วไฟฟ้าที่ใช้ในเซลล์ไฟฟ้าแบ่งออกเป็ น 2 ขั้ว ได้แก่ ขั้วแอโนด (anode) หรื อขั้วลบ เป็ นขั้วไฟฟ้าที่
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน และขั้วแคโทด (cathode) หรื อขั้วบวก เป็ นขั้วที่เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน โดยที่ข้ วั ไฟฟ้า
ที่ใช้ในเซลล์กลั วานิคแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ ขั้วที่วอ่ งไวต่อปฏิกิริยา และขั้วที่ไม่วอ่ งไวในปฏิกิริยา
1) ขั้วที่ว่องไวต่อปฏิกิริยา (active electrode) เป็ นขั้วที่มีส่วนร่ วมในปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น เช่น
โลหะ Zn เมื่อเกิดปฏิกิริยาออกซิ เดชันจะให้อิเล็กตรอน เกิดเป็ น Zn2+ เป็ นต้น ตัวอย่างขั้วโลหะที่ใช้ เช่ น
โลหะ Zn, Cu, Pb เป็ นต้น
2) ขั้วที่ไม่ว่องไวในปฏิกิริยา (inert electrode) เป็ นขั้วที่ไม่เกิดปฏิกิริยาร่ วมใดๆ ขึ้น ซึ่ งปกติ
ขั้วโลหะที่ใช้ คือ แพลตินัม (Pt) หรื อ คาร์ บอนชนิ ดแกรไฟต์ (C ) ขั้วไฟฟ้ าชนิ ดนี้ จะทาหน้าที่เป็ นทางให้
อิเล็กตรอนไหลผ่านเข้าหรื อออกได้โดยไม่มีปฏิกิริยากับไอออนในสารละลายของโลหะไอออน
สารละลายอิเล็กโทรไลต์
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ เป็ นสารละลายที่อยูใ่ นสถานะของเหลว นาไฟฟ้าได้ และมีไอออน
เคลื่อนที่ไปมาอยูใ่ นสารละลาย ทั้งนี้สารละลายอิเล็กโทรไลต์ที่ใช้ควรคานึงถึงขั้วไฟฟ้าด้วย เพราะขั้วไฟฟ้า
โลหะจะต้องไม่เกิดปฏิกิริยากับสารละลาย ดังนั้นปกติเมื่อใช้ข้วั โลหะใดก็จะเลือกใช้สารละลายของโลหะ
ไอออนชนิดเดียวกัน เช่น ใช้ข้วั ไฟฟ้าของโลหะ Zn ก็จะใช้สารละลาย ZnSO4 หรื อ ใช้ข้วั ไฟฟ้าของโลหะ Zn
ก็จะใช้สารละลาย Zn(NO3)2 เป็ นต้น
สะพานเกลือ
สะพานเกลือ (salt bridge) หรื อเรี ยกว่า สะพานไอออน (ion bridge) คือ อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมวงจร
ภายในของแต่ละครึ่ งเซลล์ให้ครบวงจร ซึ่งปกติจะใช้หลอดรู ปตัวยู (U tube) คว่าในขณะใช้งานจริ งโดย
ภายในจะบรรจุวนุ ้ (gel) ที่ผสมสารละลายอิ่มตัวของเกลือและปลายทั้ง 2 ข้างปิ ดด้วยสาลีหรื อใยแก้ว ทั้งนี้
อาจใช้กระดาษสี ขาวหรื อเชือกขาวจุ่มในสารละลายอิ่มตัวของเกลือแทนหลอดรู ปตัวยูได้
หน้าที่หลักที่สาคัญของสะพานเกลือ คือ ทาให้วงจรสมบูรณ์และมีการไหลของกระแสเกิดขึ้น
นอกจากนี้แล้วยังป้ องกันการสะสมประจุในครึ่ งเซลล์ท้ งั สอง และยังมีหน้าที่รักษาสมดุลของไอออนของ
สารละลายอิเล็กโทรไลต์ในแต่ละครึ่ งเซลล์ เพื่อทาให้ประจุในแต่ละครึ่ งเซลล์สมดุลกัน โดยไอออนลบของ
สะพานเกลือจะดุลประจุบวกที่เกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน และไอออนบวกของสะพานเกลือจะดุลประจุลบ
ที่เกิดจากปฏิกิริยารี ดกั ชัน
สมบัติของเกลือที่ใช้ทาเป็ นสะพานเกลือ
1) ต้องเป็ นสารละลายอิ่มตัว ประกอบด้วยปริ มาณไอออนจานวนมาก
2) เป็ นสารประกอบไอออนิกที่ละลายน้ าได้ดี และแตกตัวได้ 100 %
3) ไอออนบวกและไอออนลบที่ได้จากการแตกตัวต้องไม่ทาปฏิกิริยาเคมีใดๆ กับสารละลายของแต่
ละครึ่ งเซลล์
4) ไอออนบวกและไอออนลบที่แตกตัวนั้น ควรมีขนาดที่ใกล้เคียงกันและมีอตั ราการไหลหรื อมี
ความสามารถในการเคลื่อนที่ได้ใกล้เคียงกัน เพื่อลดความต่างศักย์ระหว่างรอยต่อของของเหลว
5) เกลือที่ใช้ทาสะพานเกลือ ได้แก่ KNO3, KCl, NaCl, NH4Cl, K2SO4, NH4NO3
กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
หน่วยในการวัดกระแสไฟฟ้า คือ แอมแปร์ (ampere, A) โดยหนึ่งแอมแปร์คือปริ มาณประจุไฟฟ้า
(ในหน่วยคูลอมบ์) ต่อวินาที เขียนแทนด้วย 1A = 1C/s แต่เนื่องาจากอิเล็กตรอนมีประจุเท่ากับ 1.602 x
10-19 คูลอมบ์ ดังนั้น 1A จะเป็ นการไหลของ 6.242 x 1018 อิเล็กตรอนต่อวินาที
หลักการสาคัญที่ทาให้เกิดการเคลื่อนของกระแสไฟฟ้า คือ การเกิดความแตกต่างของประจุที่
ขั้วไฟฟ้าบวกและขั้วไฟฟ้าลบ ซึ่งก็คือ มีความต่างศักย์เกิดขึ้น ในทางฟิ สิ กส์พบว่าความต่างศักย์เป็ นการวัด
ความแตกต่างของพลังงานศักย์( ในหน่วยของจูล) ต่อหนึ่งหน่วยประจุ (ในหน่วยของคูลอมบ์) และหน่วย
เอสไอได้กาหนดให้ความต่างศักย์เป็ น โวลท์ (volt, V) ซึ่งก็คือ หนึ่งจูลต่อหนึ่งคูลอมบ์ เขียนแทนด้วย 1 V =
1 J/C
ดังนั้นถ้าความแตกต่างของประจุระหว่างขั้วไฟฟ้าทั้งสองมีมากแล้วความต่างศักย์ไฟฟ้าก็จะมาก ซึ่ง
ความต่างศักย์น้ ีจะเรี ยกว่า แรงเคลื่อนไฟฟ้า (electromotive force, emf)
ในเซลล์กลั วานิกนี้ความต่างศักย์ระหว่างสองขั้วไฟฟ้า คือ ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ (cell potentizl, Ecell)
หรื อ แรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ (cell emf)
โดยหลักการทางทฤษฎีจะพบว่าค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ข้ นึ อยูก่ บั 3 ปัจจัยสาคัญ คือ 1) ความเข้มข้น
ของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ในเซลล์ 2) อุณหภูมิ และ 3) ความดัน
แต่ที่สภาวะมาตรฐาน ซึ่งได้กาหนดให้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นเท่ากับ 1 M อุณหภูมิ 25 oC และ
ความดันของแก๊สที่ 1 atm ทาให้ศกั ย์ไฟฟ้าของเซลล์ถูกเรี ยกว่า ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์มาตรฐาน (standard cell
potential, Eocell)

