You are on page 1of 66

ไฟฟ้าเคมี

(Electrochemistry)
ไฟฟ้าเคมี
(Electrochemistry) ่
ไฟฟ้าเคมี เป็ นการศึกษาเกียวกั บปฏิก ิรยิ าเคมีที่
ท าให เ้ กิด กระแสไฟฟ้ า (เช่น เซลล ก์ ลั วานิ ก ) และ
กระแสไฟฟ้ าทาใหเ้ กิดปฏิก ิรยิ าเคมี (เช่น เซลล ์อิเิ ล็าก
หากใช้ ก ารถ่ ายเท e- เป็ นเกณฑ ์แล้วปฏิก ิรย

โทรไลต
เคมี แบ่ง์ เป็
) น 2 ประเภท
่ การถ่ายเท e- เรียกว่า ปฏิก ิรยิ ารีดอกซ ์
1.ปฏิก ิรยิ าทีมี
(Redox Reaction)
่ มก
2.ปฏิก ิรยิ าทีไม่ ี ารถ่ายเท e- เรียกว่า ปฏิก ิรยิ านอนรี
ดอกซ ์ (Nonredox- Reaction)
2
ปฏิก ิรย
ิ ารีดอกซ ์ (ปฏิก ิรย
ิ าออกซิเดช ัน-รีด ักช ัน)
Redox reaction (Oxidation-Reduction reaction.)

ตัวอย่าง ่ าแผ่นโลหะทองแดง (Cu) จุม


เมือน ่ ลงใน
สารละลายของ AgNO3 พบว่าทีแผ่ ่ นโลหะ Cu มีของแข็งสีขาว
่ ามาเคาะจะพบว่าโลหะ Cu เกิดการสึก
ปนเทามาเกาะอยู่ และเมือน

กร่อน ส่วนสีของสารละลาย AgNO3 ก็จะเปลียนจากใสไม่ มส
ี เี ป็ น
สีฟ้า

การเปลียนแปลงที ่ ดขึนนี
เกิ ้ อธิ
้ บายได ้ว่าการทีโลหะทองแดง

เกิด การสึกกร่อนเป็ นเพราะโลหะทองแดง(Cu) เกิดการเสีย
่ สฟ
อิเล็กตรอนกลายเป็ น Cu2+ ซึงมี ่ Ag+ ร ับอิเล็กตรอน
ี ้ าและเมือ 3

ปฏิก ิรยิ าทีเกิ่ ดขึน้ เขียนในรูปสมการได ้ดังนี ้
Cu(s)  Cu2+(aq) + 2 e-
(ปฏิก ิรยิ าออกซิเดช ัน)
Ag+(aq) + e-  Ag(s)
(ปฏิก ิรยิ ารีดก ั ช ัน)
e- ทีถ่ ่ ายเทต ้องเท่ากัน สมการเคมีทเกิ ี่ ดขึนที
้ แท่ ้จริง
ต ้องเป็ น
Cu(s)  Cu2+(aq) + 2 e-
(ปฏิก ิรยิ าออกซิเดชัน)
Cu(s)
2Ag+(aq) +2 e- + Ag +(aq)  Cu2+(aq) + 2Ag(s)
 2Ag(s)
(ปฏิ ก ิ ร ย
ิ ารีด อกซ ์)
(ปฏิ กจิราว่
(ให้ ยิ ารี
า“รีดกั ช
”“ร “ลด” รีคอื รีดก
ับ” ัน) ั ซนั ร ับคือร ับอิเล็กตรอน ลดคือการลด
ด้วย
1. ่
สารทีให้ e- เรียกว่าตัวรีดวิ ซ ์ เกิดปฏิก ิริยา
ออกซิเดชัน (Oxidation Reaction)
2. สารทีร่ ับ e- เรียกว่าตัวออกซิไดซ ์ เกิดปฏิก ิรยิ า
เช่น Cu(s) + Ag+(aq)  Cu2+(aq) +
รีดก
ั ช ัน (Reduction Reaction)
ตัวรีดวิ ซ ์ 2Ag(s)
ตัวออกซิไดส ์ (ปฏิก ิรย
ิ ารีดอกซ ์)
ตัวรีดวิ ซ ์ ตัวออกซิไดส ์
•ให้อเิ ล็กตรอน •ร ับอิเล็กตรอน
•มีเลข Oxidation •มีเลข Oxidation
number เพิมขึ ่ น ้ number ลดลง
•ทาหน้าที่รีดวิ ซ ์ •ทาหน้าทีออกซิ่ ไดส ์
•ถูกออกซิไดส ์ •ถูกรีดวิ ซ ์
•อยู ่ในปฏิก ิรยิ า •อยู ่ในปฏิก ิรยิ า 5
เลขออกซิเดช ัน (Oxidation number, Ox no.)
ี่
•เป็ นต ัวเลขของธาตุทแสดงถึ
งจานวนของ e-
ที ่ หรือร ับ
ให้
•ส่วนใหญ่เป็ นเลขจานวนเต็ม ( 0,
1, 2, 3, ... )

•เครืองหมายเป็ น + หรือ - ก็ได้

6
กฎเกณฑ ์การพิจารณา Ox no.
1. อะตอมของธาตุตา่ งๆ ในสภาวะอิสระ มี Ox no. = 0 ไม่วา่ ธาตุน้ัน
จะอยูใ่ น
รู
ป อะตอมเดี่ ่
ยวหรื
2. ไอออนทีมีอะตอมเดี ่
อหลายอะตอม
ยวจะมี ประจุAg,
Ex. Zn,
Ox no.= Hg, Cl2, H้น2, P4, S8
ของไอออนนั
Ex. Na+, Cl-, Al3+ , S2-
3. ในสารประกอบ โลหะหมู่ IA Ox no. = +1 เสมอ
โลหะหมู่ IIA Ox no. = +2 เสมอ
โลหะหมู่ IIIA Ox no. = +3 เสมอ
O : Ox no. = -2 ยกเว ้น ใน peroxide Ex. H2O2, Na2O2
H : Ox no. = +1 ยกเว ้น ในโลหะไฮไดร ์ Ex. LiH, CaH2
4. ผลรวมทางพีชคณิ ตของ Ox no. ของอะตอมทังหมดในสู ้ ตร
เคมีใดๆ จะมีคา่ = ประจุสาหร ับกลุม ่ ของอะตอมทีเขี ่ ยนแสดงใน
สูตรนั้น

