You are on page 1of 29

เรื่องที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีรอบตัว

เรื่องที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีรอบตัว
❖ คาสาคัญ
- ปฏิกิริยาของกรดกับเบส
- ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ
- ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ
- การเกิดสนิมเหล็ก
- การเผาไหม้
- การเกิดฝนกรด
- การสังเคราะห์แสง
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน

เขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อความ


ที่ไม่ถูกต้อง
1. สารที่เข้าทาปฏิกิริยาเคมีเป็นสารตั้งต้น ส่วนสารใหม่ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมีเป็น
ผลิตภัณฑ์
2. อะตอมของสารตั้งต้นจะไม่สูญหายไประหว่างการเกิดปฏิกิริยาเคมี แต่อะตอมจะ
จัดเรียงตัวเปลี่ยนไปเกิด เป็นสารใหม่
3. ปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายโอนความร้อนจากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบจัดเป็นปฏิกิริยา
คายความร้อน
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
1. ปฏิกิริยาของกรดกับเบส
เมื่อเติมสารละลายเบสลงในสารละลายที่มีความเป็นกรด พบว่า สารละลายที่ได้มีค่า PH สูงขึ้น
แสดงว่า เบสที่เติมลงไปทาให้สารละลายมีความเป็นกรดน้อยลง
เมื่อเติมสารละลายกรดลงในสารละลายเบส สารละลายที่ได้จะมีค่า PH ต่ากว่าสารละลายเบส
ที่เป็นสารตั้งต้น แสดงว่ากรดที่เติมลงไปทาให้สารละลายมีความเป็นเบสน้อยลง การเปลี่ยนแปลง
ดังกล่าวเป็นการเกิดปฏิกิริยาของกรดกับเบส (acid-base reaction)
ผลิตภัณฑ์ที่ได้ จะได้สารประกอบประเภทเกลือและน้า
*ถ้าเติมเกลือละลายในน้าน้อยหรือไม่ละลาย จะได้ตะกอน
*ถ้าเกลือละลายน้าได้ดี จะได้สารละลายใส
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
1. ปฏิกิริยาของกรดกับเบส (ต่อ)

ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นสามารถเขียนด้วยสมการข้อความได้ดังนี้ กรด+เบส เกลือ + น้า

เช่น กรดซัลฟิวริก (..................) + แบเรียมไฮดรอกไซด์ (.................) แบเรียมซัลเฟต (................) + น้า (.............)

กรดไฮโดรคลอริก (..................) + โซเดียมไฮดรอกไซด์ (.................) โซเดียมคลอไรด์ (................) + น้า (.............)

กรดไนตริก (..................) + แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (.................) แคลเซียมไนเตรต (................) + น้า (.............)

กรดไฮโดรคลอริก (.............) + แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ (.................) แอมโมเนียมคลอไรด์ (................) + น้า (.............)

กรดแอซิติก (.....................) + โซเดียมไฮดรอกไซด์ (.................) โซเดียมแอซิเตด (......................) + น้า (.............)


ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
สรุปว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมีของ กรดกับเบส (acid-base reaction) จะทาให้สารละลายที่ได้มีความเป็น
กรด-เบส ลดลง เมื่อเทียบกับสารตั้งต้น ปฏิกิริยานี้ส่วนใหญ่จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารประกอบประเภทเกลือและน้า
ถ้าเกลือที่เกิดขึ้นละลายในน้าได้น้อย หรือไม่ละลาย จะเห็นเป็นตะกอน ถ้าเกลือที่เกิดขึ้นละลายได้ดีในน้า จะเห็น
เป็นสารละลายใส ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น สามารถเขียนแทนได้ด้วยสมการข้อความ ดังนี้ กรด + เบส → เกลือ + น้า

ค่าพีเอชของสารละลายหลังเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดและเบสเป็นอย่างไร ?

▪ มีค่าพีเอชสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับสารละลายกรดที่เป็นสารตั้งต้น
▪ และมีค่าพีเอชต่่าลง เมื่อ เทียบกับสารละลายเบสที่เป็นสารตั้งต้น
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
2. ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ
เป็นปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดกับโลหะ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและแก๊สไฮโดรเจน
(hydrogen gas หรือ H2) เช่น ปฏิกิริยาระหว่างสังกะสีกับกรดไฮโดรคลอริก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นซิงค์คลอ
ไรด์และแก๊สไฮโดรเจน ดังสมการ Zn (s) + HCL (aq) ZnCl2 (aq) + H2 (g)
Mg (s) + H2SO4 (aq) MgSO4 (aq) + H2 (g) ***** ส่วนใหญ่เมื่อกรดทำปฏิกิริยำกับ โลหะ ได้
ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและแก๊สไฮโดรเจน ปฏิกิริยำ
Fe (s) + HCL (aq) FeCl2 (aq) + H2 (g) ระหว่ำงกรดกับโลหะ เขียนแทนได้ด้วยสมกำรดังนี้
กรด + โลหะ → เกลือของโลหะ + แก๊สไฮโดรเจน
Mg (s) + HCL (aq) MgCl2 (aq) + H2 (g)
ยกตัวอย่างแบบจ่าลองการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอม
เมื่อเกิดปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับสังกะสี
2. ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ (ต่อ)

