You are on page 1of 21

พระบาทสมเด็จพระ

พุทธเลิศหล้านภาลัย
ประวัติผูแ
้ ต่ง
 พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิศ หล า

นภาลัย
 ทรงเป็ นพระราชโอรสองค ท ์ ี่ ๒ ใน
พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า
จุฬาโลกมหาราชและสมเด็จพระอม
รินทราบรมราชินี
 ทรงมีพ ระนามเดิม ว่ า “เจ า ้ ฟ้ าชาย
ฉิ ม”
 ทรงพระราชสมภพเมื่ อวัน ที่ ๒๔
กุมภาพันธ ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ และทรง
้ ค ร อ ง ร า ช ย ใ์ น ปี พ . ศ .
เ ส ด็ จ ขึ น
๒๓๕๑
 ทรงเสด็ จ สวรรคตด ว ้ ยพระประชวร
ประวัติผูแ
้ ต่ง (ต่อ)

 ทรงมีพระราชนิ พนธ ์วรรณคดีไว ้หลายเรือง ได ้แก่

1. บทละครในเรืองรามเกี ยรติ ์
2. บทละครในเรืองอิ ่ เหนา
3. บทละครนอกเรือง ่ สัง ข ์ทอง คาวี ไชยเชษฐ ์
ไกรทอง มณี พช ิ ัย

4. กาพย ์แห่เรือชมเครืองคาวหวาน
5. บทพากย ร์ ามเกีย รติ ์ ๔ ตอน คือ นางลอย
พรหมาสตร ์ นาคบาศ และเอราวัณ
6. กลอนเสภาเรือง ่ ขุน ช ้างขุน แผน ตอนที่ ๔,
๑๓, ๑๗ และ ๑๘
ี่ ร้ บั การยกย่องจากองค ์การ UNESCO
 ทรงเป็ นกวีท ได

ทีมาของเรื
อง่
ใ น ส มั ย อ ยุ ธ ย า จ ะ น า เ นื ้ อ เ รื่ อ ง

รามเกียรติบางตอนมาแต่ งสาหรบั การ
แสดงหนังใหญ่และโขน บทประพันธ ์
นั้ นเรียกว่า “บทพากย ์หรือคาพากย”์
รู ป แบบค าประพัน ธ ม์ ัก จะเป็ นกาพย ์
ยานี ๑๑
ต่ อ ม า ใ น ส มั ย ร ั ต นโ ก สิ น ท ร ์
พระบาทสมเด็ จพระพุ ท ธเลิ ศ หล า้
คุณค่าความงาม

•๑. คุณค่าด้านเนื อหา

• ๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์

•๓. คุณค่าด้านสังคมและ
วัฒนธรรม

๑. คุณค่าด้านเนื อหา
๑.๑

โครง

เรือง

๑.๔ ๑.๒
แก่น ้
เนื อหา ตัว

เรือง ละคร

๑.๓
ฉาก

โครงเรือง
 ่ องด
เริมเรื ่ ว้ ยทีอิ
่ นทรชิตแปลงกายเป็ น
พระอิ น ทร ์เพื่ อออกสู ร้ บกับ พระราม
พระลักษณ์
 จากนั้ นจึ ง พรรณนาถึ ง ความงดงาม

ของช ้างเอราวัณ พรรณนากองทัพ


ของอินทรชิต
 กล่ า วถึ ง พระรามที่ ตื่ นบรรทม โดย

พรรณนาธรรมชาติบ ริเ วณที่ประทับ


๑.๒ ตัวละคร

พระราม

ต ัวละคร
อินทรชิต พระลักษณ์
หลัก

ช้าง
เอราว ัณ
พระราม
 พระรามเป็ นปางที่ ๗ ของพระ
นารายณ์หรือพระวิษณุ อวตาร
ลงมาเป็ นโอรสของท า้ ว ทศ
รถกับพระนางเกาสุรยิ า
 ทรงมีพ ระวรกายสีเ ขีย ว ทรง
ธนู เป็ นอาวุธ มีศรวิเศษ ๓ เล่ม
คือ ศรพรหมาสตร ์ ศร
อัคนิ วาต และศรพลายวาต
 มีพ ระมเหสี คือ นางสีด า (ซึง่
คือ พระลัก ษมี พระชายาของ
พระนารายณ์อ วตารลงมาเป็ น
พระลักษณ์
 เป็ นโอรสของท ้าวทศรถกับนาง
สมุทรชา
 มี พ ระวรกายสี เ หลื อ งดัง ทอง
(คือพญาอนันตนาคราชอวตาร
ลงมาพร ้อมพระราม)

