You are on page 1of 7

กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าชา้

ผูแ ิ ปสาร
้ ต่ง          พระยาอุปกิตศล

ล ักษณะคำประพ ันธ์          

้ แ
                   กลอนดอกสร ้อยรำพึงในป่ าชานี ้ ต่งเป็ นกลอนดอกสร ้อย บทดอกสร ้อยบทหนึง่
ประกอบด ้วยกลอนสุภาพ
จำนวน ๒ บท หรือคำกลอน (มี ๔ วรรค) แต่วรรคแรกประกอบด ้วยคำ ๔ – ๕ คำ โดยคำที่ ๒ ของ
วรรคแรกจะใชคำ ้ “ เอ๋ย ” และจบคำ สุดท ้ายของบทด ้วยคำว่า “ เอย ” สว่ นลักษณะคำสม
ั ผัสเป็ น
เหมือนกลอนสุภาพ 1 บทมี 8 วรรค ดังแผนผัง

ทีม
่ า         คำประพันธ์บางเรือ
่ ง


                  กลอนดอกสร ้อยรำพึงในป่ าชามาจากบทกวี นพิ นธ์เรือ
่ ง Elegy Writen in a Country
Churchyard ของทอมมัส เกรย์
(Thormas Gray) กวีองั กฤษผู ้มีชวี ต ิ อยูใ่ นชว่ ง (กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ) กวีนพ ิ นธ์บทนีเ้ ขียน
ขึน้ ทีส่ ส
ุ านเก่าแก่ของเมือง
สโตกโปจส ์ (Stoke Poges) ในมณฑลบักกิงแฮมเชอร์ (Buckinghamshire) เมือ ่ ประมาณ พ.ศ.
2285 หลังจากการมรณกรรมของญาติใกล ้ชด ิ และเพือ
่ นรักของเกรย์ในเวลาไล่เลีย ่ กัน โดยทั่วไป
งานประพันธ์ประเภท elegy (ราชบัณฑิตยสถานใชว่้ า บทร ้อยกรองกำสรด) คือ โคลงไว ้อาลัยซงึ่
มีเนือ้ หาเกีย ่ วกับการมรณะกรรมของบุคคลใดบุคคลหนึง่
โดยเฉพาะ แต่บทนิพนธ์ของเกรย์เรือ ้ า elegy ให ้กว ้างออกไปในความหมายว่า การ
่ งนีใ้ ชคำว่
รำพึงเกีย ่ วกับความตายของมนุษย์
ตลอดจนสงิ่ ทีบ ่ ค
ุ คลเหล่านัน
้ เห็นว่ามีคณ ุ ค่า

                  ด ้วยเนือ ้ หาอันแสดงถึงสจ ั ธรรมของชวี ต


ิ และถ ้อยคำภาษาทีส่ ละสลวย ทำให ้บท
ประพันธ์บทนีเ้ ป็ นบทร ้อยกรองกำสรด
ของอังกฤษทีม ่ ช ื่ เสย
ี อ ี งมากทีส
่ ด
ุ โดยพระยาอุปกิตศล ิ ปสาร (นิม
่ กาญจนาชวี ะ) ได ้ประพันธ์จาก
ต ้นฉบับแปลของเสฐียรโกเศศ เป็ นกลอนดอกสร ้อยจำนวน 33 บท

้ เรือ
เนือ ่ งย่อ

                  กลอนดอกสร ้อยรำพึงในป่ าชานี ้ ้ มีเนือ้ หาการยกย่องเชด ิ ชูชวี ต ิ อันสงบเรียบง่ายและ


ความสุขอันเกิดจากความสน ั โดษ ทัง้ นีย้ ังชวี้ า่ แม ้ยามจากไปจะไม่มผ ี ู ้ใดจารึกเกียรติคณ
ุ แต่หลุม
ศพก็ยังเป็ นเครือ ึ
่ งเตือนให ้ผู ้พบเห็นได ้ใคร่ครวญถึ งความเป็ นสามัญ
ของชวี ต ่ วกับชวี ต
ิ มุง่ แสดงความเป็ นจริงเกีย ิ มนุษย์ โดยเสนอแนวคิดหลักว่า มนุษย์ทก
ุ รูปทุก
นาม ไม่วา่ จะเป็ นบุคคลสำคัญหรือสามัญชนก็ไม่มใี ครหลีกเลีย ่ งความตายไปได ้

