You are on page 1of 26

ปาร์ต ี้

บาร์บคี วิ
ปาร์ต ี้ บาร์บค
ี วิ
ลักษณะคำประพันธ์ ร้อยแก้ว ประเภทบทวิทยุ
 
ทีม่ าของเรื่อง
จากบทวิทยุในรายการ วันสบาย ที่เป็ นการให้คำแนะนำผูฟ้ ังเกี่ยวกับ
การทำกิจกรรมในวันหยุดสุ ดสัปดาห์
สาระสำค ัญ

้ เนินรายการ วันสบาย ที่เป็ นสุ ภาพสตรี ท่านหนึ่งของ


กล่าวถึงผูดำ
รายการ วันสบาย ได้กล่ าวเชิญชวนให้ บรรดาผู้ฟังทำกิจกรรมสร้ างสี สัน
ในวันหยุดสุ ดสั ปดาห์ ทบี่ ้ านของตนด้ วยการจัดปาร์ ตบี้ าร์ บีควิ โดยการมี
การชักชวนผองเพื่อนและญาติๆมาร่ วมกันปิ้ งย่างสร้างอารมณ์ให้เหมือน
กับการได้ไปพักผ่อนชายทะเล โดยที่ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาเรื่ องค่าเดินทางและ
ค่าที่พกั ใดๆเลย
ข้อคิดทีไ่ ด้
๑. การทำอาหารด้วยตนเองจะได้ทานอาหารที่สะอาดและปลอดภัย
๒. การทำงานต้องมีการวางแผนล่วงหน้า เพื่อป้ องกันความผิดพลาด
๓. การมีกิจกรรมร่ วมกันในครอบครัว จะทำให้เกิดความรักและ
สามัคคี๔. คนเราสามารถหาความสุ ขได้จากสิ่ งที่อยูใ่ กล้ๆตัว
ล ักษณะเด่นของเรือ
่ ง

มีคำยืมภาษาต่างประเทศปรากฏอยูเ่ ป็ นจำนวนมาก โดยเฉพาะ คำ


ยืมจากภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ
คำยืมภาษาต่างประเทศ

คำยืมภาษาต่างประเทศเป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นได้ในทุกภาษาหากมีการ