5. ศักย์ไฟฟ้ารีดักชันมาตรฐาน
ศักย์ไฟฟ้ารี ดกั ชันมาตรฐาน (standard reduction potential) แทนด้วย Eo เป็ นค่าที่แสดงถึง
ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนของครึ่ งเซลล์เมื่อเปรี ยบเทียบกับศักย์ไฟฟ้าครึ่ งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน
โดยขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน (standard hydrogen electrode, SHE) หรื อครึ่ งเซลล์ไฮโดรเจน
มาตรฐาน เป็ นครึ่ งเซลล์ที่นกั วิทยาศาสตร์ได้กาหนดไว้เพื่อใช้ในการเปรี ยบเทียบและกาหนดค่าศักย์ไฟฟ้า
ของครึ่ งเซลล์อื่น ๆ จากภาพที่ 15.2 ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐานประกอบด้วยแผ่นแพลทินมั (Pt) จุ่มอยู่
ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก (HCl) เข้มข้น 1 M มีแก๊ส H2 ที่มีความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 25
0
C ผ่านลงไปในสารละลายที่ผิวแพลตินมั ตลอดเวลา ปฏิกิริยาครึ่ งเซลล์ของขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน
ได้ถูกกาหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่ งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐานเท่ากับศูนย์โวลต์ ดังสมการ
2H+(1 M) + 2e- → H2( 1 atm) Eo = 0 V
จึงทาให้ใช้ข้วั ไฮโดรเจนมาตรฐานนี้ เป็ นครึ่ งเซลล์ที่จะ
นาไปต่อเข้ากับขั้วอื่นๆ ที่ยงั ไม่ทราบค่าศักย์ไฟฟ้า จนทาให้
ได้ศกั ย์ไฟฟ้ารี ดกั ชันมาตรฐานของครึ่ งเซลล์ปฏิกิริยารี ดกั ชัน
ตามตารางที่ 15.1

ภาพที่ 15.2 ครึ่ งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน

ตัวอย่างการหาศักย์ไฟฟ้าจากการเปรี ยบเทียบกับขั้วไฮโดรเจนมาตรฐาน
เมื่อพิจารณาภาพที่ 15.3 พบว่า Zn ถูกออกซิไดซ์เป็ น Zn2+ (เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน) และ H+ ถูก
รี ดิวซ์เป็ น H2 (เกิดปฏิกิริยารี ดักชัน) ที่ส ภาวะมาตรฐาน เขีย นได้เป็ นสมการ 6) และสมการ 7)

ตามลาดับ โดยที่ ทิศ ทางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเป็ นการเคลื่อนที่จากขั้วแอโนด (ขั้วที่เกิดปฏิกิริยา


ออกซิเดชัน) ไปยัง ขั้วแคโทด (ขั้วที่เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน ) ทาให้ Eocell คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้ว
แคโทดกับขั้วแอโนด เขียนได้เป็ นสมการ 8) และอ่านค่าศักย์ไฟฟ้าได้ 0.76 โวลต์
ภาพที่ 15.3 การวัดค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้า Zn(s) + 2H+(1 M) → Zn2+(aq) + H2( 1 atm)
ที่มา : Brown et al., 2012.

ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e- ……….6)


ปฏิกิริยารี ดกั ชัน คือ 2H+(1 M) + 2e- → H2( 1 atm) ……….7)
E0 = E0cathode - E0anode ……….8)
พบว่า 0.76 = 0.00 - E0anode
E0anode = - 0.76 V
ดังนั้น ค่า E0 ของ Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s) จึงเท่ากับ -0.76 V (ดังตารางที่ 15.1 ซึ่งเป็ นตัวอย่างค่า
ศักย์ไฟฟ้ารี ดกั ชันมาตรฐานของครึ่ งเซลล์ปฏิกิริยารี ดกั ชันที่ 25 oC)
ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงได้กาหนดให้ค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่ งเซลล์ที่เป็ นฝ่ ายรับอิเล็กตรอนจาก SHE
มีค่าเป็ นบวก และค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่ งเซลล์ที่เป็ นฝ่ ายให้อิเล็กตรอนจาก SHE มีค่าเป็ นลบ ดังตัวอย่างค่า
ศักย์ไฟฟ้ารี ดกั ชันมาตรฐานของครึ่ งเซลล์ในตารางที่ 15.1
ตารางที่ 15.1 ตัวอย่างค่าศักย์ไฟฟ้ารี ดกั ชันมาตรฐานของครึ่ งเซลล์ปฏิกิริยารี ดกั ชันที่ 25 oC
ครึ่งเซลล์ปฏิกริ ิยารีดักชัน ค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันมาตรฐาน : Eo (โวลต์)
Li+ (aq) + e- → Li (s) -3.05
Al3+ (aq) + 3e- → Al (s) -2.37
Zn2+ (aq) + 2e- → Zn (s) -0.76
2H+(aq) + 2e- → H2(s) 0.00
Cu2+(aq) + 2e- → Cu (s) +0.34
ครึ่งเซลล์ปฏิกริ ิยารีดักชัน ค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชันมาตรฐาน : Eo (โวลต์)
Ag+(aq) + e- → Ag (s) +0.80
F2 + 2e- → 2F- (aq) +2.87

ข้อควรทราบในตารางที่ 15.1
I. ครึ่ งเซลล์ปฏิกิริยาจะพบเฉพาะในปฏิกิริยารี ดกั ชันเท่านั้น ตัวออกซิไดซ์จึงอยูด่ า้ นซ้าย
ตัวรี ดิวซ์จึงอยูด่ า้ นขวา (เพราะเลขออกซิเดชันมีค่าที่สูงกว่าไอออนหรื อธาตุที่พบในด้านขวา)
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Ag+ + e- → Ag
ตัวออกซิไดซ์ ตัวรี ดิวซ์
II. ครึ่ งเซลล์ปฏิกิริยารี ดกั ชันสามารถผันกลับเป็ นครึ่ งเซลล์ปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ โดยค่า
ศักย์ไฟฟ้ารี ดกั ชันมาตรฐานจะมีเครื่ องหมายที่ตรงกันข้าม คือ จากเครื่ องหมายบวกจะกลายเป็ นเครื่ องหมาย
ลบ หรื อจากเครื่ องหมายลบจะกลายเป็ นเครื่ องหมายบวก แต่ตวั เลขยังคงเดิม
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Ag+ + e- → Ag E0 = 0.80 V
เมื่อผันกลับให้เป็ นปฏิกิริยาออกซิเดชัน
จะได้เป็ น Ag → Ag+ + e- E0 = - 0.80 V
III. ถึงแม้วา่ E0 ของปฏิกิริยาออกซิเดชันจะมีเครื่ องหมายที่ตรงกันข้ามกับ E0 ของปฏิกิริยารี ดกั ชัน
แต่การคานวณค่าศักย์ไฟฟ้าในสมการ E0 = E0cathode - E0anode นี้ ค่า E0cathode และ E0anode เป็ นค่าศักย์ไฟฟ้า
มาตรฐานของครึ่ งเซลล์ปฏิกิริยารี ดกั ชันเสมอ โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนเครื่ องหมายแต่อย่างใด
IV. เมื่อมีการคูณเลขสัมประสิ ทธิ์ของสมการของครึ่ งเซลล์แล้วจะไม่มีการคูณค่าศักย์ไฟฟ้า
มาตรฐานของครึ่ งเซลล์น้ นั แต่จะใช้ค่าเดิม เช่น
Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) E0 = + 0.34 V
หากมีการใช้ 2 เป็ นตัวคูณแล้ว
2Cu2+(aq) + 4e- → 2Cu(s) E0 = + 0.34 V
V.ค่าศักย์ไฟฟ้ารี ดกั ชันมาตรฐาน (E0 ) ยิง่ เป็ นค่าบวกมาก แสดงว่า ไอออนหรื อธาตุน้ นั เป็ นตัว
ออกซิไดซ์ที่แรง เช่น
Cu2+ + 2e- → Cu E0 = + 0.34 V
Ag2+ + e- → Ag E0 = + 0.80 V
F2 + 2e- → 2F- E0 = + 2.87 V
ดังนั้น ลาดับความแรงของตัวออกซิไดซ์จากมากไปหาน้อยคือ F2 > Ag2+ > Cu2+
VI. ค่าศักย์ไฟฟ้ารี ดกั ชันมาตรฐาน (E0 ) ยิง่ เป็ นค่าน้อย แสดงว่า ไอออนหรื อธาตุน้ นั เป็ นตัวรี ดิวซ์ที่
แรง เช่น
Cu2+ + 2e- → Cu E0 = + 0.34 V
Ag2+ + e- → Ag E0 = + 0.80 V
F2 + 2e- → 2F- E0 = + 2.87 V
ดังนั้นลาดับความแรงของตัวรี ดิวซ์จากมากไปหาน้อยคือ Cu > Ag > F-
ตัวอย่างที่ 15.3
เมื่อนาครึ่ งเซลล์ของ Ag/Ag+ ไปต่อกับครึ่ งเซลล์ของ Pt/H2/H+ พบว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนเข้าหาขั้ว Ag
และอ่านค่าศักย์ไฟฟ้าได้ 0.80 โวลต์ ให้หาค่า E0 ของ Ag+(aq) + e- → Ag(s)
วิธีทา
หากเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนเข้าหาขั้ว Ag แสดงว่า ขั้ว Ag เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน (รับ e-)
จึงทาให้ ครึ่ งเซลล์ของ Pt/H2/H+ เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน (ให้ e-) ซึ่งครึ่ งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐานมีค่า
เท่ากับ 0 V
E0 = E0reduction - E0oxidation
แทนค่า 0.80 = E0reduction - 0
E0reduction = 0.80
ดังนั้น ค่า E0 ของ Ag+(aq) + e- → Ag(s) เท่ากับ 0.80 V #
6. ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์
ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์มาตรฐาน (standard cell potential, Eocell) คือความแตกต่างระหว่างศักย์ไฟฟ้า
ของขั้วแคโทดกับขั้วแอโนด ที่สภาวะมาตรฐาน ซึ่งสามารถหาได้จากสู ตร ต่อไปนี้
Eocell = E0cathode - E0anode
Eocell = E0reduction - E0oxidation
Eocell = E0สูง - E0ต่า
ข้อควรทราบเกี่ยวกับค่า Eocell
I. การหาค่า Eocell เป็ นการนาเอาสองครึ่ งเซลล์มาต่อเข้าด้วยกัน โดยครึ่ งเซลล์หนึ่ง
เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันและอีกครึ่ งเซลล์หนึ่งเกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน
II. การหาค่า Eocell เป็ นการทานายปฏิกิริยารี ดอกซ์ที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous reaction) ดังนี้
- ถ้าค่า Eocell ที่คานวณได้มีค่าเป็ นบวก แสดงว่า ปฏิกิริยาสามารถเกิดขึ้นในทิศทางที่เขียนไว้
และหากได้ค่าที่เป็ นบวกมาก แสดงว่าเกิดผลิตภัณฑ์ได้มาก
- ถ้าค่า Eocell ที่คานวณได้มีค่าเป็ นลบ แสดงว่า ปฏิกิริยาไม่สามารถเกิดขึ้นตามทิศทางที่เขียน

