You are on page 1of 43

ตอน

พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร
 พระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู หรือที่เรียกกันทั่วไปวา สุนทร
ภู (๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ - พ.ศ. ๒๓๙๘)
 เป น กวี ช าวไทยที่ มี ชื่ อ เสี ย ง ได รั บ ยกย อ งเป น เชกสเป ย ร
แหงประเทศไทย
 ไดเขารับราชการเปนกวีราชสํานักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหลานภาลัย
 เมื่อสิ้นรัชกาลไดออกบวชเปนเวลารวม 20 ป กอนจะกลับ
เขารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
นั่ ง เกล า เจ า อยู หั ว โดยเป น อาลั ก ษณ ใ นสมเด็ จ เจ า ฟ า
จุฑามณีกรมขุนอิศเรศรังสรรค
 ในสมัยรัชกาลที่ 4 ไดเลื่อนตําแหนงเปน พระสุนทรโวหาร
เจากรมอาลักษณฝายพระราชวังบวร ซึ่งเปนตําแหนง
ราชการสุดทายกอนสิ้นชีวิต
 สุนทรภูเปนกวีที่มีความชํานาญทางดานกลอน ไดสราง
ขนบการประพันธกลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหมจน
กลายเปนที่นิยมอยางกวางขวางสืบเนือ่ งมา
 ในปจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภูมีมากมายหลาย
เรื่องโดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ไดรับยกยองจาก
วรรณคดีสโมสรวาเปนยอดของวรรณคดีประเภทกลอน
นิทาน และเปนผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู และทัศนะ
ของสุนทรภูอยางมากทีส่ ุด
สุ น ทรภู ไ ด รั บ แรงบั น ดาลใจมากมายจากวรรณคดี
โบราณทั้ง ของไทยและของต างประเทศ และแตงขึ้นโดย
ประณี ต ทั้ ง ตั ว เรื่ อ งและถ อ ยคํ า สํ า นวน ส ว นตั ว เรื่ อ งนั้ น
พยายามตรวจตราหาเรื่องราวที่ปรากฏอยูในหนังสือตางๆ
บาง เรื่องที่รูโดยผูอื่นบอกเลาบาง เอามาตริตรองเลือกคัด
ประดิษฐติดตอ แตง ประกอบกับ ความคิดของสุนทรภูเอง
รวมถึงเคาเรื่องจากเหตุการณในประวัติศาสตร เหตุการณ
ในชีวิตของสุนทรภู และจินตนาการที่ผสมผสานผูกรอยเขา
ดวยกัน
 เพื่อขายนําเงินมาเลี้ยงชีพ
 เพื่อแตงถวายพระองคเจาลักขณานุคุณ กรมหมื่นอัปสร
สุดาเทพ เพื่อสนองคุณผูทรงมีอป
ุ การะคุณ
คําประพันธในเรื่อง พระอภัยมณี เปนกลอนสุภาพ
ทั้งหมด ดวยเปนความถนัดอยางพิเศษของกวีผน ู ี้ ภาษาที่ใช
มีความเรียบงายตามแบบฉบับของสุนทรภู มีสัมผัสใน
ไพเราะงดงามโดยตลอด ทําใหเปนที่นิยมอานเรื่อยมาแม
ในปจจุบัน
 บท บทหนึ่งมี ๔ วรรค
วรรคที่หนึ่ง เรียก “วรรคสดับ”
วรรคที่สอง เรียก “วรรครับ”
วรรคที่สาม เรียก “วรรครอง”
วรรคที่สี่ เรียก “วรรคสง”
แตละวรรคมีแปดคํา จึงเรียกวา กลอนแปด, กลอนสุภาพ
 เสียงคําทายวรรค
- คําทายวรรคสดับกําหนดใหใชไดทุกเสียง
- คําทายวรรครับกําหนดหามใชเสียงสามัญกับ
ตรี
- คําทายวรรครองกําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญกับ
ตรี
- คําทายวรรคสงกําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญกับตรี
๓. สัมผัส
 สัมผัสนอก หรือสัมผัสระหวางวรรค อันเปนสัมผัสบังคับ มี
