You are on page 1of 36

ลิลิตตะเลงพาย

สมาชิกกลุม

นางสาว ธนารีย อรุณนําโชค ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/8 เลขที่ 2


นางสาว กัลยรักษ กัลปนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/8 เลขที่ 8
นาย กฤษณพงษ นิ่มอนุสสรณกุล ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/8 เลขที่ 10
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

เนื้อเรื่อง:

เมื่อพระเจาหงสาวดีนันทบุเรงทรงทราบวาสมเด็จพระมหาราชาเสด็จสวรรคตกรุงศรีอยุธยา อาจจะเกิด
เหตุการณแยงชิงบัลลังคกันพระเจาหงสาวดีจึงมีพระราชบรรชาใหพระมหาอุปราชยกทัพเขามาบุกไทย
พระมหาอุปราชเดินทัพผานทางเจดียสามองคและเขาตีเมืองกาญจนบุรีขณะนั้นพระมหากษัตริยของไทย
คือสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยมีพระเอกาทศรถผูเปนอนุชาทรงดํารงตําแหนงมกาอุปราช ในเวลา
นั้นพระองคไดทรงเตรียมทัพไปบุกเขมรแตเมื่อครั้นพระองคไดทรงทราบขาวศึกพมาก็ทรงไดจัดเตรียมรับ
ศึกนอกพระนครกองทัพทั้งสองฝายไดทําสงครามกันที่ตําบลตระพังตรุ จังหวัดสุพรรณบุรี ชางทรงเสด็จ
ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แลวสมเด็จเอกาทศรถกําลังตกมัน เมื่อไดยินเสียงกลองศึก จึงวิ่งเตลิด
เขาไปกลางกองทัพทหารฝงพมา
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

ทําใหทั้งสองพระองคตกอยูในวงลอมของศัตรูมีเพียงควาญชางและกลางชางโดยเสด็จเทานั่น สมเด็จพระ
นเรศวรมหาราชทรงสังเกตเห็นพระมหาอุปราชประทับอยูใตตนขอย จึงเขาไปเชิญพระมหาอุปราชทํา
ยุทธหัตถีกัน พระมหาอุปราชหมดหนทางเลี่ยง พระนเรศวรมหาราชเปนฝายชนะในสงครามครั้งนี้ ครั้น
เมื่อเสดจกลับอยุธยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชไดทรงปรึกษาโทษแมทัพนายกองทั้งหลายที่ตามเสด็จ
ไมทัน แตสมเด็จพระวันรัตไดกราบทูลขอพระราชทานอภัยโทษแทนนายทหารเหลานั้นไวได
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

โครงเรื่อง:

โครงเรื่องหลักของลิลิตตะเลงพายเกี่ยวกับ การทําศึกสงครามยุทธหัตถีระหวางประเทศไทยกับพมา
และการเชิดชูกษัตริยทั้งสองพระองคของทั้งสองฝายในความกลาหาญและการเสียสละเพื่อชาติบานเมือง
ของตน
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

ตัวละคร:

ฝายไทย
- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองคคือคนที่ประกาศเอกราชกลังจากที่เสียไปใหกับพมามาถึง
15 ป รวมทั้งพระองคยังทรงขยายอาณาจักรใหกวางใหญ อีกทั้งยังทําสงครามกับพมา จนพมาเกรงกลัว
ไมกลาที่จะมารบกับไทยอีกเลยเปนเวลากวารอยป พระองคทรงเสด็จสววรคตในขณะที่ทําศึกสงครามกับ
กรุงอังวะ
แตเกิดอาการประชวร พระองคประชวรไดเพียง 3 วัน ก็ทรงเสด็จสวรรคต
- สมเด็จพระเอกาทศรถ ตลอดรัชกาลสมเด็จพระนเรศวร
ทรงออกศึกรวมกับสมเด็จเอกาทศรถ
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