ตัวอย่างที่ 15.4
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ของ Zn(s) + Cu2+(aq) → Zn2+(aq) + Cu (s) ดังภาพที่ 15.4 ให้หา
ก. ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์
ข. โลหะที่ทาหน้าที่เป็ นขั้วแอโนด
ค. โลหะที่ทาหน้าที่เป็ นขั้วแคโทด

ภาพที่ 15.3 เซลล์กลั วานิกของ


Zn(s) + Cu2+(aq) → Zn2+(aq) + Cu (s)
ที่มา : Silberberg M. S. 2013 : 716

วิธีทา
Zn(s) + Cu2+(aq) → Zn2+(aq) + Cu (s)
ก. จากปฏิกิริยารี ดอกซ์ทาให้แยกครึ่ งปฏิกิริยาได้และเมื่อเปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานจะเขียนสมการ
ได้ดงั นี้
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e- E0 = - 0.76 V
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) E0 = + 0.34 V
E0 = E0reduction - E0oxidation
E0 = + 0.34 - ( - 0.76)
E0 = + 1.10 V #
ข. จากปฏิกิริยารี ดอกซ์ที่โจทย์กาหนดให้ และการเปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน ทาให้พบว่า Zn มีค่า
E0 ต่ากว่า Cu จึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน ดังนั้นโลหะที่ทาหน้าที่เป็ นขั้วแอโนด คือ Zn
ค. จากปฏิกิริยารี ดอกซ์ที่โจทย์กาหนดให้ และการเปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน ทาให้พบว่า Cu มีค่า
E0 สูงกว่า Zn จึงเกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน ดังนั้นโลหะที่ทาหน้าที่เป็ นขั้วแคโทด คือ Cu

