You are on page 1of 27

เสภาเรือ

่ ง
้ นแผน
ขุนชางขุ
ตอนขุนชาง ้
ถวายฎีกา
ื่ ม.๖/๘
รายชอ
นางสาว ตะวัน ยุทธกิจ
เสรี เลขที่ ๑
นาย จิระศก ั ดิ์ บรรพต
เลขที่ ๘
นางสาว ธนพร แก ้ว
อนันต์ เลขที่ ๑๐
นางสาว จิรา วรเนตร
เรือ ้ นแผนนี้ เป็ นนิยายพืน
่ งขุนชางขุ ้ บ ้านข
องจ.สุพรรณบุรี ทีแ ่ ต่งขึน
้ จากเรือ
่ งทีเ่ ชอื่ กันว่า
เกิดขึน ้ จริงในปลายแผ่นดินสมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถต่อเนือ ่ งถึงรัชสมัยสมเด็จพระ
รามาธิบดีท ี่ ๒
แห่งกรุงศรีอยุธยา มีหลักฐานอยูใ่ นหนังสอ ื คำ
ให ้การชาวกรุงเก่า โดยแต่งเป็ นบทกลอนสำหรับ
ขับเสภา
้ นแผนเป็ นเรือ
ขุนชางขุ ่ งทีไ่ ด ้รับยกย่อง
จากวรรณคดีสโมสร ในสมัยรัชกาลที่ ๖ ว่า
เป็ น
ยอดของหนังสอ ื ประเภทกลอนเสภา มี
สำนวนโวหารทีไ่ พเราะคมคาย มีคติเตือนใจ
สะท ้อนให ้เห็น
สภาพชวี ต ิ และสงั คมความเป็ นอยูข ่ องคน
ไทย ให ้ความรู ้เกีย
่ วกับขนบธรรมเนียม
ประเพณีและ
วัฒนธรรมไทย และยังให ้ความสนุกสนาน
เพลิดเพลินอีกด ้วย
วรรณคดีเรือ ้ นแผนมีกวีแต่ง
่ งขุนชางขุ
กันหลายคน ในปลายสมัยอยุธยา
และในสมัยรัตนโกสน ิ ทร์ตอนต ้น ตอนที่
ไพเราะสว่ นมาก แต่งในสมัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล ้านภาลัย
(รัชกาลที่ ๒) การแต่งเสภาเรือ ้
่ งขุนชาง
ขุนแผน
ไม่นยิ มบอกนามผู ้แต่ง มีเพียงการ
วรรณคดีเรือ ้ นแผน แต่งเป็ นก
่ งขุนชางขุ
ลอนสุภาพและใชเป็ ้ นบทขับเสภาในเทศกาล
ต่างๆหรือวาระสำคัญต่างๆ อันทีจ ่ ริงเรือ
่ งทีน
่ ำ
ขับเสภานัน ้ มีหลายเรือ ่ ง แต่เรือ
่ งทีน่ ย
ิ มนำมา
ขับมากทีส ่ ดุ คือเสภาขุนชางขุ้ นแผน ซงึ่ เป็ น
ทีร่ ู ้จักอย่างแพร่หลายทีส ่ ด
ุ คำประพันธ์เป็ น
ประเภทกลอนเสภา ๔๓ ตอน ซงึ่ มีอยู่ ๘
ตอนทีไ่ ด ้รับการยกย่องว่าแต่งดีเป็ นเยีย ่ ม
กลอนเสภาเป็ นกลอนสุภาพ เสภาเป็ นก
ลอนขัน ้ เล่าเรือ ่ งอย่างเล่านิทานจึงใชคำมาก ้
เพือ
่ บรรจุข ้อความให ้ชด ั เจนแก่ผู ้ฟั ง และมุง่
เอาการขับได ้ไพเราะเป็ นสำคัญ สม ั ผัสของ
คำประพันธ์ คือ คำสุดท ้ายของวรรคต ้น สง่
ั ผัสไปยังคำใดคำหนึง่ ใน ๕ คำแรกของ
สม
ตัวอย่ งสม
วรรคหลั ั ผัสวรรคอืน ่ และสม ั ผัสระหว่าง
าง อนกลอนสุภาพ
บทเหมื
จะกล่าวถึงโฉมเจ ้าพลายงาม
เมือ่ เป็ นความชนะขุนชางนั ้ ่น
กลับมาอยูบ ่ ้านสำราญครัน
เกษมสน ั ต์สองสมภิรมย์ยวน
กล่าวถึงพลายงามเมือ ่ ชนะคดีความขุนชาง ้

