You are on page 1of 14

ชุดที่ ๑

ข้อสอบมาตรฐานชัน้ ปีปี
กลุ่มสาระการเรียนรู ้ ภาษาไทย
สาระการเรียนรูพ้ นฐาน
ื้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
คำชี้แจง ข้อสอบมีทง้ั หมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐ คะแนน)
ให้นกั เรียนเลือกคำตอบที่ถกู ต้องที่สดุ เพียงคำตอบเดียว
๑. ข้ อใด ไม่ ใช่ ลักษณะของภาษาไทย
ก. เป็ นภาษาตระกูลคำโดด ข. มักเป็ นคำพยางค์เดียว
ค. เป็ นคำควบกล้ำ ง. มีความหมายสมบูรณ์ในแต่ละคำ
๒. ข้ อใดเป็ นคำไทยแท้ ทงั ้ หมด
ก. ฟรี โค้ ก ข. ชบา แข
ค. เที่ยว เล่น ง. เจ๊ เชิ ้ต
๓. ข้ อใดเป็ นคำมูลทุกคำ
ก. น้ำตก น้ำใจ ข. ไม้ เรี ยว มะระ
ค. นักเรี ยน จุดยืน ง. กระถาง มะละกอ
๔. ข้ อใดมีการสนธิทุกคำ
ก. สังฆราช ธันวาคม ข. มหรรณพ มหกรรม
ค. วิทยาลัย ราชูปโภค ง. ราชานุเคราะห์ มัจจุราช
๕. ข้ อใดเป็ นคำซ้ อนเพื่อเสียง
ก. สุ้มเสียง ข. สดใส
ค. คัดเลือก ง. เดือดร้ อน

๖. ข้ อใดเป็ นคำซ้ำ
ก. หลานๆ ชอบเล่นเกม ข. ที่ๆ เราจะไปคือทะเล
ค. สิ่งของๆ เรามีมากมาย ง. เธอสวมเสื ้อสีดำๆ นาอยูก่ ลางท้ องนา
๗. ข้ อใดมีคำสมาสอยู่ในข้ อความ
ก. นักเรี ยนไปเที่ยวชมอนุสาวรี ย์ประชาธิปไตย
ข. ลูกชายฉันเรี ยนอยูท่ ี่เกษตรศาสตร์
ค. ศูนย์ศิลปาชีพน้ำท่วม
1 ภาษาไทย ม.๓
ง. เขาเป็ นคนรักความสันโดษ
๘. คำในข้ อใดวางรู ปสระไม่ ถูกต้ อง
ก. เอ็นทรานซ์ ข. ดร๊ าฟ
ค. บูรไน ง. ฟรี
๙. ข้ อใด ไม่ ใช่ สาเหตุท่ ทำ
ี ให้ มีภาษาต่ างประเทศเข้ ามาปะปนในภาษาไทย
ก. มีอาณาเขตใกล้ เคียงติดต่อกัน ข. นับถือสถาบันกษัตริ ย์เหมือนกัน
ค. มีการไปศึกษาต่อต่างประเทศ ง. ความเจริ ญทางเทคโนโลยี

๑๐. ข้ อใดคือวิธีการนำคำต่ างประเทศมาใช้ โดยการบัญญัตเิ ป็ นคำศัพท์ ใหม่


ก. กิจกรรม ข. วิเชียร
ค. โบสถ์ ง. โกรธ
๑๑. ข้ อใดเป็ นประโยคความรวม
ก. ทหารไปรบชายแดน
ข. พี่ไปซื ้อดอกไม้ แต่ฉนั ไปซื ้อขนม
ค. หลายประเทศเปลี่ยนนายกรัฐมนตรี ใหม่
ง. น้ องได้ รับรางวัลการประกวดดนตรี ไทย
๑๒. ข้ อใด ไม่ ใช่ ประโยคถามให้ ตอบ
ก. บ้ านของเธออยูท่ ี่ไหน ข. ห้ องเช่าราคาเท่าไหร่
ค. ใครๆ อยากไปเที่ยว ง. น้ องจะกินข้ าวหรื อก๋วยเตี๋ยวจ๊ ะ
สุรายาเสพติด นัน้ เป็ นพิษอันใหญ่ หลวง
หากติดบ่ วงยากเลิกรา
๑๓. ข้ อใดเติมข้ อความถูกต้ อง
ก. ไม่เว้ นใครทั ้งปวง ข. น้ องหนูนา่ เป็ นห่วง
ค. โกหกและลวงหลอก ง. ชอบให้ คนทั ้งปวง