- พระมหาธรรมราชา ขุนพิเรนทรเทพ ไดรับสถาปนาขึ้นเปนสมเด็จพระมหาธรรมราชา แลวได


รับโปรดเกลาใหไปครองเมืองพิษณุโลก สําเร็จราชการหัวเมืองฝายเหนือ มีศักดิ์เทียบเทาพระ
มหาอุปราช
- พระยาศรีไสยณรงค พระองคเปนแมทัพกองหนาของพระนเรศวร มีกําลังพล 5 หมื่น ยกไปตั้ง
ที่หนองสาหราย แตไมสามารถตานทางกองทัพของฝายพมาได จึงมีพระราชโองการในการ
ใหถอยทัพเพื่อจะไปโอบลอมจนไดรับชัยชนะ
- พระราชฤทธานนท ปลัดทัพหนาที่สมเด็จพระนเรศวรแตงตั้งขึ้นเพื่อใหไปรบเปนเพื่อนกับ
พระยาศรีไสยณรงค
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

- สมเด็จพระวันรัต ในคราวที่สมเด็จพระนเรศวรประกาศอิสรภาพ ทานเปนผูเกลี้ยกลอมให


พระยาเกียรติ์ และพระยาราม รับสารภาพและเขารวมกับพระนเรศวร วีรกรรมอีกครั้งหนึ่งของ
ทานคือ การขอพระราชทานอภัยโทษ
- เจาพระยาจักรี รับผิดชอบดานการพลเรือนและดูแลหัวเมืองทางภาคกลางและภาคเหนือ
- เจารามราฆพ กลางชางของพระนเรศวร หนึ่งในสี่ทหารที่ตามเสด็จทันในการทํายุทธหัตถี
และไมโดนอาญาประหารชีวิต
- นายมหานุภาพ ควาญชางของสมเด็จพระนเรศวร ถูกทหารพมายิงเสียชีวิตในชวงที่กระทํา
ยุทธหัตถี และไดรับพระราชทานยศและทรัพยสิ่งของ ผาสํารดแกบุตรภรรยา เปนการ
ตอบแทนความชอบ
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

- หลวงมหาวิชัย พราหมณผูที่ทําพิธีตัดไมขมนาม กอนที่สมเด็จพระนเรศวรจะยกทัพออกรบ


และ กระทํายุทธหัตถีจนไดรับชัยชนะ
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

ฝายพมา
- พระเจาหงสาวดี ดํารงตําแหนงอุปราชในสมัยบุเรงนอง ไดขึ้นครองราชยตอจากบุเรงนอง
- พระมหาอุปราช เปนเพื่อนเลนกันกับพระนเรศวรในสมัยที่พระองคประทับอยูที่กรุงหงสาวดี ทรงทํา
งานสนองพระราชบิดาหลายครั้ง โดยเฉพาะราชการสงคราม และไดถวายงานครั้งสุดทายในการ
ยกทัพ ๕ แสนมาตีไทย
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

- พระยาจิดตอง แมกองการทําสะพานเชือกขามแมนํ้ากระเพิน
- สมิงอะคราน สมิงปอง สมิงซายมวน กองลาดตระเวนที่พระมหาอุปราชสงใหมาเพื่อมาหาขาวที่กอง
ทัพไทยกอนที่จะตัดสินใจเขามาทําศึก สงครามที่ไทย
- เจาเมืองมลวน ควาญชางของพระมหาอุปราช ผูที่สมเด็จพระนเรศวรรับสั่งใหกลับไปแจงขาวการ
แพ
สงครามและการสิ้นพระชนมของพระมหาอุปราชแกพระเจาหงสาวดี
- มางจาชโร พี่เลี้ยงของพระมหาอุปราชา ผูที่ชนชางกับพระเอกาทศรถ และถูกพระเอกาทศรถฟะน
ดวยพระแสงของาวคอชาด
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

ฉากทองเรื่อง:

ลิลิตตะเลงพายมีฉากทองเรื่องอยูในกรุงศรีอยุธยาและกรุงหงสาวดีในสมัยอยุธยา
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

บทเจรจารําพึง:

มาเดียวเปลี่ยวอกอา อายสู
สถิตอยูเอองคดู ละหอย
พิศโพนพฤกษพบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชนอย แนงเนื้อนวลสงวน