ตัวอย่างที่ 15.5
ให้หาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์จากปฏิกิริยารี ดอกซ์ต่อไปนี้
ก. Mg(s) + 2Ag+(aq) → Mg2+(aq) + 2Ag(s)
ข. Zn(s) + Cl2(g) → Zn2+(aq) + 2Cl-(aq)
ค. Sn2+(aq) + 2Fe3+(aq) → Sn4+(aq) + 2Fe2+(aq)
วิธีทา
ก. Mg(s) + 2Ag+(aq) → Mg2+(aq) + 2Ag(s)
จากปฏิกิริยารี ดอกซ์ ทาให้แยกครึ่ งปฏิกิริยาได้ และเมื่อเปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานจะเขียนสมการได้ดงั นี้
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Mg(s) → Mg2+(aq) + 2e- E0 = - 2.36 V
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน 2Ag+(aq) + 2e- → 2Ag(s) E0 = + 0.80 V
E0 = E0reduction - E0oxidation
E0 = + 0.80 - ( - 2.36)
E0 = + 3.16 V #
ข. Zn(s) + Cl2(g) → Zn2+(aq) + 2Cl-(aq)
จากปฏิกิริยารี ดอกซ์ ทาให้แยกครึ่ งปฏิกิริยาได้ และเมื่อเปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานจะเขียนสมการได้ดงั นี้
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e- E0 = - 0.76 V
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Cl2(g) + 2e- → 2Cl-(aq) E0 = + 1.36 V
E0 = E0reduction - E0oxidation
E0 = + 1.36 - ( - 0.76)
E0 = + 2.12 V #
ค. Sn2+(aq) + 2Fe3+(aq) → Sn4+(aq) + 2Fe2+(aq)
จากปฏิกิริยารี ดอกซ์ ทาให้แยกครึ่ งปฏิกิริยาได้ และเมื่อเปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานจะเขียนสมการได้ดงั นี้
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Sn2+(aq) → Sn4+(aq) + 2e- E0 = + 0.15 V
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน 2Fe3+(aq) + 2e- → 2Fe2+(aq) E0 = + 0.77 V
E0 = E0reduction - E0oxidation
E0 = + 0.77 - ( + 0.15)
E0 = + 0.62 V #
ตัวอย่างที่ 15.6
เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่ประกอบด้วย Cd-electrode ในสารละลาย 1.0 M Cd(NO3)2 และ Cr-electrode ใน
สารละลาย 1.0 M Cr(NO3)3 มีค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานเป็ นเท่าไร
วิธีทา
เปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน ได้สมการและค่า E0 คือ
Cd2+(aq) + 2e- → Cd(s) E0 = - 0.40 V
Cr3+(aq) + 3e- → Cr(s) E0 = - 0.74 V
สมการที่ให้ค่า E0 สูง จะเกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน ซึ่งสามารถกาหนดปฏิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยารี ดกั ชัน
ได้เป็ น
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Cr(s) → Cr3+(aq) + 3e- E0 = - 0.74 V
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Cd2+(aq) + 2e- → Cd(s) E0 = - 0.40 V
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ 2Cr(s) + 3Cd2+(aq) → 2Cr3+(aq) + 3Cd(s)
E0 = E0reduction - E0oxidation
E0 = - 0.40 - (- 0.74)
E0 = + 0.34 V #
ตัวอย่าง 15.7
Sn สามารถรี ดิวส์ Zn2+ ภายใต้สภาวะมาตรฐานได้หรื อไม่ และปฏิกิริยาสามารถเกิดขึ้นเองได้หรื อไม่
วิธีทา
เปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานเพื่อหาค่าศักย์ไฟฟ้าของดีบุกและสังกะสี ทาให้ได้สมการดังนี้
Sn2+ (aq) + 2e- → Sn(s) E0 = - 0.14 V
Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s) E0 = - 0.76 V
เมื่อพิจารณาค่า E0 บอกได้ว่า Sn2+ (aq) รับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า Zn2+(aq) เพราะค่า E0 สูงกว่า จึงทาให้ Sn ไม่
สามารถรี ดิวซ์ Zn2+ ได้ในสภาวะมาตรฐาน
โดยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e- E0 = - 0.76 V
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน คือ Sn2+ (aq) + 2e- → Sn(s) E0 = - 0.14 V
E0 = E0reduction - E0oxidation
E0 = - 0.14 - ( - 0.76)
E0 = + 0.62 V
ค่า Eocell ที่คานวณได้มีค่าเป็ นบวก แสดงว่า ปฏิกิริยาสามารถเกิดขึ้นเองได้ #
ตัวอย่าง 15.8
ให้เรี ยงลาดับความแรงของ oxidizing agent จากมากไปน้อย ของ Co3+, Ag+, Sn2+, Al3+, MnO4-
กาหนดครึ่ งปฏิกิริยารี ดกั ชันและ E0 มาให้ตามตาราง
ครึ่งปฏิกริ ิยารีดักชัน E0 (V)
Al3+(aq) + 3e- → Al(s) -1.66
Sn2+(aq) + 2e- → Sn (s) -0.14
Ag+(aq) + e- → Ag(s) +0.80
MnO4-(aq) + 8H+(aq) + 5e- → Mn2+(aq) + 4H2O +1.51
Co3+(aq) + e- → Co2+(aq) +1.82
วิธีทา
หลักการ : พิจารณาค่า E0 ที่มาก จะเป็ นตัวออกซิไดซ์ที่แรงที่สุด ดังนั้นลาดับความแรงของตัวออกซิไดซ์ คือ
Co3+ > MnO4- > Ag+ > Sn2+ > Al3+ #