Note: ไอออนทีควรจ า SO42- , CN- , CO32- , NO3- ่ Ox no.
ไอออนทีมี 7
หลักในการพิจารณาเลขออกซิเดช ันของธาตุ
ในสารประกอบ ี่ กจะมีเลข
มักจะระบุเลขออกซิเดชันของธาตุทมั
ออกซิเดชันทีแน่่ นอนก่อน เช่น โลหะหมู่ IA, IIA, IIIA, O และ H
จากนั้นจึงค่อยคิดเลขออกซิเดชันของธาตุอนๆ ื่ ต่อไป โดย
คานวณจาก ผลรวมทางพีชคณิ ตของเลขออกซิเดชันจะมีค่า
ตั
เท่วาอย่ ของสารนั้น ตามกฏข
กับาประจุ
งการหาเลขออกซิ เดช ้อสุ
ันของธาตุ
ดท ้าย
Na3PO4  3Na + P + 4O = 0
Mn2O7  2Mn + 7O = 0
3(1) + P + 4(-2) = 0
2Mn + 7(-2) = 0
3+P–8 = 0
2Mn = 14
P = +5 #
Mn = +7 #

MnSO4  Mn + SO4 = 0 C2O42-  2C + 4O = -2


Mn + (-2) = 0 2C + 4(-2) = -2
Mn = +2 # 2C = 6
C = +3 #

8
ี่ ดเส้นใต้
จงหาเลขออกซิเดช ันของธาตุทขี

สารประกอ ผลรวมทาง เลขออกซิเดชัน เลข


บหรือ พีชคณิ ต ของ ออกซิเดชัน
ไอออน ของเลข ี่ จารณา
ธาตุทพิ ของธาตุทขีี่ ด
ออกซิเดชัน ก่อน เส ้นใต ้
1) SO4 2- -2 O=-2 +6

2) MnO2 0 O=-2 +4

3) KMnO4 0 K = +1, O = -2 +7

4) ClO4 -1 0 O=-2 +7

5) Cr2O7 -2 -2 O=-2 +6
การระบุเลขออกซิเดช ันของธาตุในสารประกอบหรือ
ไอออน
ั ้ 1 อะตอม
จะต้องระบุเลขออกซิเดช ันต่อธาตุนน 9
การพิจารณาว่าเป็ นปฏิก ิรย
ิ ารีดอกซ ์หรือไม่
ปฏิก ิรย
ิ ารีดอกซ ์ เป็ นปฏิก ิรย ่
ิ าทีสารในปฏิ รย
ิ ามีการ

เปลียนแปลงเลขออกซิ เดช ัน
เลขออกซิเดชัน 0 +1
+2
Redox Cu (s) +0 2 Ag+(aq)  Cu2+(aq) + 2 Ag (s)

เลขออกซิเดชัน +1 -1 +1 -2 +1
+1 -1
Non-redox +1-2+ NaOH (aq)  NaCl (aq) + H O
HCl (aq) 2
(l)
การดุลสมการรี
ดอกซ ์ ้ สารตังต้น  ผลิตภัณฑ ์
้ านวนอะตอม ซ ้าย = ขวา
• ดุลทังจ
่ ้ (ใน oxidation) = อิเล็กตรอนทีร่ ับ
• ดุลจานวนอิเล็กตรอนทีให
(ใน Reduction)
• ดุลจานวนประจุไฟฟ้ า ซ ้าย = ขวา
การดุลสมการรีดอกซ ์มี 2 วิธ ี
1. การดุลสมการรีดอกซ ์โดยวิธก ่ Ox no.
ี ารเปลียน

2. การดุลสมการรีดอกซ ์โดยวิธ ี
่ ก ิรยิ า
ครึงปฏิ
11
การดุลสมการรีดอกซ ์โดยวิธก
ี าร
เปลี ่ ้ Ox no.
ยน
• ดุลทังจานวนอะตอม
• ดุลจานวนประจุไฟฟ้ า : ทาให ้ e- ทีถ่ ่ ายเทใน Oxidation = ใน
Reduction
1. ตรวจสอบ Ox no. ของธาตุทุกตัวในปฏิก ิรยิ า
2. ดุลธาตุทมี ี่ Ox no. เปลียนไป

3. พิจารณาว่า ตัวรีดวิ ซ ์ให ้ e- ?, ตัวออกซิไดส ์ร ับ e- ?
4. ทาจานวน e- ทีให ่ ้และร ับ ให ้เท่ากัน โดยคูณด ้วย
สัมประสิทธิ ์
5. ตรวจสอบประจุไฟฟ้ าทังสองฝั้ ่ ง ถ ้าไม่เท่ากัน ให ้
- เติมสัมประสิทธิหน้์ า H+ กรณี สารละลายกรด
- เติมสัมประสิทธิหน้ ์ า OH- กรณี สารละลายเบส
6. ดุลจานวน O และ H ให ้เท่ากัน โดยการเติม
สัมประสิทธิหน้์ า H2O 12

EX. Cr2O72-+ H2S  Cr3+ + S ( in acid solution) ่ Ox No
โดยวิธเี ปลียน

ขันตอน วิธท
ี า
1. ตรวจสอบ Ox no. ของธาตุในสารทุกตัว +6 -2 +1-2 +3 0
Cr2O72- + H2S  Cr3+ + S
ี่ Ox no. ทีเปลี
2. ดุลธาตุทมี ่ ยนไปก่
่ อน +6 -2 +1-2 +3 0
Cr2O72- + H2S  2 Cr3+ + S
3. พิจารณาว่าตัวรีดวิ ซ ์ให ้ e- กีตั ่ ว และตัวออก
ซิไดส ์ร ับ e- กี่ ร ับ e-
ให้ e -
=(2 อะตอม)x3=6
ตัว (ข้อสังเกตุCr 1 อะตอม Ox.No. ลดลง =2
3 หน่ วย ถ้า Cr 2 อะตอม Ox.No. ลดลง 6  3=6
หน่ วย = ร ับ e- 6 ตัว)
4. ทาจานวน e- ทีให ่ ้และร ับให ้เท่ากัน โดยการ +6 -2 +3
คูณด ้วยสัมประสิทธิ ์ 0
Cr2O72- + 3 H2S  2 Cr3+ + 3 S
5. ตรวจสอบจานวนประจุไฟฟ้ าของสารทัง้ 2 -2 + 3(0) ≠ 2(+3) + 3(0)
ฝั่ง Cr2O72- + 3H2S + 8H+  2 Cr3+ + 3S
ถ ้าไม่เท่ากัน ให ้ดุลจานวนประจุโดยการ -2 + 3(0) + 8 = 2(+3) +
- เติม H+ (ในสารละลายกรด) 3(0)
6. ให ้ตรวจสอบจานวนอะตอมของ O และ H Cr2O72- + 3H2S + 8H+  2 Cr3+ + 3S
13