สลัดไดใดสลัดนอง แหนงนอน ไพรฤๅ


เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร
สละสละสมร เสมอชื่อ ไมนา
นึกระกํานามไม แมนแมนทรวงเรียม
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
สายหยุดหยุดกลิ่นฟุง ยามสาย
สายบหยุดเสนหหาย หางเศรา
กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม
ถวิลทุกขวบคํ่าเชา หยุดไดฉันใด

ถอดคําประพันธ
พระองคไดออกเดินทางมาเพียงคนเดียวจึงรูสึกเปลาเปลี่ยวใจและนาเศราเมื่อทานชมตนไมและ
ดอกไมที่พบเห็นระหวางทางก็รูสึกเบิกบานพระทัยขึ้น แตก็ไมยังคงคิดถึงนางสนมทั้งหลายอยู
ทานเห็นตนสลัดไดทรงดําริวาเหตุใดตองจากนองมานอนปา มาเพื่อทําสงครามกับขาศึก
เห็นตนสละที่ตองสละนองมาเหมือนชื่อตนไม เห็นตนระกําที่ชื่อตนไมเหมือนอกพี่แทๆ
ตนสายหยุดเมื่อสายก็หมดกลิ่น แตใจของพระมหาอุปราชาก็ไมคลายรักนาง
กี่วันกี่คืนที่จากนางก็มีแตความทุกขคิดถึงนองทุกคํ่าเชา ไมรูวาจะหยุดรักนางไดอยางไร
แนวทางในการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม

แกนเรื่อง:

ผูประพันธเรื่องลิลิตตะเลงพายตองการสะทอนใหผูอานเห็นถึงความกลาหาญและความเสียสละของ
บรรพบุรุษไทย และเปนการสรางกําลังใจใหคนไทยมีความรักและปกปองแผนดินไทย
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

การสรรคํา:

ลิลิตตะเลงพายเปนวรรณคดีมรดกลํ้าคาของคนไทยที่ทุกคนควรจะศึกษา เพื่อใหเกิดความภาคภูมิ
ใจในวีรกรรมของนักรบ, กษัตริยไทยและภูมิใจในภาษาไทยที่กวีใชในการถายทอดอารมณ, ความรูสึก
และเรื่องราวไดอยางมีคุณคาทางดานวรรณศิลป ดวยการใชถอยคําไดอยางไพเราะ ดังนี้
1. การใชคําที่เหมาะสมแกเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคล ผูแตงเลือกใชคําที่แสดงฐานะของบุคคล ดังนี้
ภูบาลอื้นอํานวย อวยพระพรเลิศลัน
จงอยุธยอยาพน แหงเงื้อมมือเทอญ พอนา
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

จากโคลงบทนี้ กวีเลือกใชคําที่มีศักดิ์คําสูง แสดงใหเห็นภาพเดนชัดและไพเราะ เชน


ภูบาล หมายถึง พระเจาแผนดิน
อยุธย หมายถึง ไมพายแพ
อวยพระพร หมายถึง ถวายพระพร

2. การใชคําโดยคํานึงถึงนํ้าเสียง ความไพเราะของถอยคําหรือความงามของถอนคํานั่น พิจารณาที่


การใชสัมผัส การเลนคํา การเลียนเสียงธรมชาติ เปนตน จากบทประพันธลิลิตตะเลงพายมีการใชเสียงที่
เลนคํามากมาย ดังนี้
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

2.1 มีการใชสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะในคําประพันธทุกบท ทําใหเกิดความไพเราะมากขึ้น เชน


“เสร็จเสาวนียสั่งสนม เนืองบังคมคําราช พระบาทบทันนิทรา จวนเวลาลวงสาง พื้นนภาง
คเผือดดาว แสงเงินขาวขอบฟา แสงทองจาจับเมฆ........ฯลฯ..........ขอลาองคทานไท
ไปเผด็จดัสกรให เหือดเสี้ยนศึกสยาม สิ้นนา”
สัมผัสสระ ขาว - ฟา,ลา - ทาน,ลา - สาง, จวน - ลวง,ภางค - ดาว,ไท - ไป - ให,สยาม - นา,ราช
- บาท - ทรา