 เมือพระรามต อ้ งเสด็จออกเดิน
ดงตาม พระประสงค ข ์ องนาง
ไกยเกษี พระลัก ษณ์ก็ ไ ด ท ้ ูล
ข อ ต า ม เ ส ด็ จไ ป ด ้ว ย ค ว า ม
จงร ก ั ภัก ดี ทรงร่ว มผจญกับ
เหล่าหมู่มารและร่วมรบเคียงบ่า
อินทรชิต
 เดิมชือ่ รณพักตร ์
 เป็ นบุตรของทศกัณฐ ์กับนางมณโฑ
 ์ ง กล า้ มาก ได ้
มี ก ายสี เ ขี ย ว มี ฤ ทธิเก่
ศึกษาวิชากับ พระฤาษี โคบุ ตรจนสาเร็จ
วิช ามหากาลอัค คี ต่ อ มาประกอบพิ ธ ี
บูชาเทพจนไดป้ ระทานอาวุธพิเศษ คือ
พระอิศวรประทานศรพรหมาสตร ์และให ้
มี ฤ ทธิ วิ์ เ ศษแปลงกายเป็ นพระอิ น ทร ์
พระพรหมประทานศรนาคบาศและใหพ ้ ร
ว่ า ถ า้ จะตายต อ้ งมี พ านแก ว้ ของพระ
พรหมมารองร บ ั เศีย ร มิฉ ะนั้ น ถ า้ เศีย ร
ตกดิ น จะท าให ไ้ ฟไหม้โ ลก ส่ ว นพระ
นารายณ์ประทานศรวิษณุ ปาณัม
 ้ั ่ งรณพักตร ์มีความเหิมเกริมไปทา้
ครงหนึ
ช้างเอราว ัณ
o เป็ นช ้างทรงของพระอินทร ์ ซึงพระศิ ่ วะ
เป็ นผู ป้ ระทานให ้ เป็ นช ้างทีมี ่ พละกาลัง

และเป็ นทีโปรดปรานมากที ่ ด
สุ
o ในศาสนาฮิน ดู เ ชือกั ่ น ว่ า ช ้างเชือ กนี ้
เป็ นเทพบุตรองค ์หนึ่ ง ชือไอราวั
่ ณ เมือ ่
พ ร ะ อิ น ท ร ต์ ้อ ง ก า ร จ ะ เ ส ด็ จไ ป ไ ห น
เ อ ร า วั ณ เ ทพ บุ ต ร จ ะ แ ป ล ง ก า ย เ ป็ น
ช ้างเผือ ก ขนาดสู งใหญ่ มีเ ศีย รถึง ๓๓
เศียร แต่ละเศียรมี ๗ งา แต่ละงายาวถึง
๔ ลา้ นวาและมีสระบัว ๗ สระ แต่ละสระ
บัว มี บ ัว ๗ กอ แต่ ล ะกอมี ด อกบัว ๗
ดอก แต่ละดอกมีกลีบ ๗ กลีบ ในแต่ละ
กลีบมีเทพธิดา ๗ องค ์ และเทพธิดาแต่
ฉาก

ฉากทีปรากฏในตอนนี ้ คือ ฉาก
กองทัพ ของฝ่ ายอิน ทรชิต และฝ่ าย
พระราม กวี ไ ด พ ้ รรณนาให เ้ ห็ น ถึ ง
แก่ น เรื
อง่
ภาพความยิงใหญ่ ่ ของกองทัพทังสอง้
ฝ่การพิ
าย จและยั
ารณาสิ ่ างๆ จะต ้องมีสติ
ง ปรากฏฉากธรรมชาติ
งต่
บริ เ วณที ่
ประทั ่ บ ของพระรามในขณะที
อย่าหลงเชืออะไรง่ายๆ เพราะความ ่
พระรามตื
งดงามชวนหลงใหลนั่
นบรรทมด ้นมักจะแฝงมากับ
้วย
พิษภัย เช่นเดียวกับการทีอิ ่ นทรชิต
้ ่
เนื อเรืองย่อ
บทพากย ์
เอราวัณ
๒. คุณค่าด้านวรรณศิลป์