และ O = 7, H = 14 O= 0 , H = 0
ตัวอย่างการดุลสมการรี
ดอกซ ์

14
15
EX. KMnO4+ KNO2 + H2SO4  MnSO4 + H2O + KNO3 + K2SO4

16
17
การดุลสมการรีดอกซ ์โดยวิธค ่
ี รึงปฏิ
ก ิ รย
ิ า
1. ตรวจสอบเลขออกซิเดช ันของธาตุในสารทุกตัวในปฏิก ิรยิ า
พิจารณาว่า
สารใดเป็ นตัวรีดวิ ซ ์ (Ox. No เพิม) ่ และ สารใดเป็ นตัวออกซิไดส ์
(Ox. No ลด)
่ ก ิรยิ าออกซิเดชันและครึงปฏิ
2. แยกครึงปฏิ ่ ก ิรยิ ารีดกั ชัน โดยให ้ระบุถงึ
้ ้นและผลิตภัณฑ ์
สารตังต
่ ก ิรยิ า ตามขันตอนนี
3. ดุลแต่ละครึงปฏิ ้ ้
- ดุลธาตุทมีี่ การเปลียนแปลงเลขออกซิ
่ เดชัน
- เติมอิเล็กตรอนเข ้าไปในด ้านทีมี ่ เลขออกซิเดชันสูงกว่า ให ้มี
จานวนเท่ากับ
เลขออกซิเดชันทีเปลี ่ ยนแปลง

- ดุลจานวนประจุไฟฟ้ าโดยการเติม H+ ในกรณี ทปฏิ ี่ ก ิริยาเกิด
ในสารละลายกรด
และเติม OH- ในกรณี ทปฏิ ี่ ก ิรยิ าเกิดในสารละลายเบส 18

19

การดุลสมการรีดอกซ ์แบบครึงปฏิ
ก ิ รย
ิ า

20
21
22
23
ลล ์ไฟฟ้าเคมี แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
1.เซลล ์กัลวานิ ก 2. เซลล ์อิเล็กโทรไลต ์
(galvanic cell) หรือเซลล ์ (electrolytic cell);
โวลตาอิก (voltaic cell) ; กระแสไฟฟ้ าทาให ้
ี่ าให ้เกิด
ปฏิก ิรยิ าเคมีทท เกิดปฏิก ิรยิ าเคมี
กระแสไฟฟ้ า

Oxidation Reduction
Anode Cathode

ขัวบวก ้
ขัวลบ
1.เซลล ์กัลวานิ ก ( Galvanic cell)


คลิกทีภาพ


ขัวไฟฟ ้ า (Electrode) 2 ขัว้ ทาหน้าที่ เป็ น ทางเดินของ e-
้ เกิ
ขัวที ่ ดปฏิก ิรยิ าออกซิเดชัน (Anode) = ขัว้ – , ขัวที
้ ่
เกิดปฏิก ิรยิ ารีดกั ชัน (Cathode) = ขัว้ +
สารละลาย Electrolyte ทาหน้าที่ แหล่งไอออน + และ

สะพานเกลือ (Salt bridge) คือ ตัวเชือม
วงจรภายในของแต่ละครึงเซลล ่ ์ให ้ครบวงจร ทาให ้

ไอออนในแต่ละครึงเซลล ์สามารถไหลผ่านสะพาน
้ ้ และมีหน้าทีร่ ักษาสมดุลของไอออนของ
ไอออนนี ได
สารละลายอิเล็กโทรไลต ์ในแต่ละครึงเซลล ่ ่ าให ้
์ เพือท
ประจุในแต่
สมบัตข ิ องสารที่ ใช้
่ ท์สมดุ
ละครึงเซลล าเป็ลนสะพานไอออน
กัน

1. เป็ นสารประกอบไอออนิ กทีสามารถแตกตั ้
วละลายนาได ้ดี มี
ปริมาณไอออนมาก
2. ไอออนต ้องไม่ทาทาปฏิก ิรยิ าเคมีใดๆ กับสารละลายของแต่ละ

ครึงเซลล ์
3. ไอออนบวกและไอออนลบทีแตกตั ่ วออกมาต ้องมีความสามารถ

ในการเคลือนที ่
ใกล ้เคียงกัน
่ ้ทาสะพานไอออน ได ้แก่ KNO3 , KCl, NH4 Cl
4. สารทีใช

แผนภาพเซลล ์ไฟฟ้าเคมี
่ ดขึนเป็
หากปฏิก ิรยิ ารีดอกซ ์ทีเกิ ้ น A(s) + B+(aq) 
แผนภาพเซลล ์ไฟฟ้ าเคมี A(s) | A+(aq)

ครึงเซลล ์ออกซิเดช ัน ่
ครึงเซลล ร์ ด
ี ก
ั ช ัน

หมายเหตุ 1. | | แทนสะพานเกลือ และแต่ละครึงเซลล ่ ์ให ้ใช ้



เครืองหมาย ่
| คันระหว่ างสารต่าง สถานะ
2. หากต ้องการระบุความเข ้มข ้นให ้เขียนไว ้ในวงเล็บแล ้ว
วางหลังสารละลาย
เช่น Cu(s) | Cu2+(aq)(0.1M) | |
Ag+(aq)(0.1M) | Ag(s)
3. หากสารในสถานะเดียวกันมีมากกว่า 1 ชนิ ด ให ้ใช ้
่ ลภาค ( , ) คัน
เครืองจุ ่ เช่น Fe(s) |
Fe2+(aq) , Fe3+(aq) | | Cu2+(aq) | Cu(s) 27
ิ ารีดอกซ ์ “Daniel
ปฏิก ิรย
cell”

ปฏิก ิรยิ าครึง่ ปฏิก ิรยิ า


เซลล ์ ่
ครึงเซลล ์
ออกซิเดชน ั รีดกั ช ัน

Zn เป็ นตัวรีดวิ ซ ์
Cu2+ เป็ นตัว
ออกซิไดซ ์
28

ศ ักย ์ไฟฟ้าครึงเซลล ์มาตรฐาน (Standard Half Cell
Potential)

จากรูปเซลล ์ไฟฟ้ า Zn-Cu เมือใช่ ้ความเข ้มข ้นของไอออนของ


สารละลายในแต่ละครึงเซลล่ ์เท่ากับ 1.0 M ที่ 25 C จะมี

แรงเคลือนไฟฟ้ าเหนี่ ยวนาเท่ากับ 1.10 V ถ ้าทราบศักย ์ไฟฟ้ าของ
อิเล็กโทรดใด อิเล็กโทรดหนึ่ งแล ้วนาไปลบออกจาก 1.10 V ก็จะทราบ

ศ ักย ์ไฟฟ้าครึงเซลล ์มาตรฐาน

จึงได ้มีการกาหนดอิเล็กโทรดมาตรฐานขึนมา ่ ้แก่ ไฮโดรเจน
ซึงได
อิเล็กโทรดมาตรฐาน (Standard Hydrogen Electrode: SHE)

ในครึงเซลล ้
์ไฮโดรเจนมาตรฐานนี ประกอบด ้
้วย ขัวแพตติ นัม (อิเล็กโทรด
เฉื่ อย) จุม
่ อยู่ในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข ้มข ้น 1 M และแก๊ส
ไฮโดรเจนอยู่ภายใต ้สภาวะมาตรฐาน คือ ความดันแก๊สเท่ากับ 1 atm และ
่ ณหภูมิ 25 C โดยผ่านแก๊สไฮโดรเจนลงไปในสารละลายกรด
วัดทีอุ
2 H + + 2 e- H (g)
ตลอดเวลา จึงเกิดสมดุลดังสมการ 2