แล ้ว ขุนชางได ้พานางวันทองกลับไปอยู่
สุพรรณบุรี สว่ นตัวพลายงามเองก็กลับไปอยู่
บ ้านพร ้อมหน ้าญาติและพ่อ ขาดก็แต่แม่
ทำให ้พลายงามเกิดความคิดทีจ ่ ะพานางวัน
ทองกลับมาอยูด ่ ้วยกัน จะได ้พร ้อมหน ้าพ่อ
แม่ ลูก
พอตกดึกจึงไปลอบขึน ้
้ เรือนขุนชางแล ้วพา

ฝ่ ายขุนชางนอนฝั นร ้ายก็ผวาตืน
่ เอาตอน
สาย ครัน ้ ตืน
่ ขึน้ มาก็ร ้องเรียกหานางวันทอง
ออกมาถามบ่าวไพร่ก็ไม่มใี ครเห็นจึงโกรธ
เป็ นฟื นเป็ นไฟ มุง่ มัน ่ จะตามนางวันทองกลับ
มาให ้ได ้ ฝ่ ายพลายงามก็เกรงว่าขุนชางจะ ้
เอาผิด ถ ้ารู ้ว่าตนไปพานางวันทองมาจะ
เพ็ดทูลสมเด็จพระพันวษาอีก แม่อาจจะต ้อง
โทษได ้ จึงใชให ้ ้วิเศษผลไปบอกขุนชางว่ ้ า
ตนนัน ้ ป่ วยหนักอยากเห็นหน ้าแม่ จึงใชให ้ ้
คนไปตามนางวันทองมาเมือ ่ กลางดึก ขอให ้
แม่อยูก ่ บ
ั ตนสก ั พักหนึง่ แล ้วจะสง่ ตัวกลับมา
กล่าวฝ่ ายขุนแผนนอนอยูในเรือนกับนาง
แก ้วกิรยิ าและนางลาวทองอย่างมีความสุข
ครัน้ สองนางหลับ ขุนแผนก็คด ิ ถึงนางวัน
ทองทีพ ่ ลายงามไปนำตัวมาไว ้ทีบ ่ ้าน จึง
ออกจากห ้องย่องไปหานางวันทองหวังจะ
ร่วมหลับนอนกัน แต่นางปฏิเสธแล ้วพากัน
หลับไป แต่พอตกดึก
นางวันทองก็เกิดฝั นร ้ายตกใจตืน ่ เล่าความ
ฝั นให ้ขุนแผนฟั ง ขุนแผนฟั งความฝั นของ
่ งร ้ายอันตรายถึงชวี ต
นางก็รู ้ทันทีวา่ เป็ นเรือ ิ
แน่นอน แต่ก็แกล ้งทำนายไปในทางดีเสย ี
ฝ่ ายสมเด็จพระพันวษา ครัน ้ ทรงอ่านคำฟ้ อง
ของขุนชางก็้ ทรงกริว้ ยิง่ นัก ให ้ทหารไปตาม
ตัวนางวันทอง ขุนแผนและพระไวยมาเฝ้ า
ทันทีขน ุ แผนเกรงว่านางวันทองจะมีภย ั จึงเสก
คาถาและขีผ ้ งึ้ ให ้นางวันทองทาปากเพือ ่ ให ้
พระพันวษาเมตตา แล ้วจึงพานางเข ้าเฝ้ า เมือ ่
พระพันวษาเห็นนางวันทอง
ก็ใจอ่อนเอ็นดู ตรัสถามเรือ ่ งราวทีเ่ ป็ นมาจาก
นางวันทองว่า ตอนชนะคดีให ้ไปอยูก ่ บั ขุนแผน
แล ้วทำไมจึงไปอยูก ่ บ ้ นางวันทองก็
ั ขุนชาง
กราบทูลด ้วยความกลัวไปตามจริงว่า ขุนแผน
ถูกจองจำ ขุนชางเอา ้
สมเด็จพระพันวษาทรงคิดว่าสาเหตุของ
ความวุน่ วายทัง้ หมดนีเ้ กิดจากนางวันทองจึง
ให ้
นางวันทอง ตัดสน ิ ใจว่าจะอยูก่ บั ใคร นางวัน
ทองตกใจ ประหม่า อีกทัง้ จะหมดอายุขย ั จึง
บันดาลให ้พูดไม่ออกบอกไม่ถก ู ว่าจะอยูก ่ บ