                  แนวคิดสำคัญของเรือ่ งความเป็ นอนิจจังของชวี ต ิ นีส


้ อดคล ้องกับหลักธรรมใน
พระพุทธศาสนาทีว่ า่ ด ้วยความไม่เทีย ่ งแท ้ แน่นอนของสรรพสงิ่ สงิ่ นีน
้ ่าจะเป็ นเหตุผลสำคัญ
ประการหนึง่ ทีทำ ่ ให ้พระยาอุปกิตศลิ ปสารเลือกกวีนพ ิ นธิข
์ องทอมัส เกรย์บทนีม ่ ู้
้ า ถ่ายทอดสูผ
อ่านชาวไทย

......................................................................................................................................................

กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าชา้

กถามุข

ื่ ต ้องการความวิเวก, เข ้าไปนั่งอยู่ ณ ทีส


                  ดังได ้ยินมา สมัยหนึง่ ผู ้มีชอ ่ งัดในวัดชนบท
ี ้ ิ
เวลาตะวันรอนๆ, จนเสยงระฆังย่ำบอกสนเวลาวัน ฝูง โคกระบือ และพวกชาวนา พากันกลับทีอ ่ ยู่
เป็ นหมูๆ่ . เมือ ิ้ แสงตะวันแล ้ว ได ้ยินเสย
่ สน ี งจังหรีดเรไรกับเสย ี งเกราะในคอกสต ั ว์. นกแสกจับอยู่
บนหอระฆังก็ร ้องสง่ สำเนียง. ณ ทีน ่ ัน
้ มีต ้นไทรต ้นโพธิส ์ งู ใหญ่ ใต ้ต ้นล ้วนมีเนินหญ ้า กล่าวคือที่
ฝั งศพต่างๆ อันแลเห็นด ้วยเดือนฉาย. ศพในทีเ่ ชน ่ นัน
้ ก็เป็ นศพพวกชาวไร่ชาวนานั่ นเอง. ผู ้นัน ้ มี
ความรู ้สก ึ ซงึ่ เยือกเย็นใจอย่างไร แล ้วรำพึงอย่างไรในหมูศ ่ พ, ได ้เขียนความในใจนัน ้ ออกมาสู่
กันดังต่อไปนี้

                                                                                                                                         


(กถามุขนี้ นาคะประทีป เรียบเรียง)

ดอกสร้อย

         ๑. วังเอ๋ยวังเวง หง่างเหง่ง! ย่ำค่ำระฆังขาน


ฝูงวัวควายผ ้ายลาทิวากาล ค่อยค่อยผ่านท ้องทุง่ มุง่ ถิน
่ ตน
ชาวนาเหนื่อยอ่อนต่างจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
ทิง้ ทุง่ ให ้มืดมัวทั่วมณฑล และทิง้ ตนตูเปลีย
่ วอยูเ่ ดียว เอย.

         ๒. ยามเอ๋ยยามนี้ ปถพีมด ื มัวทั่วสถาน


อากาศเย็นเยือกหนาวคราววิกาล สงัดปานป่ าใหญ่ไร ้สำเนียง
มีก็แต่เสย ี งจังหรีดกระกรีดกริง่ ! เรไรหริง่ ! ร ้องขรมระงมเสยี ง
คอกควายวัวรัวเกราะเปาะแปะ ! ี งเกราะแว่วแผ่วแผ่ว
รู ้ว่าเสย
เพียง เอย.

         ๓. นกเอ๋ยนกแสก จับจ ้องร ้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ


อยูบ ่ นยอดหอระฆังบังแสงจันทร์ มีเถาวัลย์รงุ รังถึงหลังคา
เหมือนมันฟ้ องดวงจันทร์ให ้ผันดู คนมาสูซ ่ อ
่ งพักมันรักษา
ถือเป็ นทีร่ โหฐานนมนานมา ให ้เสอื่ มผาสุกสน ั ต์ของมัน เอย.