ศักย ์มาตรฐานของครึงเซลล ์ไฮโดรเจน
อิเล็กโทรดมาตรฐานเท่ากับ 0.00 V และใช ้

สัญลักษณ์ E แทนค่าศักย ์ไฟฟ้ าทีสภาวะ
มาตราฐาน 30

ศ ักย ์ไฟฟ้าครึงเซลล ์มาตรฐาน
่ ้องการทราบค่าศักย ์ไฟฟ้ าของอิเล็กโทรดอืน
เมือต ่ ภายใต้สภาวะ
เช่น Cu/Cu2+ หรือ Zn/Zn2+ ก็นาอิเล็กโทรด มาตรฐาน
เหล่านั้นมาจับคูก ่ บั อิเล็กโทรดไฮโดรเจนและวัด อุณหภูมิ : 25 C หรือ

แรงเคลือนไฟฟ้ ่
าของเซลล ์ ซึงแรงเคลือนไฟฟ้ าที่ 298 K
่ ้องการ Gas: ความดัน 1 atm
วัดได ้จะเป็ นศักย ์ไฟฟ้ าของอิเล็กโทรดทีต
้ เพราะศั
้ Solution: ความเข ้มข ้น
ทราบ ทังนี กย ์ไฟฟ้ าของไฮโดรเจน
1 โมลาร ์
อิเล็กโทรดมาตรฐานเท่ากับ 0.00 V

Zn Zn2+ + 2 e- Eoox = 0.763 V Cu2+ + 2 e- Cu EoRed = 0.340 V


31
Zn2+ + 2 e-Zn Eored = -0.763 V
ศ ักย ์ไฟฟ้าครึงเซลล่ ์มาตรฐาน (Standard Half Cell
Potential)
่ อเซลล ์กัลวานิ ก ระหว่างครึง่
เมือต่
เซลล ์ SHE และ Cu ดังรูป จาก
โวลต ์มิเตอร ์ได ้ค่าศักย ์ไฟฟ้ า
มาตรฐานของเซลล ์เท่ากับ 0.34 V
พบว่าไฮโดรเจนมีความสามารถให้
อิเล็กตรอนได ้ดีกว่า Cu
้ งนี ้
โดยมีปฏิก ิรยิ าเกิดขึนดั

ปฏิก ิรยิ าออกซิเดชันทีแอโนด (SHE) H2 (g) 2 H+
(aq)+ 2 e-

ปฏิก ิรยิ ารีดกั ชันทีแคโนด (Cu) Cu2+ (aq) + 2 e- Cu(s)
โดยที่ E°Cell = E°คาโทด - E°อาโนด
ดังนั้น Ecell = ECu - ESHE

0.34 = ECu – 0.00V

32
ECu = 0.34V – 0.00V = 0.34V
่ อเซลล ์กัลวานิ ก ระหว่างครึง่
เมือต่
เซลล ์ SHE และ Zn ดังรูป จาก
โวลต ์มิเตอร ์ได ้ค่าศักย ์ไฟฟ้ า
มาตรฐานของเซลล ์เท่ากับ 0.76
V พบว่า Zn มีความสามารถให้
อิเล็กตรอนได ้ดีกว่า แก๊ส
ไฮโดรเจน ้ งนี ้
โดยมีปฏิก ิรยิ าเกิดขึนดั

ปฏิก ิรยิ าออกซิเดชันทีแอโนด (Zn) Zn(s)  Zn2+ (aq) + 2 e-

ปฏิก ิรยิ ารีดกั ชันทีแคโนด (SHE) 2 H+ (aq)+ 2 e-H2 (g)
โดยที่ E°Cell = E°คาโทด - E°อาโนด
ดังนั้น Ecell = ESHE - EZn
0.76 = 0.00V–EZn

EZn = 0.00V-0.76V = -0.76V 33


34

ศ ักย ์ไฟฟ้าครึงเซลล ์มาตรฐาน (Standard Half Cell
Potential)
ถ ้ามีการกลับสมการ ค่า E° จะเท่าเดิม แต่

เครืองหมายตรงกั นข ้าม
ถ ้ามีการคูณสมการด ้วยตัวเลขใดๆ ค่า E° จะเท่าเดิม

ไม่เปลียนแปลง

 ค่า E°reduction ยิงมาก แสดงว่าสารนั้นยิงร
่ ับ e-
ได ้ดี (แนวโน้มความเป็ นตัวออกซิไดซ ์มากขึน)้
 ค่า E°reduction ยิงต ่ า่ แสดงว่าสารนั้นยิงให
่ ้ e-

ได ้ดี (แนวโน้มความเป็ นตัวรีดวิ ซ ์มากขึน)


โดยทัวไปเมื ่
อกล่าวถึง E° หากไม่มก
ี ารระบุวา่ เป็ น
E°reduction หรือ E°oxidation ให ้ถือว่าเป็ น
35
ประโยชน์ของค่า E°reduction
1. ใช ้เปรียบเทียบความสามารถในการเป็ นตัวรีดวิ ซ ์และตัว
ออกซิไดซ ์
่ ้ e- ได ้ดี E° ต่า , สารทีร่ ับ e- ได ้ดี E° สูง
สารทีให

เช่น Zn2+(aq) + 2 e-  Zn(s) E° = - 0.76


Volt
Ag+(aq) + e-  Ag(s) E° = 0.80 Volt

พิจารณา Eo Zn2+ < Eo +


ตัวรีดวิ ซ ์
Ag
: Zn > Ag
ตัวออกซิไดซ ์ : Ag+ > Zn2+

36
ประโยชน์ของค่า E°reduction


2. ใช้คานวณค่าศ ักย ์ไฟฟ้าของเซลล ์และครึงเซลล ์
อาศัยหลัก E°Cell = E°คาโนด - E°อาโนด

= E°ขัวบวก ้
- E°ขัวลบ
= E°สูง - E°ต่า
ประโยชน์ของค่า E°Cell
E°Cell > 0 ปฏิก ิรยิ าเกิดได ้
E°Cell < 0 ปฏิก ิรยิ าเกิดไม่ได ้ (เกิดในทิศตรงข ้าม)
E°Cell = 0 ปฏิก ิรยิ าเกิดไม่ได ้แน่ นอน

37

ตวั อย่างการคานวณศ ักย ์ไฟฟ้าของครึงเซลล ์
EX. ่ าครึงเซลล
เมือน ่ ่
์ของ Ag | Ag+ ต่อกับครึงเซลล ์ของ Pt | H2 | H+
พบว่าเข็มของโวลต ์มิเตอร ์เบนหาขัว้ Ag และอ่านค่าได ้ 0.80 Volt ให ้หาค่า
E° ของ Ag+ + e-  Ag
วิธท
ี า ่ มโวลต ์เบนเข ้าหาขัว้ Ag
จากการทีเข็
แสดงว่า Ag | Ag+ ร ับ e-
Pt | H2 | H+ ให ้ e-
จาก E°Cell = E°คาโทด - E°อาโนด
0.80 = Eo Ag - Eo H2

