You are on page 1of 11

องค์ประกอบของบทละคร

อริสโตเติล ปราชญ์ชาวกรีก ได ้กล่าวถึงองค์ประกอบ


ื เรือ
ของบทละครไว ้ในหนังสอ ่ ง Poetics ซงึ่ ถือกันว่าเป็ น
ตำราทางการละครเล่มแรกของโลก โดยจำแนกองค์
ประกอบของบทละครตามลำดับความสำคัญไว ้ 6 สว่ น
1. โครงเรื่ อง (Plot)

ลำดับของเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน ้ ในบทละคร ตัง้ แต่จด ุ เริม


่ การพัฒนาเรือ ่ ง ไป
จนถึงจุดจบ คำว่า “โครงเรือ ่ ง” (Plot) แตกต่างจาก “เรือ่ ง” (Story) เพราะเมือ
่ พูด
ถึง “เรือ
่ ง”จะหมายถึง เนือ
้ หาหรือวัตถุดบ ิ ทีน
่ ักเขียนบทละครนำมาสร ้างเป็ น
โครงเรือ ่ ง

โครงเรือ
่ งทีด
่ จ
ี ะต ้องมีความสมบูรณ์ในตัวของมันเอง ประกอบด ้วยด ้วยตอน
ต ้น ตอนกลางและตอนจบ โดยเหตุการณ์ทก ุ อย่างทีเ่ กิดขึน
้ จะต ้องมีความ
ั พันธ์กน
สม ั อย่างสมเหตุสมผล ในบทละครทีม ่ ก
ี ารวางโครงเรือ ่ งอย่างรัดกุม จึง
ไม่สามารถตัดฉากใดฉากหนึง่ ออกไปได ้โดยไม่กระทบกระเทือนกับฉากอืน ่
2. ตัวละคร (Character)

ในองค์ประกอบเรือ ่ งตัวละครนี้ อริสโตเติลหมายความถึง


ทัง้ ตัวละครในฐานะผู ้กระทำในเรือ ่ ง และการวางลักษณะนิสยั
ของตัวละคร ทีม ่ ก
ี ารพัฒนาหรือเปลีย ่ นแปลงไปเนือ
่ งจาก
เหตุการณ์ทเี่ ข ้ามากระทบกับชวี ต ิ

การกระทำในละครเกิดขึน ้ จากความต ้องการหรือจุดมุง่


หมายของตัวละคร (Objective) โดยตัวละครหลักทีเ่ ป็ นผู ้ดำเนิน
่ งเรียกว่า Protagonist สว่ นตัวละครทีเ่ ข ้ามาขัดขวางหรือเป็ น
เรือ
ฝ่ ายตรงข ้ามกับตัวละครหลัก เรียกว่า Antagonist
2. ตัวละคร (Character)

ในละครแต่ละเรือ ่ ง แต่ละประเภทอาจให ้ความสำคัญกับลักษณะด ้านต่างๆ ไม่


เหมือนกัน เชน ่ ละครคอเมดีอาจไม่ให ้ความสำคัญกับมิตท ิ างจิตวิทยาของตัวมากนัก
ู ลักษณ์และสถานะทางสงั คม ขณะทีล
แต่เน ้นไปทีร่ ป ่ ะครแนวสจ ั นิยมจะเน ้นทีม
่ ต
ิ ิ
ภายในของตัวละคร ภูมห ่ ง่ ผลต่อการกระทำของตัวละคร ทัง้ นี้
ิ ลังและบริบทต่างๆ ทีส
ในบทละครจะมีวธิ น ี ำเสนอลักษณะของตัวละครอยู่ 4 วิธ ี ได ้แก่

 คำบรรยายของผู ้เขียน
 คำพูดของตัวละครตัวนัน้
 คำพูดของตัวละครอืน

 การกระทำของตัวละคร
3. ความคิด (Thought)

ความหมายของเรือ ่ ง หรือข ้อสรุปทีไ่ ด ้จากเรือ


่ งราวทีเ่ กิดขึน
้ ใน
ละคร ปั จจุบน ้ า แก่นเรือ
ั นิยมใชคำว่ ่ ง (Theme) การแสดง “ความคิด”
ทีอ ้ จะต ้องแสดงผ่านสงิ่ ทีเ่ กิดขึน
่ ยูใ่ นละครนัน ้ ในละคร โดยมี
ความกลมกลืนกับโครงเรือ ่ งและตัวละคร ผู ้ชมจะได ้รับความคิด
นัน
้ จากการติดตามเรือ ่ งราวในละคร
4. การใช้ ภาษา (Diction)