         ๔. ต ้นเอ๋ยต ้นไทร สูงใหญ่รากย ้อยห ้อยระย ้า


และต ้นโพธิพ ์ ม
ุ่ แจ ้แผ่ฉายา มีเนินหญ ้าใต ้ต ้นเกลือ
่ นกล่นไป
ล ้วนร่างคนในเขตประเทศนี้ ดุษณีนอนราย ณ ภายใต ้
แห่งหลุมลึกลานสลดระทดใจ เรายิง่ ใกล ้หลุมนัน
้ ทุกวัน เอย.

         ๕. หมดเอ๋ยหมดห่วง หมดดวงวิญญาณลาญสลาย


เตือนนกแอ่นลมผายแผด

ถึงลมเชาชวยช ื่ รืน
น ่ สบาย
สำเนียง
อยูต่ ามโรงมุงฟางข ้างข ้างนัน
้ ทัง้ ไก่ขน ี ง
ั แข่งดุเหว่าระเร ้าเสย
โอ ้เหมือนปลุกร่างกายนอนราย
พ ้นสำเนียงทีจ
่ ะปลุกให ้ลุก เอย.
เรียง

ยามหนาวผิงไฟล ้อมอยูพ ่ ร ้อม


         ๖. ทอดเอ๋ยทอดทิง้
หน ้า
ทิง้ เพือ ้ นเป็ นนิรันดร์
่ นยากแม่เหย ้าหาข ้าวปลา ทุกเวลาเชาเย็
เห็นพ่อกลับปลืม้ เปรม
ทิง้ ทัง้ หนูน ้อยน ้อยร่อยร่อยรับ
เกษมสน ั ต์
เข ้ากอดคอฉอเลาะเสนาะกรรณ สารพันทอดทิง้ ทุกสงิ่ เอย.

         ๗. กองเอ๋ยกองข ้าว กองสูงราวโรงนายิง่ น่าใคร่


เกิดเพราะการเก็บเกีย ่ วด ้วยเคียว
ใครเล่าไถคราดพืน
้ ฟื้ นแผ่นดิน
ใคร
เชาก็้ ขบ ั โคกระบือถือคันไถ สำราญใจตามเขตประเทศถิน ่
หางยามผินตามใจเพราะใคร
ยึดหางยามยักไปตามใจจินต์
เอย.

         ๘. ตัวเอ๋ยตัวทะยาน อย่าบันดาลดลใจให ้ใฝ่ ฝั น


และความครอบครองกันอัน
ดูถก
ู กิจชาวนาสารพัน
ชนื่ บาน
เขาเป็ นสุขเรียบเรียบเงียบสงัด มีปวัตติเ์ ป็ นไปไม่วติ ถาร
ขออย่าได ้เย ้ยเยาะพูดเราะราน ดูหมิน ่ การเป็ นอยูเ่ พือ
่ นตู เอย.

         ๙. สกุลเอ๋ยสกุลสูง ชกั จูงจิตฟูชศ ั ดิศ


ู ก ์ รี
อำนาจนำความสง่าอ่าอินทรีย ์ ความงามนำให ้มีไมตรีกน ั
ความร่ำรวยอวยสุขให ้ทุกอย่าง เหล่านีต้ า่ งรอตายทำลายขันธ์
แต่ล ้วนผันมาประจบหลุมศพ
วิถแ
ี ห่งเกียรติยศทัง้ หมดนัน

เอย.

         ๑๐. ตัวเอ๋ยตัวหยิง่ เจ ้าอย่าชงิ ติซากว่ายากไร ้


เห็นจมดินน่าสลดระทดใจ ทีร่ ะลึกสงิ่ ไรก็ไม่ม ี
ไม่เหมือนอย่างบางศพญาติ เครือ ่ งแสดงเกียรติยศเลิศ
ตบแต่ง ประเสริฐศรี
สร ้างสานการบุญหนุนพลี เป็ นอนุสาวรียส
์ ง่า เอย.

         ๑๑. ทีเ่ อ๋ยทีร่ ะลึก ถึงอธึกงามลบในภพพืน ้


ก็ไม่ชวนชพ ี ทีด ่ บ
ั ให ้กลับคืนเสยี งชมชนื่ เชด
ิ ชูคณ
ุ ผู ้ตาย
จะกระเทือนถึงกรรณนัน ้ อย่า
เสย ี งประกาศเกียรติเอิกเกริกลั่น
หมาย
ชูเกียรติญาติไปภายภาคหน ้า
ล ้วนเป็ นคุณแก่ผู ้ยังไม่วางวาย
เอย.