7. แผนภาพของเซลล์กลั วานิก
แผนภาพของเซลล์กลั วานิกเป็ นการเขียนสัญลักษณ์แสดงส่วนประกอบของเซลล์กลั วานิก ซึ่งมี
หลักการเขียนแผนภาพ ดังนี้
1. เขียนครึ่ งเซลล์ของปฏิกิริยาออกซิเดชันไว้ทางซ้ายมือ โดยเขียนขั้วไฟฟ้าไว้ทางซ้ายสุด ตาม
ด้วยไอออนในสารละลาย และใช้เส้นเดี่ยว ( / ) ขีดคัน่ ระหว่างขั้วไฟฟ้ากับไอออนในสารละลาย เช่น Zn(s)
/ Zn2+(aq)
2. เขียนครึ่ งเซลล์ของปฏิกิริยารี ดกั ชันไว้ทางขวามือ โดยเขียนไอออนในสารละลายก่อน ขีดคัน่
ด้วยเส้นเดี่ยว ( / ) แล้วตามด้วยขั้วไฟฟ้าทางขวาสุ ด เช่น Cu2+(aq) / Cu(s)
3. สาหรับครึ่ งเซลล์ที่ประกอบด้วยโลหะกับแก๊ส ให้ระบุความดันของแก๊ส และเขียนเส้นเดี่ยว
ขีดคัน่ ระหว่างโลหะกับแก๊สและระหว่างแก๊สกับไอออนในสารละลาย เช่น Pt(s) / H2(g, 1 atm) /
H+(aq) ในกรณี เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน หรื อ H+(aq) / H2(g, 1 atm)/ Pt(s) ในกรณีเกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน
4. ให้ใช้เส้นคู่ขนาน ( // ) แทนสะพานไอออนกั้นระหว่างครึ่ งเซลล์ท้ งั สอง
5. ถ้าต้องระบุความเข้มข้นของไอออนในสารละลาย หรื อสถานะของสาร ให้เขียนไว้ในวงเล็บ
เช่น Zn(s) / Zn2+(0.1 M) // H+(0.1 M) / H2(g, 1 atm) / Pt(s)
6. สาหรับครึ่ งเซลล์ที่มีสารสถานะเดียวกันมากกว่าหนึ่งชนิด ให้ใช้เครื่ องหมายจุลภาค (,) คัน่
ระหว่างไอออนทั้งสอง เช่น Fe(s) / Fe2+(aq), Fe3+(aq) // Cu2+(aq) / Cu(s)
ตัวอย่างการเขียนแผนภาพเซลล์กลั วานิก
Zn(s) / Zn2+(aq) // H+(1 M) / H2(g, 1 atm) / Pt(s)
ขั้วแอโนด (ขั้วลบ) ขั้วแคโทด (ขั้วบวก)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e-
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน คือ 2H+(1 M) + 2e- → H2( 1 atm)
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ คือ Zn(s) + 2H+(1 M) → Zn2+(aq) + H2( 1 atm)
ขั้วไฟฟ้าปฏิกิริยาออกซิเดชันหรื อขั้วลบคือ Zn(s)
ขั้วไฟฟ้าปฏิกิริยารี ดกั ชันหรื อขั้วบวกคือ Pt(s)
Fe(s) / Fe2+(aq) // Cl-(1 M) / Cl2(g, 1 atm) / Pt(s)
ขั้วแอโนด (ขั้วลบ) ขั้วแคโทด (ขั้วบวก)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ Fe(s) → Fe2+(aq) + 2e-
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน คือ Cl2(g) + 2e- → 2Cl-(aq)
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ คือ Fe(s) + Cl2(g) → Fe2+(aq) + 2Cl-(aq)
ขั้วไฟฟ้าปฏิกิริยาออกซิเดชันหรื อขั้วลบคือ Fe(s)
ขั้วไฟฟ้าปฏิกิริยารี ดกั ชันหรื อขั้วบวกคือ Pt(s)
Be(s) /Be2+ (aq) / / Sn2+(aq) /Sn(s)
ขั้วแอโนด (ขั้วลบ) ขั้วแคโทด (ขั้วบวก)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ Be (s) → Be2+(aq) + 2e-
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน คือ Sn2+(aq) + 2e- → Sn (s)
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ คือ Be (s) + Sn2+(aq) → Be2+(aq) + Sn (s)
ขั้วไฟฟ้าปฏิกิริยาออกซิเดชันหรื อขั้วลบ คือ Be(s)
ขั้วไฟฟ้าปฏิกิริยารี ดกั ชันหรื อขั้วบวกคือ Sn (s)
Cu(s) /Cu2+ (aq) / /Fe3+(aq), Fe2+(aq) /Pt(s)
ขั้วแอโนด (ขั้วลบ) ขั้วแคโทด (ขั้วบวก)
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ Cu (s) → Cu2+(aq) + 2e-
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน คือ 2Fe3+(aq) + 2e- → 2Fe2+(aq)
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ คือ Cu (s) + 2Fe3+(aq) → Cu2+(aq) + 2Fe2+(aq)
ขั้วไฟฟ้าปฏิกิริยาออกซิเดชันหรื อขั้วลบคือ Cu (s)
ขั้วไฟฟ้าปฏิกิริยารี ดกั ชันหรื อขั้วบวกคือ Pt(s)
ตัวอย่างที่ 15.9
ให้หาค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์จากแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าต่อไปนี้
ก. Ni(s)/Ni2+(aq)//Cu+(aq)/Cu(s)
ข. Fe(s)/Fe2+(aq)//Ag+(aq)/Ag(s)
ค. Mg(s)/Mg2+(aq)//Fe3+(aq), Fe2+(aq)/Pt(s)
วิธีทา
ก. Ni(s)/Ni2+(aq)//Cu+(aq)/Cu(s)
จากแผนภาพเซลล์ไฟฟ้า บอกได้วา่ Ni เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน และ Cu+ เกิดปฏิกิริยารี ดกั ชัน
เมื่อเปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานจะเขียนสมการได้ดงั นี้
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Ni(s) → Ni2+(aq) + 2e- E0 = - 0.23 V
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Cu+(aq) + e- → Cu(s) E0 = + 0.52 V
E0 = E0reduction - E0oxidation
E0 = + 0.52 - ( - 0.23)
E0 = + 0.75 V #
ข. Fe(s)/Fe2+(aq)//Ag+(aq)/Ag(s)
จากแผนภาพเซลล์ไฟฟ้า บอกได้วา่ Fe เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน และ Ag+ เกิดปฏิกิริยา
รี ดกั ชัน เมื่อเปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานจะเขียนสมการได้ดงั นี้
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Fe(s) → Fe2+(aq) + 2e- E0 = - 0.44 V
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Ag+(aq) + e- → Ag(s) E0 = + 0.80 V
E0 = E0reduction - E0oxidation
E0 = + 0.80 - ( - 0.44)
E0 = + 1.24 V #
ค. Mg(s)/Mg2+(aq)//Fe3+(aq), Fe2+(aq)/Pt(s)
จากแผนภาพเซลล์ไฟฟ้า บอกได้วา่ Mg เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน และ Fe3+ เกิดปฏิกิริยา
รี ดกั ชัน เมื่อเปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานจะเขียนสมการได้ดงั นี้
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Mg(s) → Mg2+(aq) + 2e- E0 = - 2.36 V
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Fe3+ (aq) + e- → Fe2+ (aq) E0 = + 0.77 V
E0 = E0reduction - E0oxidation
E0 = + 0.77 - ( - 2.36)
E0 = + 3.13 V #
ตัวอย่าง 15.10
ภาชนะที่ทาด้วยเหล็กสามารถนามาบรรจุสารละลายทิน (II)คลอไรด์ (SnCl2) หรื อไม่ เพราะเหตุใด
วิธีทา
เปิ ดตารางศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานเพื่อหาค่าศักย์ไฟฟ้าของเหล็กและดีบุก ทาให้ได้สมการดังนี้
Sn2+ (aq) + 2e- → Sn(s) E0 = - 0.14 V
Fe2+(aq) + 2e- → Fe(s) E0 = - 0.44 V
เมื่อพิจารณาค่า E0 บอกได้ว่า Sn2+ (aq) รับอิเล็กตรอนได้ดีกว่า Fe2+(aq) เพราะค่า E0 สูงกว่า จึงทาให้ Fe(s)
เสี ยอิเล็กตรอนได้ง่ายกว่า Sn(s) ดังนั้นจึงไม่ควรบรรจุสารละลาย SnCl2 ในภาชนะที่ทาด้วยเหล็ก เพราะ
Fe(s) เสี ยอิเล็กตรอนให้แก่ Sn2+ (aq) ซึ่งจะส่งผลให้ภาชนะเหล็กมีการผุกร่ อนได้ แสดงปฏิกิริยารี ดอกซ์ได้
ดังนี้
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน Fe(s) → Fe2+(aq) + 2e-
ปฏิกิริยารี ดกั ชัน Sn2+ (aq) + 2e- → Sn(s)
ปฏิกิริยารี ดอกซ์ Fe(s) + Sn2+ (aq) → Fe2+(aq) + Sn(s) #