0.80 = Eo Ag –0
ดังนั้น Eo Ag = 0.80 Volt
นั่นหมายความว่า Ag+ + e-  Ag E° = 0.80 Volt 38

ศ ักย ์ไฟฟ้าครึงเซลล ์มาตรฐาน (Standard Half Cell
ตัPotential)
วอย่าง 2Ag+(aq) + Mg(s)  2Ag(s) + Mg2+(aq)
Eocell = EoCathode – Eo anode
้ ดขึน้
= +0.80V – (-2.37 V) = +3.17 V ปฏิก ิรยิ านี เกิ
ได ้เอง
ตวั อย่าง Fe2+(aq) + Ni(s)  Fe(s) + Ni2+(aq)
Eocell = EoCathode – Eo anode
= -0.45 V – (-0.26 V) = -0.19 V
้ ดขึนเองไม่
ปฏิก ิรยิ านี เกิ ้ ได ้ ดังนั้นปฏิก ิรยิ าทีเกิ
่ ดขึนได
้ ้เองคือ

Fe(s) + Ni2+(aq) Fe2+(aq)+ Ni(s)

39

จงตอบคาถามเกียวกับสมการรี ดอกซ ์
ข้างล่างนี ้
1. กาหนดให ้ Ag+ + e-  Ag E =
0.80 V
Fe3+ + e-  Fe2+ E = 0.77 V
Ni2+ + 2e-  Ni E = -0.26 V
Fe2+ + 2e-  Fe E = -0.45 V
Zn2+ + 2e-  Zn E = -0.76 V
3+ + 3e-  Cr
Cr
1.1สารใดเป็ นตัว+ออกซิไดซ ์ได ้ดี
ท สุ
ี ่ ด E = -0.74 V
-  Na
Na
(จากค่า E ของครึงเซลล+่ e ์ Ag+ /Ag มีคEา่ มากที ่ ดVแสดงว่า Ag+ สามารถร ับ
= -2.71
สุ
ี่ ด)
e- ได ้ดีทสุ


1.2 จงหาค่า Eocell ของสองครึงเซลล ์ Ni2+/Ni และ Na+/Na
(+2.47)


1.3. ปฏิก ิรยิ า 2Ag+ (aq) + Zn(s)2Ag(s)+ Zn2+ (aq) จะเกิดขึนเองได ้
หรือไม่ 40
2.เปอร ์แมงกาเนตไอออนถูกรีดวิ ซ ์ด ้วยโบรไมด ์(1M) ได ้หรือไม่ ถ ้าก
MnO4- + 8H + e -  Mn2+ + 4H2O E° = +1.51 V

Br2 + e-  2Br- E° = +1.09 V

วิธท ่ น cathode ถ ้าค่า E


ี า ค่า E มีคา่ มาก จะทาหน้าทีเป็
่ น anode
มีคา่ น้อย จะทาหน้าทีเป็
ใช ้สูตร Eocell = EoCathode – Eo anode
= (+1.51)-(+1.09)
= 0.42 V
Eocell มีคา่ เป็ นบวก ดังนั้นปฏิก ิรยิ านี เกิ
้ ดขึนเองได
้ ้ ดังนั้นเปอร ์
แมงกาเนตไอออนถูกรีดวิ ซ ์ด ้วยโบรไมด ์(1M) ได ้
41
ต่อ

และมีสมการรีดอกซ ์คือ
ปฏิก ิรยิ ารีดก ่
ั ช ันทีแคโทด
2MnO4- + 16H + 10e -  2Mn2+ + 8H2O
E° = +1.51 V


ปฏิก ิรยิ าออกซิเดช ันทีแอโนด
10Br-  5Br2 + 10e- E°
= -1.09 V
____________________________________________________________
____

ดังนั้นปฏิก ิรยิ ารีดอกซ ์ (ปฏิก ิรยิ าออกซิเดช ัน-รีดก


ั ช ัน)คือ
2MnO4- + 16H +10Br--  2Mn2+ + 8H2O + 5Br2
E°cell = = 0.42 V 42
่ าหนดให ้
่ ก ิรยิ าทีก
3. จงสร ้างเซลล ์จากสองครึงปฏิ
ต่อไปนี ้
Ni(OH)2 + 2e -  Ni + 2OH- E = -0.72 V

CrO42- + 4H2O + 3e -  Cr(OH)3 + 5OH- E = -0.12 V

จากค่า E แสดงว่า CrO42- ร ับ e – ได ้ดีกว่า Ni(OH)2 เพราะมีคา่ E


มากกว่า
ปฏิก ิรยิ ารีดก ่
ั ชันทีแคโทด 2CrO42- + 8H2O + 6e -  2Cr(OH)3 + 10OH- E = -
0.12 V


ปฏิก ิรยิ าออกซิเดชันทีแอโนด 3Ni + 6OH-  3Ni(OH)2 + 6e - E =
+0.72 V

____________________________________________________________________

ปฏิก ิรยิ ารีดอกซ ์ 2CrO42-+ 8H2O + 3Ni -  2Cr(OH)3 + 3Ni(OH)2 +4OH- E cell=43
+0.60 V
เซลล ์ก ัลวานิ ก
เซลล ์กัลวานิ กแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิ ด ใน
แง่ การใช้งาน

1. เซลล ์ปฐมภูมิ (primary cell) เมือปฏิ


่ ก ิริยา

เคมีภายในเซลล ์เกิดขึนและด าเนิ นไปแล ้ว ปฏิก ิรยิ าจะเกิดขึน้
อย่างสมบูรณ์และเกิดปฏิก ิรยิ าย้อนกลับไม่ได้หรือนามาอัดไฟ
ใหม่ไม่ได ้

2. เซลล ์ทุตยิ ภูมิ (secondary


cell) เกิดปฏิกิรยิ าย้อนกลับได้หรือนามาอัดไฟใหม่ได ้ 44
เซลล ์กัลวานิ ก
1.เซลล ์กัลวานิ กแบบปฐมภู ม ิ Ex. เซลล ์แห ้งหรือเซลล ์
ถ่านไฟฉาย (Dry Cell)

45
2. เซลล ์กัลวานิ กแบบทุตย
ิ ภู ม ิ
Ex. เซลล ์สะสมไฟฟ้ าแบบตะกัว่ หรือ แบตตารี (Lead storage
battery)
Anode (-) = Pb
Cathode (+) = PbO2
Electrolyte = H2SO4 เจือจาง

Anode (-) Pb (s) + SO42- PbSO4 (s) + 2e-


Cathode (+) PbO2 (s) + SO42- + 4H+ + 2e-PbSO4 (s) + 2H2O

Redox การจ่ายไฟ
Pb (s) + PbO2 (s) + 2HSO4- + 2H+  2PbSO4 (s) + 2H2O
1. Ecell = 2.0 V ดังนั้น 1 Battary ใช ้ 6 เซลล ์ต่อกัน = 12 V
้ นกลับได ้
2. สามารถอัดไฟได ้ใหม่เพราะปฏิก ิรยิ านี ผั
การอ ัดไฟ 2PbSO4 (s) + 2H2O  Pb (s) + PbO2 (s) + 2HSO4 - + 2H+46
อิเล็กโตรไลซิส (Electrolysis)