         ๑๒. ร่างเอ๋ยร่างกาย ยามตายจมพืน ้ ดาษดืน


่ หลาม
อย่าดูถก ู ถิน
่ นีว้ า่ ทีท
่ ราม อาจขึน ื่ ลือนามในก่อนไกล
้ ชอ
แห่งจอมภพจักรพรรดิกษั ตริย ์
อาจจะเป็ นเจดียม
์ พ
ี ระศพ
ใหญ่
ั ตรัตน์จรัสชย
ประเสริฐด ้วยสต ั ณ สมัยก่อนกาลบุราณ เอย.

         ๑๓. ความเอ๋ยความรู ้ เป็ นเครือ ี้ างสว่างไสว


่ งชูชท
หมดโอกาสทีจ ี้ อ
่ ะชต ่ นี้ไป ละห่วงใยอยากรู ้ลงสูด ่ น

อันความยากหากให ้ไร ้ศก ึ ษา ย่นปั ญญาความรู ้อยูแ่ ค่ถนิ่
กระแสวิญญาณงันเพียงนัน ้
หมดทุกข์ขลุกแต่กจิ คิดหากิน
เอย.

         ๑๔. ดวงเอ๋ยดวงมณี มักจะลีล


้ ับอยูใ่ นภูผา
หรือใต ้ท ้องห ้องสมุทรสุด
ื่ มซาสน
ก็เสอ ิ้ ชมนิยมชน
สายตา
บุปผชาติชส ี ละมีกลิน
ู แ ่ อยูใ่ นถิน ่ ไพรสณฑ์
่ ทีไ่ กลเชน
ย่อมบานหล่นเปล่าดายมากมาย
ั คน
ไม่มใี ครได ้เชยเลยสก
เอย.

         ๑๕. ซากเอ๋ยซากศพ อาจเป็ นซากนักรบผู ้กล ้าหาญ


เชน ่ ชาวบ ้านบางระจันขันรำบาญ กับหมูม
่ า่ นมาประทุษอยุธยา
ไม่เชน ่ นัน้ ท่านกวีเชน ่ ศรีปราชญ์ นอนอนาถเล่หใ์ บ ้ไร ้ภาษา
หรือผู ้กู ้บ ้านเมืองเรืองปั ญญา อาจจะมานอนจมถมดิน เอย.

         ๑๖. คุณเอ๋ยคุณเหลือ ผู ้เอือ ้ ชาติซงึ่ อาจหาญ


้ เฟื้ อเกือ
แน่วนับถือซอ ื่ สต
ั ย์ตอ
่ รัฐบาล ไม่เห็นการสว่ นตัวไม่กลัวตาย
แสวงชอบกอบคุณอุดหนุนชาติ กษั ตริยศ ์ าสน์แม ้ชวี ต
ิ ปลิดวาย
ไว ้ปวัตน์แก่ชาติญาตินก ิ าย ได ้อ่านภายหลังลือระบือ เอย.

 
         ๑๗. ชาวเอ๋ยชาวนา วาสนากัน้ ไว ้ไม่วต
ิ ถาร
สองประการนีแ ้ หละขวางทาง
ไม่ชวั่ ล ้นดีล ้นพ ้นประมาณ
คระไล
คือไม่ลย
ุ เลือนั่งบรรลังก์ราช นำพินาศนรชนพ ้นนิสัย
แต่ปิดทางกรุณาอันพาไป ยังคุณใหญ่ยงิ่ เลิศประเสริฐ เอย.

         ๑๘. มักเอ๋ยมักใหญ่ ก่นแต่ใฝ่ ฝั นฟุ้ งตามมุง่ หมาย


อำพรางความจริงใจไม่
ไม่ควรอายก็ต ้องอายหมายปิ ดบัง
แพร่งพราย
มุง่ แต่โปรยเครือ่ งปรุงจรุงกลิน ่ คือความฟูมฟายสน ิ ลิน
้ โอหัง
ลงในเพลิงเกียรติศก ั ดิป
์ ระจักษ์ เปลวเพลิงปลั่งหอมกลบตลบ
ดัง เอย.