ใคร นางให ้เหตุผลว่านางรักขุนแผน แต่ขน ุ
้ ดก
ชางก็ ั นางสว่ นพลายงามก็เป็ นลูกรัก
ี บ
ทำให ้สมเด็จพระพันวษากริว้ มากเห็นว่านางวัน
ทองเป็ นคนหลายใจเป็ นหญิงแพศยา จึงให ้
ประหารชวี ต ิ นางวันทองเพือ ่ มิให ้เป็ นเยีย
่ ง
๑. ความกตัญญูเป็ นเครือ ่ งหมายของคนดี เรา
จึงควรมีความกตัญญูตอ ่ บิดามารดาผู ้ทีใ่ ห ้
กำเนิดเรามา
๒. ความรักทำให ้เกิดความทุกข์
้ ในการครองชวี ต
๓. การใชสติ ิ
๔. พ่อแม่ทก ุ คนรักลูกและยอมเสย ี สละทุก
อย่างเพือ
่ ลูกได ้
๕. สมัยก่อนผู ้หญิงมักเสย ี เปรียบและถูกสงั คม
๑. สะท ้อนถึงอารมณ์โกรธแค ้นและสะเทือน
ใจ (พิโรธวาทัง)
ยิง่ คิดเดือดดาลทะยานใจ
ฉวยได ้กระดานชนวนมา
๒. มีกร่ารพรรณนาถึ
างฟ้ องท่องเที งเรื
ยอ ่ บให
งฝั น้เรีรย้าย
บร ้อย
...ครั
ถ ้อยคำถี ถ ง้ นีน
่ ้วนเป็ ้ นหนั
่าจะมีกอหนา...

ั ตราย ฝั น
ร ้ายสาหัสตัดตำรา
พิเคราะห์ดท ู งั ้ ยามอัฐกาล
๓. ใชถ้ ้อยคำเกิดความเศร ้าสะเทือนใจ
สงสารในชะตากรรมของตัวละคร (สล ั ลาปั
งคพิสย ั )
...วันนีแ ้ ม่จะลาพ่อพลายแล ้ว จะจำ
จากลูกแก ้วไปสูญสน ิ้
๔. การบรรยายโวหาร (เสาวรจนีย)์
พอบ่ายก็จะตายลงถมดิน
ฟ้ าขาวดาวเด่นดวงสว่าง
ผินหน ้ามาแม่จะขอชม
จันทร์กระจ่างทรงกลดหมดเมฆสน ิ้
เกิดมาไม่เหมือนกับเขาอืน ่
จึงเซน ่ เหล ้าข ้าวปลาให ้พรายกิน
มิ
๕. ื่ เชยชด
ไดการพรรณนาโวหาร
้ชน ิ สนิทสนม...(นารี
เสกขมิน ้ ว่านยาเข ้าทาตั ว ปราโมทย์)
จะเป็ นตายง่ายยากไม่จากรัก จะ
ฟูมฟั กเหมือนเมือ ่ อยูใ่ นกลางเถือ
่ น
๖. เชงิ เปรียบเทียบ (อุปมาโวหาร)
อีวน ั ทองตัวมันเหมือนแก ้ว ถ ้าตัด
โคนขาดแล ้วก็ใบเหีย ่ ว
ใครจะควรสูส ่ มอยูก ่ ลมเกลียว
ให ้เด็ ด เดี
ย ่ วรู
๗. กวีแทรกอารมณ์ขน ้กั
น แต่ว น
ั นี ้
ั ในการแต่ง (หาสย
รส)