2Au (s) + Zn2+ (aq)  2Au+ (aq) + Zn (s) Eocell = -2.18 V


ปฏิก ิรยิ านี จะไม่ ้
เกิดขึนเอง (E°Cell < 0) แต่ถ ้าป้ อน
ศักย ์ไฟฟ้ าเข ้าไป > 2.18 V

พบว่า ปฏิก ิรยิ านี จะเกิ
ดได ้

อิเล็กโตรไลซิส คือ กระบวนการ



เกิดปฏิก ิรยิ าหรือการเปลียนแปลงทางเคมี
โดยอาศัยพลังงานไฟฟ้ าจากภายนอก
47
เซลล ์อิเล็กโตรไลติก (Electrolytic Cell)
่ ดกระบวนการอิเล็ก
เซลล ์ทีเกิ
โตรไลซิส ประกอบด ้วย
1. ขัวไฟฟ้ ้ า 2 ขัว้
้ เกิ
ขัวที ่ ดปฏิก ิรยิ าออกซิเดชัน
Anode
ขัวที้ เกิ ่ ดปฏิก ิรยิ ารีดก
ั ชัน Cathode
2. แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply)
ขัวที ้ ต่ ่ อกับขัวลบของแหล่
้ งจ่ายไฟ
= ขัวลบ ้
Oxidation Reduction
ขัวที ้ ต่ ่ อกับขัวบวกของแหล่
้ งจ่ายไฟ
Anode Cathode
= ขั
วบวก้

ขัวบวก ้
ขัวลบ 3. สารละลาย Electrolyte แหล่ง
2 Na+ (l) + 2 Cl- (l)  2Na (l) + Cl
และ2 ( g) ทางเดินของไอออน 48
เซลล ์กัลวานิ ก เซลล ์อิเล็กโตรไลติก
1. ประกอบด ้วย 1. ประกอบด ้วย

- ขัวไฟฟ้ า 2 ขัว้ ้
- ขัวไฟฟ้ า 2 ขัว้
- สารละลาย Electrolyte - สารละลาย Electrolyte
- แผ่นพรุนหรือสะพานเกลือ - แหล่งจ่ายไฟ
2. ทิศทางการไหลของ e- 2. ทิศทางการไหลของ e-
- ดูจาก เข็มของ Ammeter - ดูจาก เข็มของ Ammeter
- ดูจาก E ของแต่ละครึงเซลล ่ ์ - ดูจากการต่อกับแบตตารี

ว่าครึงเซลล ์ไหนให ้ e- (E ) ่
e- วิงออกจากขั ว้ - ของ Batt

ครึงเซลล ์ไหนร ับ e- (E ) e- วิงเข่ ้าหาขัว้ + ของ Batt
3. การกาหนดขัวของเซลล ้ ์ 3. การกาหนดขัวของเซลล ้ ์
- Anode Oxidation - Anode Oxidation
- Cathode Reduction - Cathode Reduction
- ขัว้ + ขัวที
้ ่ e- ไหลเข ้า - ขัว้ + ขัวที้ ต่่ อกับขัว+ของ

- ขัว้ – ขัวที
้ ่ e- ไหลออก Batt
ดังนั้น Anode ขัว้ - Cathode - ขัว้ - ขัวที
้ ต่่ อกับขัว-ของ
้ Batt
49

กฏของฟาราเดย ์เกียวกั
บเซลล ์อิเล็ก
โตรไลต ์
กฎของฟาราเดย ์
ปริมาณไฟฟ้ าทีจะต ่ ้องผ่านเข ้าไปในเซลล ์อิเล็กโทรไลต ์
่ ้อิเล็กตรอน 1 โมลทาปฏิก ิรยิ ารีดอกซ ์ เรียกปริมาณ
เพือให
ไฟฟ้ านั้นว่า 1 ฟาราเดย ์(Faraday; F)
ปริมาณไฟฟ้ านั้นว่า 1 ฟาราเดย ์ หรือ 96,487 คู
ลอมบ ์ จะทาให
ปริมาณไฟฟ้ า 1 ้สารเกิ
ฟาราเดยด ์(1F) มาจากผลคูณของประจุไฟฟ้ ากับ
อิปริ
จ เล็มกาณไฟฟ้
านวนอิโทรไลซิ ส ได
เล็กตรอนหนึ ้ ่ งโมล
1 กร ัมสมมู ล เสมอ
า 1 ฟาราเดย ์ = ประจุไฟฟ้ าของ e- x จานวน e- 1 mol
= ( 1.602 x 10-19 C ) x ( 6.02 x 1023 )
= 96,487 C
สาร 1 กร ัมสมมูล = น้าหนักสารทีเกิ
่ ดจากการถ่ายเท e- 1 mol

= น้าหนักสาร 1 โมล = น้ าหนักสาร 1 โมล


่ เปลี
เลขออกซิเดชันที ่ ยนไป
่ จานวน 50
การคานวณปริมาณไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้ า (I)  แอมแปร ์(A)
ปริมาณไฟฟ้ า (Q)  คูลอมบ ์(C)

ปริมาณไฟฟ้ า (คูลอมบ ์) = กระแสไฟฟ้ า (แอมแปร ์) x เวลา


(วินาที)
Q = Ixt
Faraday’s law of Electrolysis
1. ถ ้าเป็ นปฏิก ิรยิ าชนิ ดเดียวกัน

นาหนั กสารทีเกิ ่ ดขึนที
้ ่ Anode and Cathode แปรผัน
โดยตรง Q และ It
้ ากัน)
่ ดขึนเท่
2. ถ ้าให ้ Q เท่ากัน (จานวนกร ัมสมมูลทีเกิ

นาหนั ่ ดขึนที
กสารทีเกิ ้ ่ Anode and Cathode แปรผัน51
Example1.
ในการแยกสารละลาย AgNO3 ด ้วยกระแสไฟฟ้ า 2 แอมแปร ์

เป็ นเวลา 1 ชัวโมง ้ กร
จะมีโลหะเงินเกิดขึนกี ่ ัม

วิธท ่ ้ว่ามีคา่ กีฟาราเดย


ี า หาปริมาณไฟฟ้ าทีใช ่ ์ จากสูตร Q =
It

Q = It
= 2 A x 3600 s = 7,200 C

แปลงหน่ วย C เป็ น F โดย 96,487 C = 1 F

7,200 C = 7,200 x 1 F/ 96,487 C


=0.075 F # 52
Example 1.(ต่อ)

่ วลบ
ปฏิก ิรยิ าทีขั ้ (แคโทด) Ag+ (aq) + e-  Ag(s) แสดง
่ วแคโทดมี
ว่าทีขั ้ ร ับอิเล็กตรอน 1 โมล