ศลิ ปะของการถ่ายทอดเรือ
่ งราวและความคิดของผู ้ประพันธ์ออกมาทาง
คำพูดของตัวละคร

ในนวนิยายหรือเรือ ั ้ ผู ้เขียนสามารถนำเสนอลักษณะของตัวละคร
่ งสน
ไปจนถึงความรู ้สกึ นึกคิดทีอ ่ ยูภ
่ ายในจิตใจ โดยผ่านการบรรยายหรือ
พรรณนา ขณะทีบ ่ ทละครมีข ้อจำกัดทีต ่ ้องนำเสนอเป็ นภาพการแสดง การ
เขียนบทละครจึงต ้องทำให ้ผู ้ชมสามารถเข ้าใจตัวละครได ้โดยผ่านคำพูด
และการกระทำของตัวละคร การเลือกใชถ้ ้อยคำในบทละครจึงต ้องสม ั พันธ์
กับลักษณะของตัวละคร เหตุการณ์ทเี่ กิดขึน ้ และประเภทของละครด ้วย
5. เพลง (Song)

ศล ิ ปะของการถ่ายทอดเรือ ่ งราวและความคิดของผู ้ประพันธ์ออกมาทางบทเพลงทีต ่ วั


ละครจะต ้องขับร ้อง ทีอ ่ ริสโตเติลกล่าวถึงเพลงในฐานะองค์ประกอบของบทละครนัน ้ เป็ น
เพราะละครกรีกโบราณทีอ ่ ริสโตเติลนำมาเป็ นแบบอย่างในการวิเคราะห์ เป็ นละครทีต
่ ้อง
มีกลุม ิ้
่ นักร ้อง (Chorus) ขับร ้องเพลงทัง้ สน

นักการละครในปั จจุบนั ได ้ประยุกต์เรือ ่ งของเพลงมาใช ้ โดยหมายรวมถึงเสย ี งทีค


่ นดู
ได ้ยินทัง้ หมดในระหว่างทีด ู ะคร ซงึ่ แบ่งได ้เป็ น เสียงที่นกั แสดงพูด, เพลงและดนตรี และเสียงประกอบ
่ ล
ศิลปะในการเลือกใช้ เสียงในละคร ไม่วา่ จะเป็ น จังหวะ การเน้ น ความดัง-เบา ฯลฯ สามารถสร้ างอารมณ์ร่วมให้ กบั คนดูได้ อย่าง
มาก
6. ภาพ (Spectacle)

สงิ่ ทีค
่ นดูมองเห็นทัง้ หมดในระหว่างการดูละคร ไม่วา่ จะเป็ น
ท่าทางและสงิ่ ทีน ่ ักแสดงทำ ไปจนถึง ฉาก แสง เครือ ่ งแต่งกาย
การแต่งหน ้า ฯลฯ เป็ นหน ้าทีข ิ ปิ นนักการละครด ้านต่างๆ ที่
่ องศล
จะสร ้างสรรค์ภาพบนเวทีขน ึ้ จากการวิเคราะห์โครงเรือ
่ ง ตัวละคร
ความคิด และภาษาทีป ่ รากฏในบทละคร
โครงเรือ่ ง ตัวละคร และ ความคิด คือเนือ ้ หา
สาระของบท เปรียบเสมือนวิญญาณทีอ ่ ยู่
ภายใน ขณะที่ ภาษา เพลง และ ภาพ เปรียบ
เสมือนร่างกายของบทละคร ทีม ่ ห
ี น ้าทีส ื่ สาร
่ อ
และถ่ายทอดเนือ ้ หาสาระทีอ
่ ยูภ
่ ายในไปสูผ ่ ู ้ชม
เรียบเรียงจาก :

 กรมวิชาการ(2524). ศล ิ ปะการละครเบือ ้ งต ้น 1-2. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้ าว.


 นพมาส แววหงส์ (2550). ปริ ทศั น์ศิลปการละคร. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษร
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

You might also like