ติดต่อสื่ อสารกับคนที่พดู ภาษานั้นๆ แบ่งออกได้เป็ น ๒ กลุ่ม ดังนี้
๑. คำต่ างประเทศทีจำ่ เป็ นต้ องใช้
คำเหล่านี้เป็ นคำที่เรี ยกสิ่ งใหม่และเป็ นสิ่ งที่ไม่เคยมีมาก่อนใน
ประเทศไทย ก็มีความจำเป็ นที่จะต้องใช้ภาษาต่างประเทศ เช่น ซูชิ
เท็มปุระ ซาลาเปา เปาะเปี๊ ยะ บาร์บีคิว ฯลฯ
๒. คำต่ างประเทศทีไ่ ม่ จำเป็ นต้ องใช้
คำเหล่านี้เป็ นคำที่มีคำไทยใช้อยูแ่ ล้ว โดยอาจแปลเป็ นคำไทยหรื อมี
ศัพท์บญั ญัติอยูแ่ ล้วก็ควรจะใช้ภาษาไทย
เช่น โชว์ (show) ควรใช้วา่ แสดง
ช้อปปิ้ ง (shopping) ควรใช้วา่ ซื้ อของ
ปาร์ต้ ี (party) ควรใช้วา่ งานสังสรรค์
เมนู (menu) ควรใช้วา่ รายการอาหาร
สต๊าร์ท (start) ควรใช้วา่ เริ่ ม
คำยื มภาษาจี น
คำยืมภาษาจีนส่ วนใหญ่เป็ นภาษาจีนแต้จิ๋ว แต่อาจมีคำที่เป็ น
ภาษาจีนฮกเกี้ยนหรื อจีนกวางตุง้ อยูบ่ า้ ง คำภาษาจีนจะเขียนตรงตาม
เสี ยง ใช้เครื่ องหมายวรรณยุกต์ระบบอักขรวิธีไทย โดยเฉพาะ
เครื่ องหมายวรรณยุกต์ตรี และจัตวา
ต ัวอย่างคำยืมภาษาจีน
ชื่ออาหาร
กวยจี๊ เกี๊ยว จับฉ่าย กุยช่าย ก๋ วยเตี๋ยว
ซาลาเปา เปาะเปี๊ ยะ โจ๊ก
ชื่อผัก ผลไม้ ดอกไม้
ไชเท้า ตังโอ๋ ท้อ บ๊วย โบตัน๋
โป๊ ยเซียน หนำเลี้ยบ กุยช่าย
ชื่อเครื่องเรือนและของใช้ ต่างๆ
โต๊ะ ปุ้ งกี๋ ซาเล้งอั้งโล่ หยวนโล้
กุย เก้าอี้ เอี้ยมจุ๊น เข่ง
คำเรียกญาติ
อาม้า อาโก อากง อากิ๋ม เฮีย
หมวย ตี๋ ซ้อ
คำอืน่ ๆ
ก๊ก ก๋ ง กัก๊ จ๋ อ จับกัง เจี๊ยะ เจ๊ง
ซินแส ตงฉิ น ถัว แป๊ ะเจี๊ยะ ปาหี่ ยีห่ อ้
โหงวเฮ้ง ฮวงซุย้
คำยื มภาษาญี่ ป่ ุ น
คำยืมภาษาญี่ปุ่นส่ วนมากจะเขียนตามการอ่านออกเสี ยง ดังนี้
ชื่ออาหาร
ซาบะ ซูชิ เท็มปุระ วาซาบิ สุ ก้ ียากี้ ยา
กิโซบะ โมจิ
ชื่อกีฬา
ยูโด ซูโม่ คาราเต้
คำอืน่ ๆ
ซามูไร คาราโอเกะ ซาโยนาระ สึ นามิ ซูบารุ
โตชิบา มิตซูบิชิ อีซูสุ
คำยื มภาษาอังกฤษ
คำยืมภาษาอังกฤษที่ใช้อยูใ่ นภาษาไทยนั้นมีท้ งั คำยืมที่เป็ นศัพท์วชิ าการ ศัพท์
วิทยาศาสตร์ ศัพท์ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี การค้าขาย การทูต การศึกษา แฟชัน่
อาหาร ฯลฯ
มีหลักการใช้ดงั นี้
๑. เขียนแบบทับศัพท์ไปเลย โดยใช้อกั ษรไทยแทนตัวอักษรโรมัน
๒. เขียนแบบคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษที่ปรากฏในพจนานุกรม มักจะไม่ใช้
เครื่ องหมายไม้ไต่คู ้ ไม่ใช้อกั ษรนำ และไม่ใช้เครื่ องหมายวรรณยุกต์กำกับเสี ยง (
ยกเว้นคำบางคำที่จะทำให้เข้าใจความหมายผิด) เช่น
คำภาษาอังกฤษ เขียนตามพจนานุกรม เขียนตรงตามที่ออกเสี ยง
knot นอต น็อต
film ฟิ ล์ม ฟี ล์ม
คำในภาษาอังกฤษมีอิทธิพลมากในภาษาไทย เช่น
คำเรียกชื่อสั ตว์
อีมู ยรี าฟ เพนกวิน กอริ ลลา
คำเรียกชื่อยานพาหนะ
แท็กซี่ มอเตอร์ไซค์ เมล์ บัส จิ๊ป แทรกเตอร์ โบกี้ แอร์บสั
คำเรียกเครื่องไฟฟ้ า
เรดาร์ ทีวี สวิตซ์ นีออน
คำเรียกชื่อพืช ผัก ผลไม้
ปาล์ม แครอท กีวี แอปเปิ้ ล
มะฮอกกานี แวนด้า เฟิ ร์น
คำเรียกของใช้ เครื่องแต่ งกาย
สูท วิก ซิป ครี ม ลิปสติก ฟิ ล์ม วีลแชร์ เชิ้ต
คำเรียกชื่ออาหารและเครื่องดืม่
พายไวน์ ซุป เบียร์ บรั่นดี โซดา วิสกี้ แยม
คำศัพท์ ทางวิชาการ
เทคโนโลยี เคมี ฟิ สิ กส์ คอรัปชัน่ คาร์โบไฮเดรต เคาน์เตอร์
เซลเซียส
คำทีเ่ รียกสิ่ งอืน่ ๆ
เต็นท์ ออฟฟิ ศ แคปซูล แคลอรี โควตา ซิกแซ็ก เซรามิก ดราฟต์
คำยื มภาษาเขมร
คำยืมภาษาเขมรที่ไทยนำมาใช้น้ นั เป็ นคำเขมรโบราณในราวพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๕ – ๑๙
คำเขมรจำนวนหนึ่งจึงมีลกั ษณะเหมือนคำไทย คำไทยบางคำก็เขียน
เหมือนคำเขมร เช่น
- คำไทยที่เขียนเลียนแบบเขมร
ขวัญ ทูล
- คำทัว่ ไปที่นำมาซ้อนกับคำไทย
กล้ าหาญ ใกล้ ชิด ร้ ายกาจ
โง่ เขลา ด่ าทอ ครบถ้ วน สนนราคา
และในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๓ – ๒๔ เขมรกลับเป็ นฝ่ ายรับ
วัฒนธรรมจากไทย คำภาษาไทยจึงกลายเป็ นคำยืมภาษาเขมร เช่น
ย่าง ตื่น เกลอ เครื่ อง แคร่ สองข้าง
สามสิ บ สี่ สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน
ล้าน