สัมผัสพยัญชนะ เสร็จ - เสา - สั่ง - สนม,คม - คํา,ลา - ลวง,จา - จับ,ทาน - ไท,เผด็จ - ดัส,เสี้ยน -
สยาม - สิ้น
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

2.2 มีการใชสัมผัสพยัญชนะเดียวกันเกือบทั้งวรรค เชน

กระเต็นกระตั้วตื่น แตกคน
ยูงยองยอดยูงยล โยกยาย
นกเปลานกปลีปน ปลอมแปลก กันนา
คลํ่าคลํ่าคลิ้งโคลงคลาย คูเคลาคลอเคลีย
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

วรรคที่ 1 เต็น - ตั้ว - ตื่น


วรรคที่ 3 ยูง - ยอง - ยอด - ยูง - ยล
วรรคที่ 4 โยก - ยาย
วรรคที่ 5 เปลา - ปลี - ปน
วรรคที่ 6 ปลอม - แปลก
วรรคที่ 7 คลํ่า - คลิ้ง - โคลง - คลาย
วรรคที่ 8 คู - เคลา - คลอ - เคลีย
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

2.3 มีการใชสัมผัสสระในแตละวรรคองโคลงแตละบาทคลายกลบท เชน


สงครามความเศิกซึ้ง แสนกล
จงพออยายินยล แตตื้น
อยาลองคะนองตน ตาชอบ ทํานา
การศึกลึกเลหพื้น ลอเลี้ยว หลอกหลอน
บาทที่ 1 คราม - ความ
บาทที่ 2 จง - ยล
บาทที่ 3 ลอง - นอง
บาทที่ 4 ศึก - ลึก
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

2.4 การเลนคํา ในบทประพันธ ลิลิตตะเลงพายมีการเลนคําเพื่อใหเกิดความไพเราะ,ลึกซึ้งและเกิด


อารมณกระทบใจผูอาน

2.5 การเลนเสียงวรรณยุกต เชน


สลัดไดใดสลัดนอง แหนงนอน ไพรฤา
เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร
สละสละสมร เสมอชื่อ ไมนา
นึกระกํานามไม แมนแมนทรวงเรียม
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

2.6 การเลียนเสียงธรรมชาติ เชน


“....เจาพระยาไชยานุภาพ เจาพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสําเนียง เสียงฆองกลอง
ปนศึก อีกเอิกกองกาหล เรงคํารนเรียกมัน ชันหู ชูหางเลน แปรนแปรแลคะไขว.”

2.7 การใชคําอัพภาส คือ การซํ้าอักษรลงหนาคําศัพท ทําใหเกิดความไพเราะ เชน


“...สาดปนไฟยะแยง แผลงปนพิษยะยุง พุงหอกใหญคะควาง ขวางหอกซัดคะไขวไลคะคลุก
บุกบัน เงื้อดาบฟนฉะฉาด งางาวฝาดฉะฉับ...”
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

การเรียบเรียงคํา:

ลิลิตตะเลงพายเปนประเภทโคลงสุภาพ โดยมีการใชภาษาโบราณ และมีการพรรณนาถึงเรื่องราว


ตางๆ
- เรียงขอความที่บรรจุสารสําคัญไวทายสุด
อุรารานราวแยก ยลสยบ

เอนพระองคลงทบ ทาวดิ้น

เหนือคอคชซอนซบ สังเวช

วายชิวาตมสุดสิ้น สูฟาเสวยสวรรค

คําประพันธนี้เรียงจากกอนที่พระมหาอุปราชาจะสิ้นพระชนม
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