๑๔. ข้ อใดใช้ คำบัญญัตศิ ัพท์ ถูกต้ อง


ก. อิสระ - ฟรี ข. รถสองแถว - รถบัส
ค. โปสเตอร์ - สี ง. ธนาคาร - แบงค์
๑๕. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน
ก. ประสูติ ข. พระราชสมภพ
ค. สมภพ ง. ทรงเกิด
2 ภาษาไทย ม.๓
๑๖. ข้ อใดใช้ คำ “สิน้ ชีพตักษัย” ถูกต้ องตามฐานันดรศักดิ์
ก. หม่อมเจ้ า ข. เจ้ าฟ้า
ค. พระองค์เจ้ า ง. หม่อมราชวงศ์
๑๗. ข้ อใดคือคำราชาศัพท์ ของ “จดหมายของพระสงฆ์ ”
ก. สาสน์ ข. พระราชสาสน์
ค. จดหมาย ง. ลิขิต
๑๘. ข้ อใด ไม่ ใช่ ลักษณะอักษรไทยสมัยพ่ อขุนรามคำแหงมหาราช
ก. เขียนสระก่อนพยัญชนะ
ข. สระ เอีย ใช้ ย
ค. สระ เอือ ถ้ าไม่มีตวั สะกดต้ องมี อ ตาม
ง. เรี ยน เขียนว่า เรี ยน
๑๙. ข้ อใดคือพยัญชนะเติม
ก. ก ข ค ฆ ง ข. ง จ ฉ ล ว
ค. ด บ ฝ อ ฮ ง. ฆ ฎ ฐ ฑ ฒ
๒๐. ข้ อใดใช้ คำเลียนเสียงธรรมชาติถูกต้ อง
ก. หลังบ้ านมีเสียงไม้ ไผ่เสียดสีกนั ดังออดแอด
ข. ตุ๊กแกร้ องเสียงดังแกๆ
ค. เสียงนกการ้ องดังอีกาๆ มาแต่ไกล
ง. เสียงพลุแตกกระจายดังโหม่งๆ
๒๑. ข้ อใดอ่ านถูกต้ อง
ก. จัณฑาล อ่านว่า จัน – ตะ – ทาน
ข. ฉกษัตริย์ อ่านว่า ฉะ – กะ - สัด
ค. สมัญญา อ่านว่า สะ – มัน - ยา
ง. บุณฑริก อ่านว่า บุน – ทะ - ริ ก
๒๒. ข้ อใดอ่ านออกเสียงผิด
ก. วีรชน อ่าน วี – ระ - ชน
ข. วสันตฤดู อ่าน วะ – สัน – ตะ – รึ - ดู
ค. ภูมิศาสตร์ อ่าน พูม -- สาด
ง. ทันตแพทย์ อ่าน ทัน – ตะ - แพด

3 ภาษาไทย ม.๓
๒๓. ข้ อใดใช้ คำกำกวม
ก. กาแฟถ้ วยนี ้แก่ไปกินไม่ได้
ข. นายแก่ไปทำงานแล้ ว
ค. พ่อแม่หวังดีตอ่ ลูกทุกคน
ง. ห้ ามมิให้ ตงแผงลอยบริ
ั้ เวณนี ้
๒๔. ข้ อใดเรียงคำภาษา ไม่ ถูกต้ อง
ก. พระจันทร์ ขึ ้นทางทิศตะวันออก
ข. เขาทำดอกไม้ ประดิษฐ์ ขาย
ค. สมุดดินสอหายไปในลิ ้นชัก
ง. ทะเลมีคลื่นลมแรงมาก

อ่ านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้ วตอบคำถามข้ อ ๒๕ – ๒๖


“โนรี ชอบพูดโกหก ยังไงๆ ฉันก็ไม่เชื อ่ คนทีน่ ่าเชื อ่ ถื อมี คนอืน่ อีกเยอะแยะ”
๒๕. ข้ อความนีม้ ีคำที่เป็ นภาษาปากกี่คำ
ก. ๒ คำ ข. ๓ คำ
ค. ๔ คำ ง. ๕ คำ
๒๖. คำว่ า “โกหก” ข้ อใดใช้ ภาษาเขียนถูกต้ อง
ก. พูดกลับกลอก ข. พูดเกินจริ ง
ค. พูดเท็จ ง. พูดไม่จริ ง
๒๗. ข้ อใดมีคำภาษาสแลง
ก. น้ องซ่าส์ เป็ นเด็กน่ารัก ข. วัยโจ๋อย่างเธอเข้ าใจยากจัง
ค. ไปไหนมาสามวาสองศอก ง. โอ๊ ย! เจ็บแผลเหลือเกิน
๒๘. ข้ อความใดมีคำเขียนสะกด ไม่ ถูกต้ อง
ก. ส้ มโอ เป็ นคนมีมนุษยสัมพันธ์ ข. บุคลิกลักษณะที่ดีทำให้ ดดู ี
ค. เรื่ องนี ้พรรณนาได้ ดีมาก ง. ฉันชอบใช้ ธนบัตรใบใหม่ๆ
๒๙. วัยรุ่ น หรือหนุ่มสาวสมัยนีค้ วร
ก. เหยียบขี ้ไก่ไม่ฝ่อ ข. เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ
ค. อดเปรี ย้ วไว้ กินหวาน ง. อาบน้ำร้ อนมาก่อน