หล ักสงเกตคำยื
มภาษาเขมร

 มักสะกดด้ วย จ ญ ร ล ส
 มักเป็ นควบกล้ำ
 มักใช้ อกั ษรนำ
 มักขึ ้นต้ นด้ วย กำ คำ จำ ชำ อำ ดำ ตำ ทำ สำ อำ
 มักขึ ้นต้ นด้ วย บัง บัน บรร บำ
คำยืมภาษาเขมรแบ่งเป็ น ๓ กลุ่ม คือ
๑. คำที่ใช้เป็ นราชาศัพท์
ตรัส เสวย บรรทม เสด็จ
ถวาย ทรง ประชวร ถวายบังคม
๒. คำที่ใช้ในวรรณคดี
กรรบิด กันดาล กำสรด กำสรวล เจรี ยง
ฉนำ ฉบัง ดำรง
๓. คำที่ใช้ทวั่ ไป
กรรไกร กระจก กำเดา กำลัง ขลัง จมูก
ชะเอม ชำนาญ
์ องนามกับกริยา
ความสั มพันธข
คำหลักในภาษา คือ คำนามกับคำกริ ยา
ในการสื่ อสารคำทั้งสองชนิดนี้มีความสำคัญมาก เพราะคำนามที่อยูห่ น้า
คำกริ ยาและคำกริ ยาที่ตามหลังคำนามนั้นมีความสัมพันธ์กนั ในทาง
ไวยากรณ์ถึง ๓ ลักษณะ คือ
๑. คำนามเป็ นผูก้ ระทำกริ ยา คำกริ ยาเป็ นอาการของคำนาม เช่น ผูช้ าย
พายเรื อ เด็กเดิน น้องร้องไห้
๒. คำนามเป็ นผูม้ ีสภาพ คำกริ ยาแสดงสภาพของคำนาม เช่น
แม่น้ำแคบ ดอกไม้สวย ต้นไม้เหี่ ยว
๓. คำนามเป็ นผูป้ ระสบ หรื อผูม้ ีความรู ้สึก คำกริ ยาแสดงความรู ้สึก
เช่น แม่วติ ก พ่อกังวล
ั ันธ์ของนามก ับกริยา
ความสมพ
(ต่อ)
ั ในด้านความหมาย
 นอกจากนี้ คำนามและคำกริ ยายังสัมพันธ์กน
ด้วย
 ในการใช้ภาษาถ้อยคำที่พด ู ต้องมีความสัมพันธ์กนั อย่างถูกต้องทั้ง
ในทางไวยากรณ์ ความหมาย และความนิยม เช่น คำว่า “อาหา
ร” จะใช้คำกริ ยาว่า เผ็ด เปรี้ ยว หวาน เค็ม จืด จัด อร่ อย ฯลฯ
แต่จะใช้กบั คำกริ ยา จัดจ้าน ล้นพ้น ไม่ได้
ความรู้ เก่ี ยวกับการฟัง
การฟัง หมายถึง การรับรู้ความหมายจากเสี ยงที่ได้ยนิ เป็ นการรับ
สารทางหู เมื่อรับรู ้สิ่งที่ได้ยนิ แล้วสามารถตีความและจับใจความ
เข้าใจ และจดจำสิ่ งที่ได้ยนิ ไว้ได้กจ็ ะทำให้เกิดความสามารถทางสติ
ปัญญาอีกด้วย (พหูสูต คือ ผู้มคี วามรู้ เพราะได้ ฟังมามาก)
จุดมุง
่ หมายของการฟัง
๑. เพื่อติดต่อสื่ อสารในชีวติ ประจำวัน
๒. เพื่อเพลิดเพลิน
๓. เพื่อความรู ้
๔. เพื่อได้คติชีวติ และความจรรโลงใจ
การฟังทีม
่ ป ิ ธิภาพ
ี ระสท
๑. การเลือกผูพ้ ดู
ควรเลือกนักพูดที่ดีที่เป็ นที่ยอมรับ เพราะจะทำให้ผฟู ้ ังได้
ประโยชน์ได้ความรู ้และความคิด รวมไปถึงความเพลิดเพลิน
ด้วย
๒. การเลือกเรื่ องที่จะฟัง
ควรเลือกเรื่ องที่เป็ นประโยชน์ ได้ความรู้ เพลิดเพลิน และ
ทำให้ได้มุมมองที่กว้างขึ้นด้วย
 