๒.๑
ลักษณะ
การ
๒.๒
ประพันธ ์
รส
๒.๓ ๒.๔
วรรณคดี ศิลปะ
โวหาร
การ
ภาพพจ ประพัน
น์ ธ์
๒.๑ ลักษณะการประพันธ ์
 ประพันธ ์ด ้วยรูปแบบกาพย ์ฉบัง ๑๖
๒.๒ รสวรรณคดี
ี่ น คือ เสาวรจนี ซึง่
ปรากฏรสวรรณคดีทโดดเด่
เป็ นบทพรรณนาความงามของสถานที่ ธรรมชาติ
หรือชมความงามของตัวละคร เช่น


เครืองประดั
บเก ้าแก ้วโกมิน ซองหาง
กระวิน
สร ้อยสายชนักถักทอง
ตาข่ายเพชรร ัตน์ร ้อยกรอง ผ้าทิพย ์ปก
ตระพอง
ห ้อยพู่ทก
ุ หูคชสาร
๒.๓ โวหารภาพพจน์
 อติพจน์
เสียงพลโห่ร ้องเอาช ัย ่ ่
เลือนลั ่ นใน
นสนั
พิภพเพียงทาลาย

 บุคคลว ัต / บุคคลาธิษฐาน

สัตภัณฑ ์บรรพตทังหลาย อ่อน
เอียงเพียงปลาย
ประนอมประนมชมช ัย
๒.๔ ศิลปะการประพันธ ์
้ แต่ได ้ความหมายดี
๑. ใช ้ถ ้อยคาสันๆ
๒. ใช ้อุปมาทาให ้เห็นภาพ
๓. มีการใช ้อติพจน์ (การกล่าวเกินจริง)
๔. มีการใช่บค ่ ไม่
ุ คลวัต (สมมติให ้สิงที ่ มช
ี วี ต
ิ ให ้มี
ชีวติ )
๕. ใช ้ภาษาให เ้ กิด การจิน ตนาการ เช่น ภาพ

การเคลือนไหวของหมู ่นกในธรรมชาติยามเช ้า
คุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม
๑. สะท อ้ นให เ้ ห็ น ถึง สัง คมในสมัย อยุ ธ ยาว่า มี ก าร
แสดงมหรสพประเภทหนั งใหญ่ แ ละโขน จน
มาถึงในสมัยของพระบาทสมเด็ จพระพุทธเลิศ
หล ้านภาลัยก็ยงั มีการเล่นโขน
๒. สะท อ ้ นให เ้ ห็ นถึ ง ความเชื่อในเรื่องเทวดา
นางฟ้ า พระอิ น ทร ท์ ี่มี อ ยู่ ใ นวิ ถ ี ช วี ิ ต ของใน
สังคมนั้นๆ
๓. สะทอ้ นใหเ้ ห็ นถึงสังคมไทยสมัยก่อนว่าใช ้อาวุธ
ต่างๆในการรบ เช่น พระขรรค ์ โตมร(หอก)
ธนู คฑา ใช ้ช ้าง ม้า และราชรถเป็ นพาหนะ
๔. สะท อ้ นให เ้ ห็ น ถึง การเดิน ทางไปสนามรบใน
สมัยก่อนว่ามีแตรสังข ์กลองประโคม
่ จากเรือง
ข้อคิดทีได้ ่
๑. ควรเป็ นคนดีมค ี ณ
ุ ธรรม
่ อานาจวาสนาก็ไม่ควรเหิมเก
๒. เมือมี

ริมใช ้อานาจทาร ้ายผู ้อืน
๓. ธรรมะย่อมชนะอธรรม
๔. อย่าประมาทหรือลุม ่ หลงอาจทาให ้
ชีวติ ผิดพลาดได ้
๕. ควรฝึ กฝนตนให ้มีจน ิ ตนาการที่

You might also like