4 ภาษาไทย ม.๓
๓๐. ข้ อใดใช้ ตัวสะกดคำ ไม่ ถูกต้ อง
ก. รถยนต์ ภาพยนตร์ ข. ญาติพี่น้อง อนุญาติ
ค. โจทย์เลข โจทก์จำเลย ง. ขั ้นบันได คัน่ หนังสือ
๓๑. เทพเจ้ าที่มีดวงพระเนตร ๓ ดวงคือข้ อใด
ก. พระนารายณ์ ข. พระพรหม
ค. พระอิศวร ง. พระคเณศ

๓๒. ข้ อใด ไม่ ใช่ คำขานนามพระนารายณ์


ก. พระศุลี ข. พระกฤษณะ
ค. พระสี่กร ง. วาสุเทพ
“พระองค์ ผ้ ูทรงศักดาเดช ไม่ โปรดเกศแก่ ข้าบทศรี
กรรมเวรสิ่งใดดั่งนี้ ทูลพลางโศกีรำพัน”
๓๓. คำประพันธ์ นีแ้ สดงความรู้สึกในข้ อใด
ก. น้ อยเนื ้อต่ำใจ ข. โกรธ
ค. เกรงกลัว ง. เศร้ าโศก
๓๔. จากคำประพันธ์ ในข้ อ ๓๓ จัดเป็ นรสทางวรรณคดีในข้ อใด
ก. เสาวรจนี ข. นารี ปราโมทย์
ค. พิโรธวาทัง ง. สัลลาปั งคพิสยั
๓๕. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ ปราบนนทก ให้ ข้อคิดที่สำคัญที่สุดคือข้ อใด
ก. การจะให้ บำเหน็จรางวัลกับใครต้ องพิจารณาให้ ดี
ข. การลุม่ หลงสตรี เพศอาจทำให้ ขาดสติได้
ค. ผู้มีอำนาจข่มเหงผู้ต่ำต้ อยกว่าผู้นั ้นอาจได้ รับอันตรายภายหลัง
ง. บุญคุณต้ องตอบแทน แค้ นต้ องชำระ
๓๖. โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ เป็ นวรรณคดีประเภทใด
ก. คำสอน ข. ปลุกใจ
ค. ส่งเสริมขวัญ ง. โน้ มน้ าวใจ
๓๗. “ผู้ประพฤติกจิ ตาม ๑๐ ประการนีจ้ ะไม่ ได้ รับความเสียใจเลย” ข้ อความนีก้ ล่ าวตรงกับ
เรื่องในข้ อใด
ก. โคลงสุภาษิตพระร่วง

5 ภาษาไทย ม.๓
ข. โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
ค. โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ง. โคลงสุภาษิตโลกนิติ