ปริมาณไฟฟ้ า 1 F คือปริมาณไฟฟ้ าทีจะต ้องผ่านเข ้าไปในเซลล ์อิ
่ ้อิเล็กตรอน 1 โมลทาปฏิก ิรยิ าออกซิเดชัน-
เล็กโทรไลต ์ เพือให
รีดกั ชัน

ดังนั้นปริมาณไฟฟ้ า 1 F ทาให ้เกิดโลหะเงินได ้ 1 โมล = 107.868


กร ัม

ถ ้าปริมาณไฟฟ้ า 0.075 F จะทาให ้เกิดโลหะเงินหนัก = (0.075 F


x 107.868 กร ัม)/1 F
53
Example 2

จะต ้องใช ้เวลานานเท่าไร ในการแยก Cu 15.885 กร ัม จากสารละลาย CuSO4


โดยใช ้กระแสไฟฟ้ า 25 แอมแปร ์

วิธท
ี า หาปริมาณไฟฟ้ าเป็ นคูลอมป์ ทีท ่ าให ้เกิด Cu 15.885 กร ัม
่ วแคโทดมี
ปฏิก ิรยิ าทีขั ้ การร ับอิเล็กตรอน 2 โมล แสดงว่ามีการใช ้ปริมาณไฟฟ้ า
2F
Cu2+ + 2e-  Cu(s)

จากสมการ เกิด Cu(s) โมล


ดังนั้น ปริมาณไฟฟ้ า 1 F =96,487 C

ปริมาณไฟฟ้ า 2 F =2 F x 96,487 C/1F =192,974 C

54
Example 2(ต่อ)


เมือแยก Cu(s) 63.546 กร ัม (1 โมล) จะต ้องใช ้ปริมาณไฟฟ้ า 192,974 C

ถ ้าต ้องการแยก Cu(s) 15.885 กร ัม จะต ้องใช ้ปริมาณไฟฟ้ า


=(15.885 กร ัม x 192,974 C)/ 63.546 กร ัม
= 48,238.94 C

หาเวลาจากสูตร Q=I t

t=Q/I = 48,238.94 C/ 25 A =1929.52 s

ต ้องใช ้เวลา 1930 วินาที หรือ 32 นาที 16 วินาที

55
ประโยชน์ของเซลล ์อิเล็กโทรไลต ์
หลักการของเซลล ์อิเล็กโทรไลต ์ สามารถนาไป
ประยุ
ก ต ์ใช ้งานได ้ดั
ง นี ้
1.การชุบโลหะด ้วยไฟฟ้ า
2.การทาโลหะให ้บริสท ุ ธิ ์

1. การชุ
่ บโลหะด้วยไฟฟ้า (Electroplating)
หลักการทัวไปสาหร ับการชุบโลหะด ้วยไฟฟ้ า
่ บเป็ นแคโทด
1.ใช ้โลหะทีจะชุ
2.จะชุบด ้วยโลหะใดใช ้โลหะนั้นเป็ นแอโนด
่ นแอโนด
3.สารละลายอิเล็กโทรไลต ์ ต ้องมีไอออนของโลหะทีเป็

4.ใช ้ไฟฟ้ ากระแสตรง และควบคุมศักดิไฟฟ้ าของเซลล ์ให ้
เหมาะสม 56
1. การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า (Electroplating)
Ex. การเคลือบเงินบนช้อนสังกะสี


Anode (+) = โลหะทีจะใช ้เคลือบ (Ag)
่ กเคลือบ (ช ้อน
Cathode (-) = โลหะทีถู
สังกะสี)
Electrolyte ไอออนของโลหะทีจะใช่ ้เคลือบ
ขั ้
วบวก
(Ag+) Anode Oxidation
Ag (s) Ag+(aq) + e-

ขัวลบ CathodeReduction
Ag+ (aq)+ e-  Ag (s)
่ วยใน
สามารถใช ้กฏฟาราเดย ์เพือช่
การควบคุม
ปริมาณของสารเคลือบได ้
57
2. การทาโลหะให้บริสุทธิ ์
การทาโลหะให ้บริสท ุ ธิด์ ้วยกระบวนการอิเล็กโทรลิ
ซิส ใช ้หลักการเดียวกับกับการชุบด ้วยไฟฟ้ า โดยใช ้
่ สท
โลหะทีบริ ์ นแคโทด โลหะทีไม่
ุ ธิเป็ ่ บริสท ์ นแอโนด
ุ ธิเป็
และใช ้สารละลายทีมี ่ ไอออนของโลหะดังกล่าวเป็ นอิเล็ ก
โทรไลต ์ เช่นการทาทองแดงให ้บริสท ุ ธิ ์

โดยทัวๆไปจะได ่
้ทองแดงจากการถลุงแร่ ซึงจะมี
ความบริสท ุ ธิ ์ ไม่ เกิน 99% ทีเหลื
่ อจะเป็ นพวกสิงเจื
่ อปน
ต่าง ๆ เช่น Fe Ag Au Pt และ Zn ถ ้าใช ้
กระบวนการอิเล็กโทรลิซสิ เข ้าช่วย จะได ้ทองแดงทีมี ่ ความ
ุ ธิถึ์ ง 99.95% ในอุตสาหกรรมจะสร ้างเซลล ์ดังนี ้
บริสท
58
การทาโลหะทองแดงให้
บริสุ ท ธิ ์ ่ ้องการทาให ้
Anode (+) = Cu ทีต
โลหะ Cu + Trace of Fe, Zn
ุ ธิ ์
บริสท
ุ ธิ ์
Cathode (-) = Cu บริสท
Electrolyte

ขัวบวก
= CuSO4
Anode Oxidation
Cu Cu2+ + 2e- EoOx= -(+0.34) V
Fe  Fe2+ + 2e- EoOx= -(-0.44) V
Zn  Zn2+ + 2e- EoOx= -(-0.76) V


ขัวลบ Cathode Reduction
Cu2+ + 2e-  Cu EoRed= (+0.34) V
Fe2+ + 2e-  Fe EoRed= (-0.44) V
Zn2+ + 2e-  Zn Eo Red= (-0.76) V
59
การแยกธาตุออกจากสารประกอบ
Ex. การเตรียมโลหะโซเดียม จากเกลือ

ขัวลบ Cathode Reduction Na+(l) + e- Na (l) Na (s)

ขัวบวก Anode Oxidation 2Cl-(l) Cl2(g) + 2e-
รวม 2Na+(l) + 2Cl-(l)  Cl2(g) +2Na (l)  2Na (s)

Down cell

Anode : แกรไฟต ์
Cathode : Fe
ทรงกระบอก
Electrolyte : NaCl (l)
60
การบ้าน.
1. จงดุลสมการรีดอกซ ์ต่อไปนี ้
1.1 ) Cu (s) + Ag+ (aq) Cu2++ (aq) + Ag (s)
1.2) Cd (s) + H+ + NO3-  Cd2+ (aq) + NO (g) + H2O
1.3) Cr2O72- + H+ + H2C2O4  Cr3+ + H2O + CO2
1.4) Cr2O72- + H2S  Cr3+ + S ( in acid solution)