         ๑๙. ห่างเอ๋ยห่างไกล ห่างจากพวกมักใหญ่ฝักใฝ่ หา


แต่สงิ่ ซงึ่ เหลวไหลใสอ ่ าตมา ความมักน ้อยชาวนาไม่น ้อมไป
เพือ่ นรักษาความสราญฐานวิเวก ื้ เฉกหุบเขาลำเนาไศล
ร่มเชอ
สนั โดษดับฟุ้ งซา่ นทะยานใจ ตามวิสย ั ชาวนาเย็นกว่า เอย.

         ๒๐. ศพเอ๋ยศพไพร่ ไม่มใี ครขึน ื่ ระบือขาน


้ ชอ
ไม่เกรงใครนินทาว่าประจาน ไม่มก ี ารจารึกบันทึกคุณ
ถึงบางทีมบ ี ้างเป็ นอย่างเลิศ ก็ไม่ฉูดฉาดเชด ิ ประเสริฐสุนทร์
่ งหนุนนำเหตุสงั เวช
เป็ นเครือ
พอเตือนใจได ้บ ้างในทางบุญ
เอย.

เป็ นเครือ่ งจูงจิตให ้เลือ ่ มใส


         ๒๑. ศพเอ๋ยศพสูง
ศานต์
จารึกคำสำนวนชวนสก ั การ ผิดกับฐานชาวนาคนสามัญ
ซงึ่ อย่างดีก็มก ี วีเถือ
่ น จากรึกชอ ื่ ปี เดือนวันดับขันธ์
อุทศ ิ สงิ่ ซงึ่ สร ้างตามทางธรรม์ ของผู ้นัน
้ ผู ้นีแ ้ ก่ผ ี เอย.

         ๒๒. ห่วงเอ๋ยห่วงอะไร ไม่ยงิ่ ใหญ่เท่าห่วงดวงชวี ต ิ


แม ้คนลืมสงิ่ ใดได ้สนิท ก็ยังคิดขึน
้ ได ้เมือ
่ ใกล ้ตาย
ใครจะยอมละทิง้ ซงึ่ สงิ่ สุข เคยเป็ นทุกข์หว่ งใยเสย ี ได ้ง่าย
ใครจะยอมละแดนแสนสบาย โดยไม่ชายตาใฝ่ อาลัย เอย.

         ๒๓. ดวงเอ๋ยดวงจิต ลืมสนิทกิจการงานทัง้ หลาย


เคยเสย ี ดายเคยวิตกเคย
ี เคยสุขสนุกสบาย
ย่อมละชพ
ปกครอง
ละทิง้ ถิน
่ ทีสำ
่ ราญเบิกบานจิต ซงึ่ เคยคิดใฝ่ เฝ้ าเป็ นเจ ้าของ
ี ดายหมดหมาย ไม่ผน
หมดวิตกหมดเสย ิ หลังเหลียวมองด ้วยซ้ำ
ปอง เอย.

เมือ
่ ยามลาญละพรากไปจาก
         ๒๔. ดวงเอ๋ยดวงวิญญาณ
ขันธ์
ปองแต่ให ้ญาติมต
ิ รสนิทกัน คล่าวน้ำตาต่างบรรณาการไป
ธรรมดาพาคะนึงไปถึงหลุม หรือทีช่ มุ เพลิงเผาเฝ้ าร ้องไห ้
คิดถึงกาลก่อนเก่ายิง่ เศร ้าใจ ตามวิสย ั ธรรมดาเกิดมา เอย.

         ๒๕. ท่านเอ๋ยท่านสุภาพ ผู ้ใคร่ทราบสนใจศพไร ้ศก ั ดิ์


รู ้เรือ
่ งราวจากป้ ายจดลายลักษณ์ บางทีจักรำพึงคิดถึงตน
มาม ้วยมรณ์นอนคู ้อยูอ ่ ย่างนี้ คงจะมีผู ้สงั เกตในเหตุผล
เหมือนกับตนท่านบ ้างกระมัง
ปลงสงั เวชวาบเสย ี วเหีย
่ วกมล
เอย.