สรุปสาระที่สาคัญ
1. เคมีไฟฟ้า เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงระหว่างพลังงานไฟฟ้าและพลังงานเคมี แบ่งได้ 2 ประเภท
คือ กระบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง (spontaneous process) เป็ นกระบวนที่มีการปลดปล่อยพลังงาน
ไฟฟ้าออกจากปฏิกิริยาเคมีโดยกระบวนการนี้สามารถเกิดขึ้นได้เอง และกระบวนการที่เกิดขึ้นเอง
ไม่ได้(non-spontaneous process) เป็ นกระบวนการที่ตอ้ งมีการให้ พลังงานไฟฟ้าเพื่อทาให้
เกิดปฏิกิริยาขึ้นจึงทาให้กระบวนการนี้ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้
2. เลขออกซิเดชันเป็ นตัวเลขที่แสดงค่าความเป็ นประจุของ 1 อะตอม
3. ปฏิกิริยารี ดอกซ์เป็ นปฏิกิริยาที่มีการถ่ายเทอิเล็กตรอน ประกอบด้วย 2 ปฏิกิริยาย่อย คือ ปฏิกิริยา
ออกซิเดชัน (oxidation reaction) และปฏิกิริยารี ดกั ชัน (reduction reaction)
4. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน เป็ นปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน หรื อปฏิกิริยาที่สารมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น
เกิ ด ขึ้ น ที่ ข้ ัว แอโนด ซึ่ ง สารที่ เ กิ ด ในปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชัน จะถู ก เรี ย กว่า ตัว รี ดิ ว ซ์ (reducer หรื อ
reducing agent หรื อ reductant) แสดงว่าถูกออกซิไดซ์
5. ปฏิกิริยารี ดักชัน เป็ นปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็ก ตรอน หรื อปฏิกิริยาที่สารมีเลขออกซิ เดชันลดลง
เกิ ดขึ้ นที่ ข้ วั แคโทด ซึ่ ง สารที่ เกิ ดในปฏิ กิ ริย ารี ดัก ชันจะถู ก เรี ย กว่า ตัวออกซิ ไ ดซ์ (oxidiser หรื อ
oxidizing agent หรื อ oxidant) แสดงว่าถูกรี ดิวซ์
6. เซลล์ไฟฟ้ าเป็ นการถ่ายเทอิเล็กตรอนที่มีการให้อิเล็กตรอน (เกิดขึ้นในปฏิกิริยาออกซิ เดชัน) และ
การรับอิเล็กตรอน (เกิดขึ้นในปฏิกิริยารี ดกั ชัน) นี้ จะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น โดยเรี ยกเซลล์ไฟฟ้า
ที่เกิดขึ้นนี้วา่ เซลล์กลั วานิก
7. ค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์หาได้จากสูตร
Eocell = E0cathode - E0anode
Eocell = E0reduction - E0oxidation
Eocell = E0สูง - E0ต่า
8. หลักง่ายๆ ของการเขียนแผนภาพของเซลล์กลั วานิก คือ
ขั้วไฟฟ้า/สารละลาย//สารละลาย/ขั้วไฟฟ้า
โดยด้านซ้ายเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาออกซิเดชัน และด้านขวาเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยารี ดกั ชัน
9. การกัดกร่ อน(corrosion) เป็ นการเสื่ อมสภาพของโลหะจากกระบวนการเคมี ไ ฟฟ้ า เพราะการ
ออกซิเดชันของโลหะที่สัมผัสกับตัวออกซิไดซ์