กิจกรรมเสริม ออกแบบวิธีการทดสอบแก๊สจากปฏิกิริยาเคมีได้อย่างไร

ตัวอย่างผลการทากิจกรรมเสริม
• แก๊สไฮโดรเจน ทดสอบการติดไฟ โดยใช้ธูปที่ลุกเป็นเปลวไฟไปจ่อบริเวณที่เกิดแก๊ส ถ้ามีแก๊ส
ไฮโดรเจน จะพบว่ามี เสียงดัง ถ้ามีแก๊สไฮโดรเจนในปริมาณมาก จะเห็นแก๊สลุกติดไฟ
• แก๊สออกซิเจน ทดสอบการติดไฟ โดยใช้ธูปที่เป็นถ่านแดงไปจ่อบริเวณที่เกิดแก๊ส ถ้ามีแก๊ส
ออกซิเจน จะพบว่ามี เปลวไฟเกิดขึ้นที่ธูป
• แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ทดสอบการเกิดตะกอน โดยผ่านแก๊สลงไปทาปฏิกิริยากับสารละลาย
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรือน้าปูนใส ถ้ามีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะพบว่ามีตะกอนสีขาวขุ่นของ
แคลเซียมคาร์บอเนต
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
ตัวอย่างผลจากปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ เช่น

กำรผุกร่อนของหลังคำสังกะสีเมื่อทำปฏิกิริยำกับน้ำฝนที่มีสมบัติเป็นกรด กำรกัดกร่อนตะกั่วเรื่องจำกกรดซัลฟิวริกในแบตเตอรี่
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
3. ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ
เป็นปฏิกิริยาเคมีระหว่างเบสกับโลหะบางชนิด เบสทาปฏิกิริยากับสังกะสีและอะลูมิเนียมได้
ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะและแก๊สไฮโดรเจน (hydrogen gas หรือ H2) เช่น โซเดียมไฮดรอกไซด์
(sodium zincate หรือ Na2ZnO2) ซึ่งเป็นเกลือของสังกะสีและแก๊สไฮโดรเจน เขียนแทนได้ด้วยสมการ
ข้อความ ดังนี้ โซเดียมไฮดรอกไซด์ + สังกะสี โซเดียมซินเกต + แก๊สไฮโดรเจน
NaOH2 (aq) + Zn (s) Na2ZnO2 (aq) + H2 (g)

ภาพ : แบบจาลองแสดงการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับสังกะสี
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
3. ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ (ต่อ)

เมื่อเบสทาปฏิกิริยาเคมีกับโลหะจะได้ผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นไปตามสมการ ดังนี้
เบส + โลหะ เกลือของโลหะ + แก๊สไฮโดรเจน
เช่น - ปฏิกิริยาระหว่างสังกะสีกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้ผลิตภัณฑ์เป็นโซเดียมซิงค์เคตและแก๊สไฮโดรเจน
ดังสมการ Zn (s) + 2NaOH (aq) Na2ZnO2 (s) + H2 (g)
สังกะสี โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมซิงค์เคต แก๊สไฮโดรเจน

- ปฏิกิริยาระหว่างอะลูมิเนียม โซเดียมไฮดรอกไซด์และน้า ได้ผลิตภัณฑ์เป็นโซเดียมอะลูมิเนตและแก๊สไฮโดรเจน


ดังสมการ
2Al (s) + 2NaOH (aq) + 2H2O 2Na2AlO2 (s) + 3H2 (g)
อะลูมิเนียม โซเดียมไฮดรอกไซด์ น้า โซเดียมอะลูมิเนต แก๊สไฮโดรเจน
ปฏิกิริยาเคมีในชีวติ ประจาวัน
จงตอบคาถาม (หนังสือเรียน สสวท.หน้า 23)
❑ ถ้าใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์หรือโซดาไฟล้างท่อที่ทาจากโลหะ เนื่องจากท่ออุดตัน นักเรียนคิดว่า เหมาะสม
หรือไม่ เพราะเหตุใด
❑ ..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