 
๒๖. บางเอ๋ยบางที อาจจะมีผู ้เฒ่าเล่าขยาย
รำพันความเป็ นไปเมือ ่ ใกล ้ตาย จนตราบวายชวี าตม์อนาถใจ
"อนิจจา! เห็นเขาเมือ ้ ่
่ เชาตรู ออกจากหมูบ ่ ้านเดินสูเ่ นินใหญ่
ผิงแดดในยามเชาหน ้ ้าหนาว
ฝ่ าน้ำค ้างกลางนามุง่ คลาไคล
เอย.

         ๒๗. "ต ้นเอ๋ยต ้นกร่าง อยูท่ ข


ี่ ้างเนินใหญ่พม ุ่ ใบหนา
มีรากเขินเผินพ ้นพสุธา กลางวันเขาเคยมาผ่อนอารมณ์
นอนเหยียดหยัดดัดกายภายใต ้ต ้น ฟั งคำรนวารีมข ี่ รม
กระแสชลไหลเชย ี่ วเป็ นเกลียว
เขาเคยชมลำธารสำราญ เอย.
กลม

         ๒๘. "ป่ าเอ๋ยป่ าละเมาะ ยังอยูเ่ ยาะเย ้ยให ้ถัดไปนั่น


เขาเดินมาป่ านีไ ้ ม่กวี่ ัน ปากรำพันจิตรำพึงคะนึงใน
บัดเดีย ๋ วดูสลดระทดจิต เหมือนสน ิ้ คิดขัดหาทีอ่ าศยั
หรือคล ้ายคนทุกข์ถมระทมใจ หรือคูร่ ักร ้างไม่อาลัย เอย.

         ๒๙. "ต่อเอ๋ยต่อมา ณ เวลาวันใหม่มไิ ด ้เห็น


ทัง้ กลางนากลางเนินเผอิญเป็ น ใต ้ต ้นกร่างว่างเว ้นเชน่ เมือ
่ วาน
เห็นคนหนึง่ เดินไปใจว่าเขา แต่ไม่เข ้ากลางนามาสถาน
ทีเ่ ขาเคยพักผ่อนแต่กอ ่ นกาล ทัง้ ไม่ผา่ นป่ าเล่าผิดเขา เอย.

         ๓๐. ถัดเอ๋ยถัดมา เห็นเขาพาศพไปใจสลด


ี งประโคมครืน
เสย ้ ครั่นน่ารันทด ญาติทงั ้ หมดตามมาโศกาลัย
ทำการศพตบแต่งทีร่ ะลึก มีบน
ั ทึกถ ้อยคำประจำไว ้
ความอย่างไรเชญ ิ ท่านไปอ่าน
อยูท
่ ด
ี่ งหนามนัน
้ ถัดนั่นไป
เอย.

คำจารึก

         "ทีเ่ อ๋ยทีน
่ ี้ อนุสาวรียศ ์ รีสถาน
แห่งชายไม่ประจักษ์ ศก ั ดิศ
์ ฤงคาร แม ้สกุลคุณสารต่ำปานไร
ขอจงอย่าขึง้ เครียดรังเกียจเขา ขอจงเคารพงามตามวิสย ั
มัจจุราชรับพาเขาคลาไคล ทิง้ ร่างไว ้ทวงเคารพผู ้พบ เอย.

         "น้ำเอ๋ยน้ำใจ ซงึ่ เนาในร่างกายผู ้ตายนี้


ล ้วนสุภาพผ่องใสด ้วยไมตรี อีกโอบอ ้อมอารีมใี นคน
คุณนีนำ ้ ชำร่วยอวยสนอง บำเหน็ จมองมูนมากวิบากผล
คือห่วงใยยั่วหยัดอัสสุชล จากฝูงคนผู ้ใฝ่ อาลัย เอย.

         "แต่เอ๋ยแต่นี้ เป็ นหมดทีใ่ ฝ่ จิตริษยา


เป็ นหมดทีอ ่ ป ุ ถัมภ์คด
ิ นำพา เป็ นนับว่า "อโหสก ิ รรม" กัน
เขาจะมีดช ี วั่ ติดตัวไป เป็ นวิสย ั กรรมแต่งและแสร ้งสรร
เรารู ้ได ้แต่ปวัตน์ปัจจุบน ั ซงึ่ ทิง้ อยูค
่ ก
ู่ ันกับนาม เอย.

You might also like