แบบฝึ กหัด
1. ให้หาเลขออกซิเดชันของอะตอมในโมเลกุลที่กาหนดให้ต่อไปนี้
NF3 N F
K2CO3 K C O
-
NO3 N_________ O__________
HIO4 H I O
2. ให้หาเลขออกซิเดชันของ Mn ในสารประกอบ MnO2 , KMnO4 และ MnSO4
3. จากปฏิกิริยา
Fe+2(aq) + H2O2(aq) → 2Fe+2(aq) + 2 OH-(aq)
1) เลขออกซิเดชันของ O ใน H2O2 มีค่าเท่าใด
2) สารใดทาหน้าที่เป็ นตัวออกซิไดซ์
3) สารใดทาหน้าที่เป็ นตัวรี ดิวซ์
4. ข้อใดเป็ นปฏิกิริยารี ดอกซ์
1) NaOH + HCl → NaCl + H2O
2) Fe2O3 + 3CO2 → 2Fe + CO2
3) Na2SO4 + BaCl2 → 2NaCl + BaSO4
4) Na3PO4 + 3AgNO3 → Ag3PO4 + 3NaNO3
5) K2SO4 + BaCl2 → BaSO4 + 2KCl
6) CuSO4 + BaCl2 → BaSO4 + CuCl2
7) Zn + H2SO4 → ZnSO4 + H2
8) Pb(NO3)2 + 2NaCl → PbCl2 + 2NaNO3
5. จากปฏิกิริยารี ดอกซ์ให้หาตัวออกซิไดซ์และตัวรี ดิวซ์
1) 2KMnO4 + 5KNO2 + 3H2SO4 → 2MnSO4 + 3H2O + 5KNO3 + K2SO4
2) K2Cr2O7 + 3SnCl2 + 14HCl → 2CrCl3 + 3SnCl4 + 2KCl + 7H2O
3) 2KMnO4 + 10NaCl + 8H2SO4 → 5Cl2 + K2SO4 + 2MnSO4 + 8H2O + 5Na2SO4
4) 2K2Cr2O7 + 2H2O + 3S → 3SO2 + 4KOH + 2Cr2O3
6. ให้แสดงปฏิกิริยารี ดอกซ์จากแผนภาพเซลล์ที่กาหนดให้
1) Al(s)/Al3+(aq)//Cd2+(aq)/Cd(s)
2) Fe(s)/Fe2+(aq)//Cl-(aq)/Cl2(g)/Pt(s)
3) Pt(s)/Sn2+(aq), Sn4+(aq)//Cr3+(aq), Cr2+(aq)/Pt(s)
7. กาหนดปฏิกิริยารี ดอกซ์ที่เกิดขึ้นเป็ นดังนี้ Be (s) + Sn4+(aq) → Be2+ (aq) + Sn2+ (aq)
1) ให้แสดงแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าเคมี
2) ตัวรี ดิวซ์ และตัวออกซิไดซ์คือสารใด
3) ให้แสดงปฏิกิริยาเคมีที่ข้วั แอโนด
4) ให้แสดงปฏิกิริยาเคมีที่ข้วั แคโทด
5) ให้หาค่าศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้น
8. กาหนดปฏิกิริยารี ดอกซ์ที่เกิดขึ้นเป็ นดังนี้ Zn (s) + Pb2+(aq) → Zn2+(aq) + Pb (s)
ให้แสดงปฏิกิริยาออกซิเดชัน , ปฏิกิริยารี ดกั ชัน และหาค่าศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งแสดง
แผนภาพเซลล์ไฟฟ้า
10. ให้พิจารณาข้อความในแต่ละข้อแล้วตอบว่า จะเกิดการผุกร่ อนหรื อไม่ เพราะเหตุใด โดยอธิบาย
อย่างละเอียด
1) ภาชนะดีบุกบรรจุสารละลาย Fe2+
2) ภาชนะดีบุกบรรจุสารละลาย Cu2+
3) เหล็กบรรจุสารละลาย Cd2+
10. หากนาขั้วไฟฟ้า Al จุ่มในสารละลาย 1.0 M Al(NO3)3 และขั้วไฟฟ้า Pb จุ่มในสารละลาย 1.0 M
Pb(NO3)2
1) ให้แสดงปฏิกิริยาเคมีที่ข้ วั แอโนด
2) ให้แสดงปฏิกิริยาเคมีที่ข้ วั แคโทด
3) ให้แสดงปฏิกิริยารี ดอกซ์ที่เกิดขึ้น
4) ให้หาค่าศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้น
11. กาหนดค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่ งเซลล์รีดกั ชันดังนี้
Mn2+(aq) + 2e- → Mn(s) Eo = -1.18 V
Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s) Eo = -0.76 V
1) เขียนครึ่ งปฏิกิริยาออกซิเดชันที่เกิดขึ้น
2) เขียนครึ่ งปฏิกิริยารี ดกั ชันที่เกิดขึ้น
3) เขียนปฏิกิริยารี ดอกซ์ที่เกิดขึ้น
4) เขียนแผนภาพเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่เกิดขึ้น
5) หาค่าศักย์ไฟฟ้า (Eocell )ของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้
6) โลหะใดที่เป็ นใช้เป็ นขั้วลบ
12. ให้ลาดับความสามารถในการเป็ นตัวออกซิไดซ์จากมากไปน้อยของ Na+, Mg2+, Zn2+, Pb2+, H+, Cu2+
และ Ag+
13. ให้ลาดับความสามารถในการเป็ นตัวรี ดิวซ์จากมากไปน้อยของ Sn, Au, Na, Mg และ Zn
14. กาหนดปฏิกิริยารี ดกั ชันและค่าศักย์ไฟฟ้า ให้หาตัวออกซิไดซ์ที่แรงที่สุด และตัวรี ดิวซ์ที่แรง
ที่สุด

MnO2(s) + 4H+(aq) + 2e- → Mn2+(aq) + 2H2O(l) E0 = + 1.22 V


Hg2SO4(s) + 2e- → 2Hg (l) + SO42- (aq) E0 = + 0.61 V
SnO2(s) + 2H2O(l) + 4e- → Sn(s) + 4OH-(aq) E0 = - 0.95 V
Cr(OH)3(s) + 3e- → Cr(s) + 3OH-(aq) E0 = - 1.48 V

15. หากต้องการแยกสลายสารละลาย CuSO4 ในน้ า ผลิตภัณฑ์ที่เกิดที่ข้วั แอโนดและขั้วแคโทดคืออะไร


กาหนด E0 ดังนี้
O2(g) + 4H+(aq) + 4e- → 2H2O(l) E0 = +1.23
S2O82- + 2e- → SO42-(aq) E0 = +2.01
Cu2+(aq) + 2e- → 2Cu(s) E0 = +0.34
2H2O(l) + 2e- → H2(g) + 2OH-(aq) E0 = -0.83

You might also like