เรียงคําวลี หรือประโยคที่มีความสําคัญเทาๆ กัน เคียงขนานกันไป


ขุนเสียมสามรรถตาน ขุนตะเลง

ขุนตอขุนไปเยง หยอนหาว

ยอหัตถเทิดลบองเลบง อังกุศ ไกวแฮ

งามเรงงามโททาว ทานสูศึกสาร

- การใชคําวาขุน แสดงใหเห็นถึงความเทากันและแปลวาสูกันตัวตอตัว
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
เรียบเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับดุจขั้นบันไดจนถึงขั้นสุดทายที่สําคัญที่สุด
พระทรงแสงดาบแกว กับกร

โจมประจักฟนฟอน เฟองนํ้า

ตางฤทธิ์ตางรบรอบ ราญชีพ กันแฮ

สระทานทุกถิ่นทาถํ้า ทงทองชลธี
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

การใชโวหาร:

การใชโวหารทําใหเกิดจินตนาการภาพ เชน การใชคําที่แสดงใหเห็นภาพการตอสูอยางหาวหาญของ


พลทหารทั้งสองฝายที่ผลัดกันรุกรับกันดวยอาวุธหลากหลายทั้งขอ งาว ทวน หอก ธนู จนตางฝายลมตาย
ไปเปนจํานวนมาก
“ ...คนตอคนตอรบ ของาวทบทะกัน ตางฟนตางปองปด วางสนัดหลังสาร ขานเสียงคึกกึกกอง วอง
ตอวองชิงชัย ไวตอไวชิงชนะ มาไทยพะมามอญ ตางเขารอนเขาโรม ทวนแทงโถมทวนทบ
หอกเขารบรอหอก หลอกลอไลไขวแควง แยงธนูเหนี่ยวแรง หาวตอหาวหักหาญ ชาญตอชาญหักเชี่ยว
เรี่ยวตอเรี่ยวหักแรง แขงตอแขงหักฤทธิ์ ตางประชิดฟอนฟน ตางประชันฟอนฟาด ลวนสามารถมือทัด
ลวนสามรรถมือทาน ผลาญกันลงเต็มหลา ผรากันลงเต็มแหลง แบงกันตายลงครัน ปนกันตายลงมาก
ตากเต็มทงเต็มเถื่อน ตากเต็มเผื่อนเต็มพง”
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

การใชโวหารเปรียบเทียบ
วาสมเด็จพระนเรศวรมีฤทธิ์เหมือนพระรามยามตอสูกับทศกัณฐ ขาศึกศัตรูที่พายแพไปเหมือน
พลยักษสมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองคพระนารายณอวตารลงมา

บุญเจาจอมภพขึ้น แผนสยาม
แสยงพระยศยินขาม ขาดแกลว
พระฤทธิ์ดั่งฤทธิ์ราม รอนราพณ แลฤา
ราญอริราชแผว แผกแพทุกภาย
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

ไพรินทรนาศเพี้ยง พลมาร
พระดั่งองคอวตาร แตกี้
แสนเศิกหอนหาญราญ รอฤทธิ์ พระฤา
ดาลตระดกเดชลี้ ประลาตหลาแหลงสถาน
เสร็จเสวยศวรรเยศอาง ไอยศูรย สรวงฤๅ
เย็นพระยศปูนเดือน เดนฟา
เกษมสุขสองสมบูรณ บานทวีป
สวางทุกขทุกธเรศหลา แหลงลวนสรรเสริญ ฯลฯ
การพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

ถอดคําประพันธไดวา
อํานาจแหงพระนเรศวรมหาราชกษัตริยไทย แคศัตรูไดยินเพียงชื่อ ก็พากันเกรงกลัว เมื่อมีใครมา
ทําศึกสงครามก็ตองพายแพกลับไปขาศึกลมตายไปเหมือนทหารยักษพระองคเปรียบเสมือน
ดั่งพระรามอวตารลงมาปราบศัตรู ตอใหมีศัตรูเปนแสน ก็ไมมีผูมดสามารถตอสูฤทธอํานาจของพระองค
ได ตางก็พากันตกใจแลวก็หนีกลับไปยังประเทศของตนพระบารมีของพระองคที่มีทําใหบานเมืองไทยมี
แตความสงบ อุดมสมบูรณ ไมมีทุกขภัยมาเยือน จนเปนที่แซซองสรรเสริญ
การพิจารณาประโยชนหรือคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม

คุณคาทางดานอารมณ:

1. สะทอนถึงอารมณสะเทือนใจ
พระผาดผายสูหอง หาอนุชนวลนอง
หนุมเหนาพระสนม ปวงประนมนบเกลา
งามเสงี่ยมเฟยมเฝา อยูถาทูลสนอง
กรตระกองกอดแกว เรียมจักรางรสแคลว
คลาดเคลาคลาสมร จําใจจรจากสรอย
อยูแมอยาละหอย หอนชาคืนสม แมแล
ถอดคําประพันธไดวา พระมหาอุปราชาเสด็จไปลานางสนมซึ่งรํ่าไหครํ่าครวญ และขอตามเสด็จดวย แต
พระมหาอุปราชาไดตรัสวาหนทางลําบากนัก พระองคจําใจจากเหลาสนมไป ในไมชาก็คงจะได
กลับคืนมา
การพิจารณาประโยชนหรือคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม

2. ใชถอยคําเกิดความเศราสะเทือนใจสงสารในชะตากรรมของตัวละคร

สายหยุดหยุดกลิ่นฟุง ยามสาย

สายบหยุดเสนหหาย หางเศรา

กี่คืนกี่วันวาย วางเทวษ ราแม

ถวิลทุกขวบคํ่าเชา หยุดไดฉันใด ฯลฯ

ถอดคําประพัธไดวา ตนสายหยุดเมื่อสายก็หมดกลิ่น แตใจพี่แมยามสายก็ไมคลายรักนอง กี่วันกี่คืนที่จาก


นองพี่มีแตความทุกขคิดถึงนองทุกคํ่าเชา ไมรูวาจะหยุดรักนองไดอยางไร
การพิจารณาประโยชนหรือคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม

คุณคาดานคุณธรรม
1.สอนใหรูจักรอบคอบไมประมาท
จากเรื่องลิลิตตะเลงพาย จะสามารถเห็นความรอบคอบและความไมประมาทในตัวของพระนเรศวร
ไดชัดเจน ซึ่งทําใหพระเองคเปนกษัตริยที่มีพระปรีชาสามารถมากที่สุด
2. สอนใหรูจักการวางแผน
พระนเรศวรไดทรงวางแผนมากมายเมื่อถูกขาศึกบุกรุก เพื่อเตรียมพรอมกับการรับมือ เชนตอนที่ได
ทรงเปลี่ยนแผนจากการตีเขมรเปนรับศึกจากพมาแทน เปนตน
การพิจารณาประโยชนหรือคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม

3.สอนใหรูจักกตัญู
ไดแสดงใหเห็นถึงความรักของพระมหาอุปราชาที่มีตอพระบิดา และแสดงใหเห็นถึงความกตัญู
และความหวงใยที่ทานมีตอพระบิดาในขณะที่กําลังออกรบอยู
การพิจารณาประโยชนหรือคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม

คุณคาดานวรรณศิลป
เปนแบบอยางในการแตงวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติที่เดนทั้งทางดานเนื้อหา สํานวนโวหาร และกลวิธีในการแตง
ผูเขียนบทประพันธสรุปเนื้อหาไดอยางเหมาะสม สามารถเขาใจไดงาย และเปนขอเท็จจรองทางประวัติศาสตรมา
ผสมผสานกับเนื้อหาที่มีความสรางสรรคขึ้นจากจินตนาการ
มีการเลือกใชถอยคําอยางประณีตทพใหสื่อความไดชัดเจน ไพเราะ เหตุการณตอนทําศึกสงคราม ผูเขียน
สามารถบรรยายไดอยางละเอียด ทําใหผูอานเกิดความฮึกเหิมจากการทําศึกสงครามในครั้งนั่น สวนยามทุกขก็สามารถ
พรรณนาไดอยางลึกซึ้งเหตุการณตอนกวีชมความงามของธรรมชาติก็สามารถสรางความรื่น
รมยใหกับผูอาน

You might also like