❑ ในบางพื้นที่มีการบรรจุลูกโป่งด้วยแก๊สที่ได้จากปฏิกิริยาของเบสกับอะลูมิเนียม นักเรียนคิดว่าแก๊สที่ได้เป็น
แก๊สชนิดใด และการบรรจุแก๊สดังกล่าวในลูกโป่งมีอันตรายหรือไม่ อย่างไร
❑ .............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
4. การเกิดสนิมเหล็ก (rusting)
เป็นปฏิกิริยาเคมีระหว่างเหล็ก น้า และแก๊สออกซิเจน ได้ผลิตภัณฑ์เป็นสนิมของเหล็ก ดังสมการ
4Fe (s) + 3O2 (g) + 3H2O(l) 2Fe2O3.3H2O (s)
เหล็ก แก๊สออกซิเจน น้า สนิมของเหล็ก
ตอบค่าถามค่ะ

• ถ้านาตะปูเหล็กวางไว้เป็นระยะเวลานาน นักเรียนคิดว่าจะเกิดสนิมหรือไม่ เพราะเหตุใด

• ถ้านาตะปูเหล็กวางไว้ในบริเวณที่ไม่มีแก๊สออกซิเจน ตะปูเหล็กจะเกิดสนิมหรือไม่ เพราะเหตุใด

• ถ้าเหล็กในโครงสร้างอาคารมีสนิมเกิดขึ้น จะส่งผลเสียต่ออาคารอย่างไร
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
5. ปฏิกิริยาการเผาไหม้ (combustion reaction) เป็นปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารกับแก๊สออกซิเจน
สารที่เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้ส่วนใหญ่เป็นสารที่มีธาตุคาร์บอน (C) และไฮโดรเจน (H) เป็นองค์ประกอบ
หลัก เรียกว่า สารประกอบไฮโดรคาร์บอน เช่น แก๊สมีเทน (CH4) แก๊สโพรเพน (C3H8) แก๊สบิวเทน
(C4H10) ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน + แก๊สออกซิเจน นา + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
5. ปฏิกิริยาการเผาไหม้ (ต่อ)
1. ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบสมบูรณ์
CH4 (g) + 2O2 (g) CO2 (g) + 2H2O (l) + พลังงาน
แก๊สมีเทน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า
C3H8 (g) + 5O2 (g) 3CO2 (g) + 4H2O (l) + พลังงาน
แก๊สโพรเพน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า
2. ปฏิกิริยาการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์
2CH4 (g) + 3O2 (g) 2CO (g) + 4H2O (l) + พลังงาน + เขม่าควัน
แก๊สมีเทน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า

2C3H8 (g) + 7O2 (g) 6CO (g) + 8H2O (l) + พลังงาน + เขม่าควัน
แก๊สโพรเพน แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน

6. การเกิดฝนกรด เป็นปฏิกิริยาเคมีระหว่างน้าฝนกับออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) หรือออกไซด์ของ


ซัลเฟอร์ (SOx) ทาให้น้าฝนมีสมบัติเป็นกรด เช่น
- ฝนกรดที่เกิดจากออกไซด์ของไนโตรเจน เช่น แก๊สไนตริกออกไซด์ (NO) แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) แก๊ส
ไนตรัสออกไซด์ (N2O) ทาให้เกิดกรดไนตริก (HNO3) ดังตัวอย่าง

2NO (g) + O2 (g) 2NO2 (g)


แก๊สไนตริกออกไซด์ แก๊สออกซิเจน แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์

3NO2 (g) + H2O (l) 2HNO3 (aq) + NO (g)


แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ น้า แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ แก๊สไนตริกออกไซด์
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน

6. การเกิดฝนกรด (ต่อ)
- ฝนกรดที่เกิดจากออกไซด์ของซัลเฟอร์ เช่น แก๊สไซด์เฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3)
ทาให้เกิดกรดซัลฟิวริก (H2SO4) ดังตัวอย่าง

2SO (g) + O2 (g) 2SO3 (g)


แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สออกซิเจน แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์

SO3 (g) + H2O (l) H2SO4 (aq)


แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ น้า กรดซัลฟิวริก
6. การเกิดฝนกรด (ต่อ)
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
7. การสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) เป็นปฏิกิริยาเคมีระหว่างแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับน้า ได้ผลิตภัณฑ์
เป็นน้าตาลกลูโคสและแก๊สออกซิเจน โดยมีแสงช่วยในการเกิดปฏิกิริยาและมีคลอโรฟิลล์เป็นสารสีที่ช่วยดูดกลืน
พลังงานแสง ดังสมการ
6CO2 (g) + 6H2O (l) C6H12O6 (aq) + 6O2 (g)
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า กลูโคส แก๊สออกซิเจน
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
8. ปฏิกิริยาของกรดกับสารประกอบคาร์บอเนต เป็นปฏิกิริยาเคมีระหว่างกรดกับสารประกอบคาร์บอเนต ได้
ผลิตภัณฑ์เป็นเกลือของโลหะ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้า เช่น
- ปฏิกิริยาระหว่างแคลเซียมคาร์บอเนตหรือหินปูนกับกรดซัลฟิวริก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมซัลเฟต แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์และน้า ดังสมการ
CaCO3 (S) + H2SO4 (aq) CaSO4 (S) + CO2 (g) + H2O (l)
แคลเซียมคาร์บอเนต กรดซัลฟิวริก แคลเซียมซัลเฟต แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า