ขุนชางเห็ นข ้าไม่มาใกล ้ ขัดใจ
ลุกขึน
้ ทัง้ แก ้ผ ้า
แหงนเถ่อเป้ อปั งยืนจังกา
ย่างเท ้าก ้าวมาไม่รู ้ตัว
ยายจันงันงกยกมือไหว ้ นั่น
แสดงค่านิยมและความเชอ ื่ ของคนใน
สงั คมสมัยอยุธยา แม ้ว่าไม่อาจจะประเมินข ้อ
เท็จจริงทางสงั คมได ้เชน ่ เดียวกันกับเอกสาร
ทางประวัตศ ิ าสตร์ แต่วรรณคดีเรือ ่ งนีส
้ ะท ้อน
แสดงให ้เห็นโลกทัศน์ของครอบครัวขุนนาง
ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และรัตนโกสน ิ ทร์วา่ มี
ความจงรักภักดีตอ ่ องค์พระมหากษั ตริย ์
กษั ตริยใ์ นระบอบสมบูรณาญาสท ิ ธิราชยังมี
ค่านิยมความเชอ ื่ เรือ
่ งบาปกรรม เชอ ื่ ว่า
ความทุกข์ยาก เดือดร ้อนด ้วยเหตุตา่ งๆ นัน ้
เป็ นผลมาจากกรรมเก่าทีท ่ ำไว ้ (อันเป็ นความ
เชอ ื่ ทีไ่ ม่คอ ่ ยจะถูกต ้องนัก เพราะกรรมทีท ่ ำใน
ชาติปัจจุบน ั ก็สง่ ผลให ้มีอน ั เป็ นไปต่างๆ ได ้
มิใค่ชาแ ่ นิต่
ยก มในเรื
รรมเก่ อ
่ างไสยศาสตร์
เท่านัน ้ การเช แม อ ้จะนักบรรมเก่
ื่ แต่ ถือพุท าธ
ศาสนาแต่
อาจจะทำให ก็ยงั ้ เชอ ื่ เรือ่ งภูตผีปีศาจ คาถาอาคม
เรืคนงอมื

่ งโชคชะตาดวงของคน
องอเท ้า ไม่คด การพึง่ พา ให ้ดีกว่า
ิ สร ้างกรรมใหม่
ไสยศาสตร์
เก่า) ในการรักษาโรคภัยไข ้เจ็บ การ
ป้ องกันภยันตราย การสูรบทำสงคราม ้ การใช ้
เครือ ่ งรางเป็ นเครือ ่ งเสริมกำลังใจ หรือให ้
ประสบความสำเร็จตามใจปรารถนาของตนและ
ค่านิยมความเชอ ื่ ในจารีตประเพณี ทีป ่ ฏิบต ั ิ
สบ ื ต่อกันมา เชน ่ หญิงต ้องมีสามีคนเดียว
หญิงทีม ี ามีหลายคนหรือมีสามีแล ้วไปเป็ นชู ้
่ ส
กับชายอืน ่ ก็จะถูกตราหน ้าว่า เป็ นหญิง
ค่านิยมความเช
แพศยาหรื ื่ ณ
อกาลกิอ เรืี อ
่ ไม่
งความฝั
มค น ถืญ
ี วามเจริ อว่าไม่วา่ จะ
ฝั นดีหรือฝั นร ้าย ล ้วนแต่เป็ นลางบอกเหตุทจ ี่ ะ
เกิดขึน ้ แก่ตน หรือคนในครอบครัว
สะท ้อนให ้เห็นถึงความรักของแม่ทม ี่ ต ี อ่ ลูก
เห็นแก่ความสุขของลูก จากบทบาทของแม่ท ี่
จำต ้องยอมตามใจลูกทัง้ ๆทีไ่ ม่เห็นด ้วย ทำให ้
เห็นว่านางเป็ นแม่ทรี่ ักลูกมาก พร ้อมทีจ ่ ะเสย ี
สละความสุขของตนให ้แก่ลก ู และจากความรัก
แบบฝึ กหัดทบทวน
วรรณคดีเรือ ่ ง ขุนชางขุ ้ นแผน ตอน ขุน

ชางถวายฎี กา แม ้ว่าในตอนนีจ ้ ะไม่ปรากฏ
นามผู ้แต่งชด ั เจน แต่ถอ ื ว่าแต่งดีจนได ้รับ
การยกย่วรรณคดี
องจากทีใ่ ด
สโมสร
ลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีเรือ ่ ง ขุนชาง้
ขุนแผนตอน ขุนชางถวายฎี ้ กา เป็ นกลอนประเ
ใด
กลอน
วรรณคดี สุเภรืาพ