“ขันตีมีมากหมั้น สันดาน
ใครเกะกะระราน อดกลั้น
ไป่ ฉุนเฉียบเฉกพาล พาเดือด ร้ อนพ่ อ
ประพฤติดังนั้น จักได้ ใจเย็น
๓๘. โคลงบทนีม้ ีความหมายตรงกับข้ อใด
ก. ขอโทษเมื่อตนทำผิด ข. ความอดกลั ้นต่อผู้อื่น
ค. งดการพูดในเวลาโกรธ ง. ระงับความโกรธริ ษยาและคำพูดไม่ดี
๓๙. จากโคลงในข้ อ ๓๘ มีวรรคใดที่ใช้ คำตายแทนคำเอก
ก. วรรคที่ ๑,๓ ข. วรรคที่ ๑,๔
ค. วรรคที่ ๕,๖ ง. ทุกวรรค
“อีกหนึ่งไป่ เชื่อถ้ อย คำคน ลือแฮ
บอกเล่ าข่ าวเหตุผล เรื่ องร้ าย
สืบสอบประกอบจน แจ่ มเท็จ จริงนา
ยังบ่ ด่วนยักย้ าย ตื่นเต้ นก่ อนกาล
๔๐. โคลงบทนีก้ ล่ าวตรงกับสำนวนสุภาษิตใด
ก. คิดก่อนพูด อย่าพูดก่อนคิด ข. ทำดีได้ ดี ทำชัว่ ได้ ชวั่
ค. ฟั งหูไว้ หู ง. พูดไปสองไพเบี ้ย นิ่งเสียตำลึงทอง
๔๑. หลักธรรมที่นำมาเปรียบได้ กับโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ คือข้ อใด
ก. ฆราวาสธรรม ๔ สังคหวัตถุ ๔ ข. ฆราวาสธรรม ๔ ทศพิธราชธรรม
ค. สังคหวัตถุ ๔ ทศพิธราชธรรม ง. ถูกทุกข้ อ
๔๒. ข้ อใดคือลักษณะคำประพันธ์ ท่ใี ช้ แต่ งในหลักศิลาจารึกหลักที่ ๑
ก. ร้ อยแก้ วเชิงพรรณนาโวหาร
ข. ร้ อยแก้ วเชิงเทศนาโวหาร
ค. ร้ อยแก้ วเชิงบรรยายโวหาร
ง. ร้ อยแก้ วเชิงอุปมาโวหาร

๔๓. ข้ อใด ไม่ ใช่ ลักษณะการเขียนในศิลาจารึก


6 ภาษาไทย ม.๓
ก. ตัวอักษรเขียนจากซ้ ายไปขวา ข. การอ่านอ่านจากซ้ ายไปขวา
ค. เขียนสระอยูห่ ลังพยัญชนะเสมอ ง. เขียนติดต่อกันไม่มีเว้ นวรรค
๔๔. “ตยม” ในศิลาจารึก คือคำในข้ อใดในปั จจุบัน
ก. เตรี ยม ข. เรี ยม
ค. เยี่ยม ง. เตี ้ยม
๔๕. “ได้ ป่ ั วได้ นาง” หมายถึงข้ อใด
ก. ได้ เงินได้ ทอง ข. ได้ ผวั ได้ เมีย
ค. ได้ บา่ วไพร่ทั ้งชายหญิง ง. ได้ เพื่อนได้ พ้อง
๔๖. เราสามารถดูดวงดาว ได้ ในวันเดือนดับ” คำที่ขีดเส้ นใต้ หมายถึงข้ อใด
ก. วันแรม ข. วันข้ างขึ ้น
ค. วันแรม ๑ ค่ำ ง. วันข้ างขึ ้น ๑ ค่ำ
๔๗. ข้ อใดสนับสนุนความมีเสรีภาพของคนสมัยสุโขทัย
ก. ไพร่ฟ้าหน้ าปก ข. ใครจักมักเล่นเล่น ใครจักมักหัวหัว
ค. ผิแลผิดแผกแสกร้ างกัน ง. คนใดขี่ช้างมาหา
๔๘. พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชนิพนธ์ ขนึ ้ เพื่อพระราชทานแก่ ผ้ ูใด
ก. ประชาชนชาวไทย ข. เยาวชนไทย
ค. พระบรมวงศานุวงศ์ ง. พระเจ้ าลูกยาเธอ ๔ พระองค์
๔๙. ข้ อใดกล่ าวถึงเงินเบีย้ หวัดในพระบรมราโชวาทถูกต้ อง
ก. เงินพระราชทานเป็ นงวดให้ แก่เจ้ านาย
ข. เงินรายปี จ่ายให้ ผ้ ทำ
ู งานในวัง
ค. เงินรางวัลตอบแทนคุณความดีของผู้ปฏิบตั ิงาน
ง. เงินงบประมาณแผ่นดิน

๕๐. ในพระบรมราโชวาทสามารถนำไปอบรมลูกหลานให้ เห็นคุณค่ าในข้ อใด


ก. เงิน ความกตัญญู
ข. การศึกษา ความรักความสามัคคี
ค. เงิน การศึกษา ความประพฤติ
ง. เงิน การศึกษา ความกตัญญู ความประพฤติ