- ปฏิกิริยาระหว่างแมกนีเซียมคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรคลอริก ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแมกนีเซียมคลอไรด์ แก๊ส


คาร์บอนไดออกไซด์และน้า ดังสมการ
MgCO3 (S) + 2HCl (aq) MgCl2 (aq) + CO2 (g) + H2O (l)
แมกนีเซียมคาร์บอเนต กรดไฮโดรคลอริก แมกนีเซียมคลอไรด์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า
ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมี
ประโยชน์ของปฏิกิริยาเคมี
- การปรับสภาพน้าทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม
- การสร้างพลังงานความร้อน
- การสร้างแก๊สออกซิเจนและน้าตาลกลูโคส
- การตกตะกอนไอออนของโลหะหนักบางชนิด
- การเกิดหินงอกหินหินย้อย
ประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมี
โทษของปฏิกิริยาเคมี
- ฝนกรด
- แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
- สนิมเหล็ก
- ปรากฎการณ์เรือนกระจก
- หมอกควัน
ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดท้ายบท หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(สสวท.เล่ม 2 ) หน้าที่ 35

1. พิจารณาสมการต่อไปนี้ แล้วตอบคาถาม
I. แก๊สบิวเทน + แก๊สออกซิเจน → แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ + น้า
II. แคลเซียมคาร์บอเนต → แคลเซียมออกไซด์ + แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
III. โซเดียมไฮดรอกไซด์ + สังกะสี → เกลือของสังกะสี + แก๊สไฮโดรเจน
IV. กรดซัลฟิวริก + สังกะสี → เกลือของสังกะสี + แก๊สไฮโดรเจน
สมการใดแสดงปฏิกิริยาการเผาไหม้ ทราบได้อย่างไร *

2. การเผาแคลเซียมคาร์บอเนตที่อณ ุ หภูมิสงู จะได้ของแข็งสีขาวและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เมื่อเผา


แคลเซียมคาร์บอเนต ปริมาณ 10 กรัมจนหมด จะได้ของแข็งสีขาว 5.6 กรัม ปฏิกิรยิ านีม้ ีแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึน้ กี่กรัม ทราบได้ อย่างไร *
แบบฝึกหัดท้ายบท
3. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของปฏิกิริยาเคมี 3 ปฏิกิริยา โดยวัดอุณหภูมิของสารก่อนและหลัง
เกิดปฏิกิริยาเคมี ได้ผลดังตาราง

ถ้าต้องการปฏิกิริยาเคมีที่ให้พลังงานความร้อน เพื่อนาความร้อนนั้นมาใช้ในการบ่มผลไม้ ปฏิกิริยาเคมี


ใดบ้างที่ สามารถนามาใช้ได้ เพราะเหตุใด *
แบบฝึกหัดท้ายบท
4. เมื่อผสมสารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์กับสารละลายแอมโมเนียมคลอไรด์เข้าด้วยกัน พบว่ามีเกล็ดน้าแข็ง
เกาะ อยู่ข้างภาชนะ ปฏิกิริยาเคมีนี้เป็นปฏิกิริยาดูดหรือคายความร้อน ทราบได้อย่างไร *

5. เลือกตัวอักษรหน้าชื่อปฏิกิริยาเคมีมาเติมในช่องว่างให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่กาหนดให้ (บาง
สถานการณ์ อาจตอบได้มากกว่า 1 ปฏิกิริยา) *
ก. ปฏิกิริยาของกรดกับเบส ข. ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ
ค. ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ ง. การเกิดสนิม
จ. การเกิดฝนกรด ฉ. การสังเคราะห์ด้วยแสง
ช. การเผาไหม
แบบฝึกหัดท้ายบท
6. การเผาถ่านให้เกิดการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์และไม่สมบูรณ์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร *

7. เพราะเหตุใด น้าฝนที่พบทั่วไปจะมีความเป็นกรดอ่อน ๆ ในขณะที่น้าฝนตามแหล่งโรงงานอุตสาหกรรม


มักจะมีความเป็นกรดมากกว่าปกติ *

8. ในการต่อเรือ จะมีวิธีการป้องกันอย่างไรให้โครงสร้างของเรือที่เป็ นเหล็กเกิดสนิมได้ช้า้ ลง *

9. กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช้มีความสาคัญต่อสิ่งมีช้ีวิตและสิ่งต่าง ๆ รอบตัวอย่างไร *


จบการน่าเสนอ

You might also like