You are on page 1of 20

ละคร

ชาตรี
ละครชาตรี นับเป็ นละครที่
มีมาแต่สมัยโบราณ และมีอายุ
เก่าแก่กว่าละครชนิดอื่นๆมี
ลักษณะ
เป็ นละครเร่คล้ายของอินเดียที่
เรียกว่า
"ยาตรี"
หรือ "ยาตราซึ่งแปลว่าเดินทาง
ท่องเที่ยวละครยาตรานีค ้ ือละคร
พื้นเมืองของชาวเบงคลีในประเทศ
อินเดีย ซึ่งเป็ นละครเร่นิยมเล่น
เรื่อง "คีตโควินท์"
ละครยาตราเกิดขึน้ ในอินเดีย
นานแล้วส่วนละครรำของไทยเพิ่ง
จะเริ่มเล่นในสมัยตอนต้นกรุง
ศรีอยุธยา
จึงอาจเป็ นได้ที่ละครไทยอาจได้
แบบอย่างจากละครอินเดีย
เนื่องจากศิลปวัฒนธรรมของ
อินเดียแพร่หลายมายังประเทศ
ต่างๆในแหลมอินโดจีน เช่น พม่า
มาเลเซีย เขมร และไทยจึงทำให้
ประเทศเหล่านีม ้ ีบางสิ่งบางอย่าง
คล้ายกันอยู่มาก
ในสมัยโบราณละครชาตรีเป็ น
ที่นิยมแพร่หลายทางภาคใต้ของ
ไทยเรื่องที่แสดงคงจะนิยมเรื่อง
พระสุธนนางมโนห์รา จึงเรียกการ
แสดงประเภทนีว ้ ่า "โนห์ราชาตรี"
เพราะชาวใต้ชอบพูดตัดพยางค์
หน้าสันนิษฐานว่าละครชาตรี
ในสมัยรัชกาลที่ ๖ ได้มีผู้คิดนำ
เอาละครชาตรีกับละครนอกมา
ผสมกัน เรียกว่า "ละครชาตรีเข้า
เครื่อง" หรือ "ละครชาตรีเครื่อง
ใหญ่"การแสดงแบบนีบ ้ างทีก็มี
ฉากแบบละครนอก แต่บางครัง้ ก็
ไม่มีฉากอย่างละครชาตรี ดนตรี
ที่ใช้ประกอบก็ใช้แบบผสมคือ
        วิธีการแสดงก็ใช้ทงั ้ ละคร
ชาตรี และละครนอกปนกันการ
แสดงแบบนีย ้ ังเป็ นที่นิยมมาถึง
ปั จจุบันและนิยมมาแสดงเป็ น
ละครแก้บนตามสถานที่ต่างๆ
ผู้แสดง
      ในสมัยโบราณจะใช้ผู้ชายแสดง
ล้วนมีตัวละครเพียง ๓ ตัว คือ ตัว
นายโรง ตัวนาง และตัวตลกแต่มาถึง
ยุคปั จจุบันมักนิยมใช้ผู้หญิงเป็ นผู้
แสดงเสียส่วนใหญ่
การแต่งกาย
       ละครชาตรีแต่โบราณไม่
สวมเสื้อเพราะทุกตัวใช้ผู้ชาย
แสดงตัวยืนเครื่องซึ่งเป็ นตัวที่
แต่งกายดีกว่าตัวอื่นก็นุ่งสนับ
เพลานุ่งผ้าคาดเจียระบาดมี
ห้อยหน้า ห้อยข้าง สวม
สังวาล ทับทรวง กรองคอกับ
ตัวเปล่าบนศีรษะสวมเทริด
เท่านัน

การผัดหน้าในสมัยโบราณใช้
ขมิน้ ลงพื้นสีหน้าจนนวลปน
เหลืองไม่ใช่ปนแดงอย่างเดี๋ยวนี ้
ส่วนการแต่งกายในสมัยปั จจุบัน
มักนิยมแต่งเครื่องละครสวยงาม
เรียกตามภาษาชาวบ้านว่า "เข้า
เครื่องหรือยืนเครื่อง"
การแต่งกายละครชาตรีโบราณ
เรื่องที่แสดง
     ในสมัยโบราณละครชาตรี
นิยมแสดงเรื่องจักรๆวงศ์ๆ โดย
เฉพาะเรื่องพระสุธนนางมโนห์รา
กับรถเสน (นางสิบสอง)
นอกจากนีย ้ ังมี บทละครชาตรีที่
นำมาจากบทละครนอก แก้ว
หน้าม้า ตะเพียนทอง สังข์ทอง
วงษ์สวรรค์ - จันทวาท โม่งป่ า
พระพิมพ์สวรรค์ สุวรรณหงส์ ตอ
นกุมภณฑ์ถวายม้า โกมินทร์ พิกุล
ทอง พระทิณวงศ์ กายเพชรกาย
สุวรรณ อุณรุฑ พระประจงเลขา
จำปาสี่ต้น ฯลฯเรื่องเหล่านีเ้ ป็ นที่
นิยมกันมากในสมัย ๖๐ ปี มาแล้ว
ต้นฉบับบางเรื่องยังหาไม่พบก็มี
การแสดง
          เริ่มต้นจะต้องทำพิธีบูชา
ครูเบิกโรง ตัวยืนเครื่องออกมารำ
ซัดหน้าบทตามเพลงการรำซัดนี ้
สมัยโบราณขณะร่ายรำผู้แสดง
จะต้องว่าอาคมไปด้วย เพื่อ
ป้ องกันเสนียดจัญไรและการกระ
ทำย่ำยีต่างๆ
ต่อจากรำซัดหน้าบทเวียนซ้าย
แล้วก็เริ่มจับเรื่องตัวแสดงขึน ้ นั่ง
เตียงแสดงต่อไป การแสดงละคร
ชาตรีตัวละครร้องเองไม่ต้องมีต้น
เสียงตัวละครที่นั่งอยู่ที่นน
ั ้ ก็เป็ น
ลูกคู่ไปในตัวและเมื่อเลิกการ
แสดงจะรำซัดอีกครัง้ หนึ่ง
ดนตรี
      วงดนตรีปี่พาทย์ที่ประกอบ
การแสดงมี ปี่ สำหรับทำทำนอง
๑ โทน ๒ กลองเล็ก (เรียกว่า
"กลองชาตรี") ๒ และฆ้อง ๑ คู่
แต่ละครชาตรีที่มาแสดงกันใน
กรุงเทพฯ นีม
้ ักตัดเอาฆ้องคู่ออก
ใช้ม้าล่อแทน ซึ่งเป็ นประเพณีสืบ
สถานที่แสดง
      ใช้บริเวณบ้าน ที่กลางแจ้ง หรือ
ศาลเจ้าก็ได้ไม่ต้องมีสิ่งใดประกอบ
มากมาย แม้ฉากก็ไม่ต้องมีบริเวณที่
แสดงนอกจากมีหลังคาไว้บังแดดบังฝน
ตามธรรมดา โบราณใช้เสา ๔ ต้น ปั ก ๔
มุมเป็ นสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีเตียง ๑ เตียง
จะลงเสากลางซึ่งถือว่าเป็ นเสามหาชัย
อีก ๑เสา เสานีส ้ ำคัญมาก
ภาพตัวอย่างคณะละคร
ชาตรี
ในปั จจุบัน
คณะทัศนียน ิ ป์
์ าฏศล

You might also like