7 ภาษาไทย ม.๓
๕๑. สามก๊ ก หมายถึงก๊ กใดบ้ าง
ก. วุย่ ก๊ ก เหี ้ยนก๊ ก เล่าก๊ ก ข. จุ๊กก๊ ก ง่อก๊ ก เล่าก๊ ก
ค. เล่าก๊ ก จ๊ กก๊ ก วุย่ ก๊ ก ง. ง่อก๊ ก จ๊ กก๊ ก วุย่ ก๊ ก
๕๒. เรื่องสามก๊ ก ตอนจูล่งฝ่ าทัพรับอาเต๊ า แสดงให้ เห็นลักษณะเด่ นที่สุดของจูล่งในข้ อใด
ก. เสียสละ กตัญญูตอ่ ผู้เป็ นนาย ข. กล้ าหาญ มีฝีมือเข้ มแข็ง
ค. ความซื่อสัตย์ ความจงรักภักดี ง. ตัดสินใจดี เอาชนะอุปสรรคต่างๆ ได้
“เล่ าปี่ ครั้ งนี้อุปมาเหมือนปลาขังอยู่ในถัง เสือตกอยู่ในหลุม ถ้ าแลจะละเสียให้
เล็ดลอดหนีไปได้ บัดนี้กเ็ หมือนปล่ อยเสือเข้ าป่ า ปลาลงสมุทร”
๕๓. ข้ อความใดเรียกว่ า “อุปมา” และ ข้ อความใดเรี ยกว่ า “อุปไมย”
ก. เล่าปี่ เป็ นอุปไมย ปลาอยูใ่ นถังเป็ นอุปมา
ข. ปลาอยูใ่ นถังเป็ นอุปไมย เล่าปี่ เป็ นอุปมา
ค. ปลาอยูใ่ นถังเป็ นอุปไมย เสือตกอยูใ่ นหลุมเป็ นอุปมา
ง. เสือตกอยูใ่ นหลุมเป็ นอุปมา เล่าปี่ เป็ นอุปไมย
๕๔. เรื่องใดมีลักษณะคำประพันธ์ เช่ นเดียวกับโคลงโลกนิติ
ก. เห็นแก่ลกู ข. เมตตากรุณา
ค. อันของสูงแม้ ปองต้ องจิต ง. นิราศนรินทร์
๕๕. ข้ อใดไม่ ใช่ พระนามแฝงของรั ชกาลที่ ๖
ก. เขียวหวาน ข. รามจิตติ
ค. พันแหลม ง. นายแก้ วนายขวัญ