่ ง ขุนชางขุ ้ นแผน ตอน ขุนชาง ้
ถวายฎีกา เชอ ื่ กันว่าเป็ นเรือ
่ งทีเ่ กิดขึน้ จริง
ในสมัยใดสมัยกรุง
ั ผัสของคำประพันธ์ คือ…………ของ
สม
วรรคต ้นสง่ สม ั ผัสไปยังคำ………ของวรรค
หลังสมั ผัสอืน ่ และสม ั ผัสระหว่างบท
คำสุดท ้าย
เหมือน………… / ม
จงเติ ๑คำในช
ใน อ ่ งว่างให ้ถูก
ต ้อง ๕ / กลอนสุภาพ
กลอนเสภาขุนชางขุ ้ นแผนแต่ละตอนได ้
สูญหายไปมากและถูกนำมาชำระสำนวน
ต่างๆ
และมีผรัช กาลที
ู ้แต่งแทรกไว ่ ๒ พระบาม
้เพือ
่ ให ้เนือ
้ เรือ
่ ง
สมบูรณ์สมเด็
อก
ี ครัจพระพุ
ง้ ในสมัทย ธเลิ
รัตศ หล ้าน
นโกส ิ ทร์ ตรง
นภาลัย
กับรัชกาลใด
ื่ ว่าอะไร
ลูกของนางวันทองกับขุนแผนมีชอ
พลา
ยงาม
ขุนแผนเสกคาถาและขีผ ้ งึ้ ให ้นางวันทองทาปา
เพือ
่ จุดประสงค์ใด
เพือ่ ให ้พระพัน
วษาเมตตานาง
เหตุใดสมเด็จพระพัน
วษาจึงสงั่ ให ้ประหารชวี ต ิ
นางวันทองเห็นว่านางวันทองเป็ นคนหลายใจ
เป็ นหญิงแพศยา จึงให ้ประหาร
พลายงามได ้เลือ
่ นยศเป็ นตำแหน่งใด
จมืน
่ ไวยว
รนาถ
ของวิเศษสามอย่างทีข ่ น
ุ แผนต ้องหาก่อนทีจ

ตัวนางวันทอง
ดาบฟ้ าฟื้ น
กุมารทอง ม ้าส ี
้ หมอก
ขุนชางใช วิ้ ธกี ารใดในการไป
ถวายฎีกาแด่สมเด็จพระพัน
วษา ว่
า ยน้ำลอยคอถวายฎี ก าทีเ่ รื

พระทีน ่ ั่ง
จะเป็ นตายง่ายยากไม่จากรัก จะ
ฟูมฟั กเหมือนเมือ ่ อยูใ่ นกลางเถือ่ น
ขอโทษทีพ ่ ผ
ี่ ด
ิ อย่าบิดเบือน
เจ ้าเพือ ่ นเสน่หาจงอาลัย
นารี
จากบทประพันธ์ข ้างต ้นใชรสวรรณคดี ้ ใด
ปราโมทย์
...วันนีแ ้ ม่จะลาพ่อพลายแล ้ว
จะจำจากลูกแก ้วไปสูญสน ิ้
พอบ่ายก็จะตายลงถมดิน
ผินหน ้ามาแม่จะขอชม
เกิดมาไม่เหมือนกับเขาอืน ่
สล ั ลา
มิได ้ชน ื่ เชยชด ิ สนิทสนม...
ปั งค
หากพิจารณาเรือ ่ งราวของนางวันทอง
ด ้วยใจเป็ นธรรม จะเห็นได ้ว่าชวี ต ิ ของ
นาง
ขุ
น แผน ขุ น ช ้
าง
ถูกกำหนดให ้ดำเนินไปตามความ จมืน ่
ไวยและสมเด็
ปรารถนาของบุ คคลทั จพระพั
ง้ ส ี่ ไดน ้แก่ใครบ ้าง
วษา
ตัวละครของนางวั นทองสะท ้อนให ้เห็น
ถึงความรักทีม ่ ต
ี อ่ ลูกอย่างไรบ ้าง
เห็นแก่ความสุขของลูก จาก
บทบาทของแม่ทจ ี่ ำต ้องยอมตามใจ
ลูก
ทัง้ ๆทีไ่ ม่เห็นด ้วย ทำให ้เห็นว่านาง

ขอบคุณทีร่ ับชม

You might also like