สงิ่ ทีค
่ วรทำในการฟัง
๑. การมีสมาธิ
การมีสมาธิในการฟังจะทำให้เราจับประเด็นสำคัญของเรื่ องได้อย่างถูกต้อง
รวดเร็ ว และจดจำเรื่ องที่ฟังได้ดี
๒. การมีวจิ ารณญาณในการฟัง
วิจารณญาณ หมายถึง ปัญญาที่สามารถรู้หรื อให้เหตุผลที่ถูกต้อง
การใช้วจิ ารณญาณในการฟังจึงเป็ นสิ่ งที่จำเป็ น เพราะทำให้ทราบว่าเรื่ องใดเป็ นข้อ
เท็จจริ งที่ควรเชื่อ เรื่ องใดแสดงความคิดเห็นที่ถูกต้อง สมเหตุสมผล ควรยอมรับ
หรื อไม่
๓. การจดบันทึก
การฟังที่ให้ความรู้ควรมีการจดบันทึกไว้ เพื่อเป็ นการเก็บประเด็นสำคัญของเรื่ องที่
ฟังให้ครบถ้วน ทำให้เราไม่ลืมเรื่ องราวที่ได้ฟังและสามารถนำประโยชน์มาใช้ได้
ในภายหลัง
มารยาทในการฟัง
๑. แต่งกายสุ ภาพเรี ยบร้อย เพื่อเป็ นการให้เกียรติผพู้ ดู และให้เหมาะ
สมกับกาลเทศะ
๒. ตั้งใจฟังโดยตลอด หากมีขอ้ สงสัยควรถามเมื่อผูพ้ ดู พูดจบ และ
หากมีความจำเป็ นต้องลุกออกจากที่นงั่ ควรทำความเคารพผูพ้ ดู
ทั้งตอนที่กลับเข้ามาในที่ประชุมด้วย
๓. ปิ ดเครื่ องมือสื่ อสารทุกชนิด เพื่อไม่ให้รบกวนผูพ้ ดู และผูฟ้ ัง
ท่านอื่น
๔. ไม่ทำกิจกรรมอื่นที่แสดงว่าไม่สนใจที่จะฟัง หรื อไม่ให้เกียรติ
ผูพ้ ดู

You might also like