๕๖. “อันของสูงแม้ ปองต้ องจิต” มาจากบทละครในข้ อใด


ก. สาวิตรี ข. ท้ าวแสนปม
ค. ศกุนตลา ง. มัทนะพาธา
๕๗. วรรณคดีเรื่องใดทำให้ ผ้ ูอ่านเห็นวิถีชีวิตของบรรพบุรุษไทย
ก. ระเด่นลันได ข. ขุนช้ างขุนแผน
ค. พระอภัยมณี ง. นิราศเมืองแกลง
“รอนรอนอ่ อนอัสดง พระสุริยงเย็นยอแสง
ช่ วงดังน้ำครั่ งแดง แฝงเมฆเขาเงาเมรุ ธร”
๕๘. คำประพันธ์ นีเ้ ป็ นคำประพันธ์ ประเภทใด
8 ภาษาไทย ม.๓
ก. กาพย์ยานี ข. กาพย์ฉบัง
ค. กาพย์สรุ างคนางค์ ง. กาพย์กลอน
๕๙. จากบทประพันธ์ ในข้ อ ๕๘ กล่ าวถึงธรรมชาติเวลาใด
ก. เวลาเช้ า ข. เวลากลางวัน
ค. เวลาเย็น ง. เวลาค่ำคืน
๖๐. ข้ อใดกล่ าวถูกต้ องที่สุด
ก. สงสารคือเมตตา กรุณาคือพยายามช่วย
ข. เมตตาที่แท้ จริง แยกจากกรุณาไม่ได้
ค. สงสารแล้ วต้ องปรารถนาจะช่วย
ง. กล่าวถูกทั ้งข้ อ ๑,๒,๓
อ่ านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้ วตอบคำถามข้ อ ๖๑-๖๒
“ต่อจากนีไ้ ป พวกผมจะไม่มีโอกาสได้ยินเสียงของคุณยายแล้ว กลับจากโรงเรี ยนพวกผม
คงเหงามาก คุณยายครับพวกเราจะมีคณ ุ ยายอยู่ในใจตลอดไป”
๖๑. ข้ อความนีเ้ ป็ นการเขียนแสดงความรู้สึกใด
ก. ประทับใจ ข. เสียใจ
ค. ดีใจ ง. ภูมใิ จ
๖๒. ผู้เขียนข้ อความนีค้ ือใคร
ก. ลูก ข. หลาน
ค. เหลน ง. น้ อง
อ่ านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้ วตอบคำถามข้ อ ๖๓ – ๖๕
เมื อ่ วันหยุดสัปดาห์ทีแ่ ล้ว ฉันไปซื ้อของทีต่ ลาดนัดใกล้บา้ น ในขณะทีฉ่ นั กำลังเลื อกซื ้อ
เสือ้ ผ้าอยู่นนั้ แม่ลูกคู่หนึ่งมายืนตรงแผงทีฉ่ นั ยื นอยู่ “เสือ้ ถูกๆ อย่างนีจ้ ะใส่ได้กี่วนั ” “ก็หนูบอกแล้ว
ว่าจะมาทำไมตลาดนัด มีแต่คนจนๆ มาซื ้อ”
๖๓. ข้ อใดคือความรู้สึกของแม่ ลูกคู่นีท้ ่ มี ีต่อตลาดนัด
ก. เป็ นที่ที่คนจนมาจับจ่ายซื ้อของ ข. เป็ นที่ให้ บริ การที่สะดวก
ค. เป็ นที่ขายของราคาถูกโดยเฉพาะเสื ้อผ้ า ง. เป็ นที่ทกุ คนชอบมา
๖๔. ข้ อใดคือนิสัยของแม่ ลูกคู่นี ้
ก. ช่างพูด ข. ดูถกู ผู้อื่น
9 ภาษาไทย ม.๓
ค. ขี ้โม้ ง. ประหยัด
๖๕. ฐานะของผู้เล่ าเรื่องนีอ้ ยู่ในระดับใด
ก. ยากจน ข. ปานกลาง
ค. ยากจน - ปานกลาง ง. ปานกลาง - ร่ำรวย
๖๖. ข้ อใด ไม่ ใช่ สิ่งที่ควรคำนึงในการแสดงทรรศนะ
ก. ผู้รับสาร ข. สื่อ
ค. ภาษา ง. คุณธรรม
๖๗. ข้ อใดแสดงว่ าผู้พูด “พูดเป็ น”
ก. การใช้ ภาษาของเธอยังไม่ดี ต้ องปรับปรุ ง
ข. เธอก็สวยดี แต่ดผู อมซีดไป
ค. ลายมือนี ้เหมือนไก่เขี่ยเลยนะ
ง. เสื ้อตัวนี ้สวยมาก แต่คอกว้ างไปหน่อย
๖๘. ขอเชิญทุกท่ านร่ วมรดน้ำคู่บ่าวสาวได้ แล้ ว
ก. รดน้ำสังข์ ข. รดน้ำแต่งงาน
ค. หลัง่ น้ำสังข์ ง. หลัง่ น้ำพระพุทธมนต์
๖๙. ข้ อใดเป็ นภาษาระดับทางการทุกคำ
ก. รถเมล์ จอดป้าย ข. ออกบัตรเชิญ คูส่ มรส
ค. หวัดดี อรุณสวัสดิ์ ง. เกรดดี มีความสามารถ
๗๐. “วันหยุดนีเ้ ราคิดว่ าจะไป ที่บ้าน ของเพื่อนคนหนึ่ง” ข้ อใดเติมคำได้ ถูกต้ อง
ก. สังสรรค์ จัดสรร ข. สังสรรค์ จัดสรร
ค. สังสัน จัดสัน ง. สังสรรค์ จัดสรรค์
๗๑. ข้ อใดมีความหมายเดียวกันทุกคำ
ก. กัลยา พฤกษา ข. นวลอนงค์ พนา
ค. นภา เวหน ง. พาชี คชสาร
๗๒. ข้ อใด ไม่ ใช่ จุดมุ่งหมายของการฟั งและการดู
ก. ให้ เกิดความรู้ ข. เพื่อสื่อสารในชีวติ ประจำวัน
ค. เพื่อความบันเทิง ง. เพื่อฆ่าเวลา
๗๓. สำนวนใดมีความหมายเตือนใจเพื่อไม่ ให้ ปฏิบัติ
10 ภาษาไทย ม.๓
ก. ลางเนื ้อชอบลางยา ข. ใกล้ เกลือกินด่าง
ค. ปลาหมอตายเพราะปาก ง. น้ำนิ่งไหลลึก
๗๔. พี่ของโหน่ งทำตัวเป็ นคน เหมือนพระเวสสันดร
ก. ใจกว้ าง ข. ใจร้ าย
ค. ใจบุญ ง. ใจดี
๗๕. ข้ อใดคือการพัฒนาขัน้ สูงของภาษา
ก. ศาสนา ข. วรรณคดี
ค. บทเพลง ง. บทประพันธ์
๗๖. ข้ อใดเป็ นข้ อปฏิบัตทิ ่ดี ีในการเขียนเรี ยงความ
ก. ตังชื
้ ่อเรื่ อง ข. วางโครงเรื่ อง
ค. เขียนสวยงาม ง. เขียนให้ ได้ ปริ มาณ
๗๗. เพลง มอญซ่ อนผ้ า เป็ นเพลงประเภทใด
ก. เพลงประกอบการเล่น ข. เพลงเห่กล่อม
ค. เพลงปลอบ ง. เพลงร้ องเกี ้ยวพาราสี
๗๘. ข้ อใด ไม่ ได้ บอกเหตุและผล
ก. น้ำมาปลากินมด น้ำลดมดกินปลา ข. รถคว่ำคนตายเกลื่อน
ค. ปวดเข่าจนเดินไม่ได้ ง. ฉันไม่ไปออกกำลังกาย
๗๙. “อาหารบางอย่ างจะระบุคำเตือน เช่ น ไม่ ควรดื่มเกินวันละ ๒ ขวด” ข้ อความนีน้ ่ าจะ
หมายถึงข้ อใด
ก. นม ข. น้ำ
ค. น้ำอัดลม ง. เครื่ องดื่มชูกำลัง
๘๐. คำกล่ าวที่ว่า“เมื่อเด็กนุ่งขาวเมื่อสาวนุ่งเขียว แก่ ทเี ดียวนุ่งแดง”เป็ นการสื่อสารแบบใด
ก. ลิขิตคำขวัญ ข. วาจาภาษิ ต
ค. ธรรมชาติชื่นชม ง. พาคิดปริ ศนา
๘๑. ข้ อใดคือประโยคแรกที่จะพูดโทรศัพท์
ก. ขอโทษ นัน่ ใครพูด ข. สวัสดี ดิฉนั ...
ค. ขอโทษ ต้ องการพูดกับใคร ง. สวัสดี ๐๒ ๕๒๗๑๔๘๙ ครับ
๘๒. ข้ อใดแนะนำเพื่อนชายกับเพื่อนหญิง ให้ ร้ ูจักกันได้ ถูกต้ อง
11 ภาษาไทย ม.๓
ก. นเรศ นี่มณฑิตา เพื่อนร่วมชั ้นเรี ยนของเรา
ข. มณฑิตา นี่นเรศ เพื่อนบ้ านของเรา
ค. มณฑิตา เพื่อร่วมชั ้นเรี ยนของเรา นี่นเรศเพื่อนบ้ านของเรา
ง. มณฑิตา เราขอแนะนำให้ ร้ ูจกั กับนเรศ