่ าหนดให้ จงตอบคาถามต่อไปนี ้
2. จากสารทีก
Li Li+ Cd Cd2+ Cu Cu2+ Ag Ag+
่ ทสุ
2.1) สารใดเป็ นตัวรีดวิ ซ ์ทีดี ี่ ด
่ ทสุ
2.2) สารใดเป็ นตัวออกซิไดส ์ทีดี ี่ ด
่ ดปฏิก ิรยิ าเมือน
2.3) . โลหะใดบ ้างทีเกิ ่ ามาจุม
่ ใน
่ Cd2+
สารละลายทีมี
61
การบ้าน(ต่อ)

3. จงหา Eocell ของเซลล ์


Zn(s)/Zn2+(1M)//Cu2+(1M)/Cu(s)

้ ้เอง
4. ปฏิก ิรยิ า 2Ag + Zn2+  2Ag+ + Zn เกิดขึนได
หรือไม่

่ ้างจากครึงเซลล
5. จงเขียนปฏิก ิรยิ ารีดอกซ ์ทีสร ่ ์ที่
กาหนดให ้

Ni2+ + 2 e- Ni Eo = -0.25 V


Na+ + e-  Na Eo = -2.71 V

62
แบบทดสอบ

1. กาหนดศักย ์ไฟฟ้ าของครึงเซล Cu|Cu2+=0.34 V. และ
Zn|Zn2+=-0.76 V. เซลล ์กัลวานิ ก ทีเกิ ่ ดจากครึงเซลล
่ ้
์ทังสองนี ้
ข ้อสรุปข ้อใดผิด

1) E0cell = E0 ทองแดง - E0 สังกะสี 2) ขัวแอโนดคื ้ งกะสี
อขัวสั
3) ตัวออกซิไดซ ์คือ Cu2+ 4) ตัวรีดวิ ซ ์คือ Zn

ข ้อใดกล่
2.5) ้ า วผิ
ด เกี
้ ่
ยวกั บเซลล ์อิเล็กโทรไลต ์
ขัวแอโนดคือขัวทองแดง
1) คือ กระบวนการเกิดปฏิก ิรยิ าทางเคมี โดยอาศัยพลังงาน
ไฟฟ้ าจากภายนอก
2) ขัว้ + ของเซลล ์เป็ นขัวที้ ต่
่ อกับขัว้ + ของแบตเตอรี่ และเป็ น

ขัวแคโทด

3) ขัวแคโทดเป็ นขัวที้ เกิ
่ ดปฏิก ิรยิ ารีดก
ั ชัน

4) ต ้องการชุบแหวนเงินให ้เป็ นแหวนทอง ขัวแคโทดจะเป็ น
แหวนเงิน 63
3. จากข ้อมูล Zn(s) / Zn2+ (aq.) // Ag+ (aq) / Ag(s)
้ ถูกต้อง
ข ้อใดต่อไปนี ไม่
1) Zn คือ ตัวรีดวิ ซ ์
2) Ag+ คือ ตัวออกซิไดซ ์
3) Ag มีเลขออกซิเดชันลดลง
4) ทิศทางการไหลของอิเล็กตรอนไหลจาก Zn(s) ไปยัง Ag(s)
5) ไม่มขี ้อใดกล่าวผิด

4. หากต ้องการเคลือบทองแดง (Cu) บนเส ้นลวดเหล็ก


(Fe) ต ้องทาเช่นไร

1) ต ้องนาลวดเหล็กเป็ นขัวแอโนด

2) ต ้องนาแท่ง Cu ต่อกับขัวบวกของแบตเตอรี ่
3) ต ้องมีแหล่งกาเนิ ดไฟฟ้ ากระแสสลับเป็ นแหล่งกาเนิ ด
ไฟฟ้ า
4) เส ้นลวดเหล็กต ้องแช่อยูใ่ นสารละลาย FeCl
64
้ั
5. หากมีขวไฟฟ้ าทาจาก Cu, Zn และ Mg
Cu2+(aq) + 2e-  Cu (s) ; Eo = 0.34 V
Zn2+(aq) + 2e-  Zn (s) ; Eo = -0.76 V
Mg2+(aq) + 2e-  Mg (s) ; Eo = -2.37 V
จงพิจารณาคากล่าวต่อไปนี ้
ก) EoCell ของปฏิก ิรยิ ารีดอกซ ์ Zn(s) + Cu2+(aq)  Cu(s) +
Zn2+(aq) มีคา่ 1.10 V
ข) EoCell ของปฏิก ิรยิ ารีดอกซ ์ Zn(s) + Mg2+(aq)  Mg(s) +
Zn2+(aq) มีคา่ 1.61 V
ค) หากนาขัว้ Cu วางร่วมกับขัว้ Mg จะพบว่าอิเล็กตรอนจะไหลจากขัว้ Mg
ไปยัง Cu
ข ้อใดกล่าวถู กต้อง
6.
1) เมื ่ ้อ กลถู
ข อดุ สมการรี
ก ดอกซ ์ต่อไปนี ้ สั2)มประสิ
ถูกทุทกธิ ์ ้อ H2O เป็3)
ขของ นเท่
ขา้อใด
ข และ ค
ถูกCrO2  H SO  H  Cr3  HSO  H O
27 2 3 4 2
4) ข ้อ ก และ ข ถูก 5) ข ้อ ก และ ค ถูก
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 5) 5 65
่ ลสมการรีดอกซ ์ต่อไปนี ้ สัมประสิทธิของ
7. เมือดุ ์ Cl2
เป็ นเท่าใด
4  KCl H2SO4  MnSO
KMnO 4  K2SO4  H2O Cl2
1) 1 2) 3 3) 5 4) 8
5) 10
่ ดขึน้ เมือผ่
8. จงคานวณมวลของ Cu ทีเกิ ่ านกระแสไฟฟ้ า 12.0 A ลง
ในสารละลาย CuSO4 เจือจางเป็ นเวลา 25.0 นาที (กาหนดให ้ Cu
= 63.5 และ 1 ฟาราเดย ์ = 96,487 คูลอมบ ์)
1) 1.97 กร ัม 2) 11.85 กร ัม 3) 5.93 กร ัม
4) 3.95 กร ัม 5) 29.6 กร ัม
่ านกระแสไฟฟ้ า 2.7 A ลงในสารละลาย lead nitrate เจือจาง
9. เมือผ่

เป็ นเวลา 1.00 ชัวโมง ่ ดขึนที
จงคานวณจานวนโมลของผลิตภัณฑ ์ทีเกิ ้ ่
แอโนด(กาหนดให ้ 1 ฟาราเดย ์ = 96,487 คูลอมบ ์)
Pb2+ + 2e-  Pb E = -0.13
V.
O2 + 4H++ 4e-  2H2O E° = 1.23 66 V.

You might also like