๘๓. คำอวยพรวันเกิดของเพื่อนข้ อใดเหมาะสม


ก. โชคดีวนั เกิด ข. สวัสดีวนั เกิด
ค. สุขสันต์วนั เกิด ง. แฮบปี เ้ บิร์ดเดย์
๘๔. ข้ อใดใช้ ภาษาสื่อสารได้ ถูกต้ อง
ก. เขาถูกใส่ความจนเสียคน
ข. ชาวพุทธควรใส่บาตรทุกวันพระ
ค. หนุ่มสาวสมัยนี ้ชอบใส่กางเกงมากกว่ากระโปรง
ง. ขนถ่านใส่เรื อให้ หมด
๘๕. ข้ อใด ไม่ ใช่ คำขึน้ ต้ นในการเขียนจดหมายกิจธุระ
ก. เรี ยน ข. ถึง
ค. นมัสการ ง. กราบเรี ยน
๘๖. ชีวิตสังขารของมนุษย์ ไม่ ย่ งั ยืนยาว “เหมือนเหล็กเหมือนศิลา” คำที่ขีดเส้ นใต้ ใช้ วิธี
เขียนในข้ อใด
ก. ถากถาง ข. เยาะเย้ ย
ค. เปรี ยบเทียบ ง. ตักเตือน
๘๗. โคลงสี่สุภาพบังคับคำเอก คำโท ในข้ อใด
ก. เอก ๗ โท ๔ ข. เอก ๗ โท ๕
ค. เอก ๖ โท ๕ ง. เอก ๖ โท ๔
๘๘. คำกล่ าวใดเป็ นข้ อเท็จจริง
ก. ลอยกระทงเป็ นประเพณีไทย ข. โลกร้ อนขึ ้นอย่างไม่น่าเชื่อ
ค. มะม่วงออกดอกตลอดปี ง. กล้ วยไม้ มกั มีสีมว่ ง
๘๙. กริยาราชาศัพท์ ท่ใี ช้ แก่ สมเด็จพระสังฆราชข้ อใดถูกทุกคำ
ก. โปรด จำวัด ข. บรรทม พอพระทัย
ค. กราบทูล ทรงฟั ง ง. เสวย ทรงเจิม

12 ภาษาไทย ม.๓
๙๐. ทรงมีพระราชปฏิสันถาร มีความหมายตรงกับข้ อใด
ก. ทักทาย ข. ไต่ถาม
ค. สัง่ ความ ง. สนทนา
๙๑. ข้ อใดไม่ ใช่ หน้ าที่ของผู้ดำเนินการอภิปราย
ก. แนะนำผู้อภิปรายแต่ละคนสั ้นๆ
ข. กล่าวนำประเด็นที่จะอภิปราย
ค. ตอบคำถามแทนผู้อภิปรายแต่ละคน
ง. สรุปความเมื่อผู้อภิปรายแต่ละคนพูดจบ
๙๒. “ทรรศนะ” มีความหมายตรงกับข้ อใด
ก. ความเห็น ข. ความเชื่อ
ค. ความรู้ ง. ความจริ ง
อ่ านข้ อความต่ อไปนีแ้ ล้ วตอบคำถามข้ อ ๙๓ – ๙๔
“มีผเู้ ป็ นเบาหวานหลายท่านข้าใจว่าเมื อ่ ตรวจระดับน้ำตาลในเลื อดครั้งใด แล้วอยู่ใน
ระดับปกติ แปลว่าหายจากเบาหวานแล้ว สามารถกิ นได้ตามใจปาก แท้ทีจ่ ริ งระดับน้ำตาลในเลื อดที ่
ตรวจได้เป็ นระดับน้ำตาลขณะทีเ่ จาะเลือดเท่านัน้ ”
๙๓. ข้ อความนีแ้ สดงทรรศนะที่เกี่ยวกับข้ อใด
ก. ข้ อเท็จจริง ข. เกี่ยวกับคุณค่า
ค. เกี่ยวกับนโยบายและแนวปฏิบตั ิ ง. ข้ อเท็จจริ ง และคุณค่า
๙๔. ผู้เป็ นเบาหวาน ต้ องระมัดระวังเรื่ องใดมากที่สุด
ก. การนอน ข. การออกกำลังกาย
ค. การกิน ง. การไปพบแพทย์
๙๕. ข้ อใด ไม่ ใช่ ข้ อควรระวังในการเจรจาต่ อรอง
ก. หลีกเลี่ยงการใช้ อารมณ์ ข. มีมารยาทในการใช้ ภาษา
ค. เลือกประเด็นที่มีประโยชน์มาต่อรอง ง. เตรี ยมค่าตอบแทนให้ คกู่ รณี

๙๖. ข้ อใดเป็ นสารที่ใช้ ภาษาโน้ มน้ าวใจ


ก. ดูดีๆ มีดีให้ ดู
13 ภาษาไทย ม.๓
ข. อ่านหนังสือวันละหน้ า เพิ่มคุณค่าแก่ชีวติ
ค. ไม่ซื ้อไม่หาไม่วา่ อะไร เร่เข้ ามา
ง. หยิบได้ ให้ ฟรี ไม่คิดเงินทอง
๙๗. ข้ อใดคือความหมายของ “ญัตติ”
ก. หัวข้ อเรื่ องที่เสนอให้ ที่ประชุมพิจารณาลงมติ
ข. ข้ อตกลงของที่ประชุม
ค. การเสนอความคิดเห็นซ้ อนในญัตติเดิม
ง. ลำดับขั ้นตอนของเรื่ องนี่จะนำเข้ าปรึกษาในที่ประชุม
๙๘. ข้ อใดคือหน้ าที่ของผู้บันทึกรายงานการประชุม
ก. ประธาน
ข. เลขานุการของการประชุม
ค. ผู้ชว่ ยเลขานุการของการประชุม
ง. ผู้เข้ าร่วมประชุมคนใดคนหนึง่
๙๙. “ผลไม้ เมืองไทยมีมากมาย เช่ น มะม่ วง มะพร้ าว ส้ มโอ แตงโม ฯลฯ” คำที่ขีดเส้ นใต้
คือเครื่องหมายใด
ก. ละ ข. และอื่นๆ
ค. ไปยาลใหญ่ ง. ยังมีอีกมากมาย
๑๐๐. หนังสือเล่ มใดให้ ความรู้เกี่ยวกับชีวิตในประเทศญี่ปุ่นได้ ดีท่ สี ุด
ก. ภูเขาไฟฟูจียาม่า
ข. ท่องแดนอาทิตย์อทุ ยั
ค. นิทานวีรบุรุษนานาชาติ
ง. ท่องไปในโลกกว้ าง

14 ภาษาไทย ม.๓

You might also like