ดังนี้
- คําสุดทายของวรรคที่หนึ่ง (วรรคสดับ) สัมผัสกับคํา
ที่สามหรือที่หา ของวรรคที่สอง (วรรครับ)
- คําสุดทายของวรรคที่สอง (วรรครับ) สัมผัสกับคํา
สุดทายของวรรคที่สาม (วรรครอง) และคําที่สามหรือที่หา
ของวรรคที่สี่ (วรรคสง)
 สัมผัสระหวางบท ของกลอนแปด คือ
- คําสุดทายของวรรคที่สี่ (วรรคสง) เปนคําที่สงสัมผัส
บังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสที่คําสุดทายของวรรคที่สอง
(วรรครับ)
 สัมผัสใน ในแตละวรรคของกลอนแปด แบงชวงจังหวะ
ออกเปนสามชวง ดังนี้
“หนึ่งสองสาม – หนึ่งสอง – หนึ่งสองสาม”
ฉะนั้นสัมผัสในจึงกําหนดไดตามชวงจังหวะในแตละวรรค
นั่นเอง ดังตัวอยาง
อันกลอนแปด – แปด คํา – ประจําวรรค
วางเปนหลัก – อัก ษร – สุนทรศรี
พระอภัยมณีและศรีสุวรรณเปนโอรสของทาวสุทัศน
และปทุมเกสร กษัตริยผูครองเมืองรัตนา เจาชายทั้งสองได
ออกเดิ น ทางจากบ า นเมื อ งเพื่ อ เรี ย นไสยศาสตร และ
เสาะหาของวิเศษจากทิศาปาโมกขตามคําสั่งของบิดา แต
พระอภัยมณีกลับเลือกเรียนวิชาดนตรีคือการเปาปไดเปน
เอก มีอานุภาพโนมนาวจิตในคนหรือประหารผูฟงไดตามใจ
ปรารถนา สว นศรี สุว รรณเรี ยนวิ ชากระบี่ กระบองจนเปน
เลิศ
เมื่อกลับมาถึงบานเมือง ทาวสุทัศนโกรธมากที่โอรสไม
ปฏิ บั ติ ต ามคํ า สั่ ง และโดยที่ ไ ม ไ ด พิ จ ารณาคุ ณ ค า ของสิ่ ง ที่
โอรสเรียนมา พระองคไดตรัสในทํานองวานาจะไลออกจาก
เมือง พระอภัยมณีและศรีสุวรรณนอยใจจึงชวนกันออกจาก
เมืองไป
ทั้ ง สองพระองค เ ดิ น ทางมาจนถึ ง ริ ม ฝ ง ทะเล ได พ บ
พราหมณหนุมนอยสามคน มีโมรา ผูชํานาญในการผูกหญา
เปนสําเภายนตทองทะเล วิเชียร ผูสามารถยิงธนูไดคราว
ละ 7 ลู ก และสานน ผู ส ามารถเรี ย กลมฝนได ต ามใจ
ปรารถนา
เมื่อพราหมณทราบปญหาของกษัตริยทั้งสองแลว เกิด
สงสัยในวิชาเปาปของพระอภัยมณีวามีคุณคาอยางไร พระ
อภัยมณีเปาปใหฟง พราหมณทั้งสามรวมทั้งศรีสุวรรณได
ฟงก็เคลิ้มหลับ ระหวางนั้นนางผีเสื้อสมุทร ซึ่งอาศัยอยูใน
ถ้ําใตทะเลไดผานมาเห็นพระอภัยมณีนั่งเปาปอยู ก็นึกรัก
จึ ง อุ ม พาไปไว ในถ้ํา แปลงตนเป น หญิ ง สาวคอยปรนนิ บั ติ
พระอภัยมณีดูดวงตาก็รูวามิใชมนุษยแตก็จําทนตองอยูกิน
กับนางผีเสื้อสมุทร จนมีลูกชื่อวา “สินสมุทร”
ฝายศรีสุวรรณและพราหมณทั้งสามคน เมื่อตื่นขึ้นมา
ไมเห็นพระอภัยมณีก็ออกติดตามจนพลัดหลงไปยังเมืองรม
จักร ศรีสุวรรณปลอมตัวเปนพราหมณเขาเมือง จนไดพบ
นางเกษราธิดาของทาวทศวงศเจาเมือง เกิดความรักตอกัน
ขณะนั้นเมืองรมจักรกําลังประสบปญหาคือ ทาวอุเท
นกษัตริยเมืองชวามาสูขอนางเกษรา ทาวทศวงศไมยอมยก
ให เพราะเห็ น ว า เป น กษั ต ริ ย ต า งชาติ ต า งศาสนา ท า วอุ
เทนยกกองทัพมาตีเมืองรมจักร ศรีสุวรรณและพราหมณ
ทั้งสามอาสาสูศึกจนไดชัยชนะ ศรีสุวรรณไดอภิเษกกับนาง
เกษรา ไดครองเมืองรมจักรและตอมามีธิดานามวา อรุณ
รัศมี
กล า วถึ ง พระอภั ย มณี ไ ด ม าอยู กั บ นางผี เ สื้ อ สมุ ท รที่
แปลงกายเปนหญิงงามจนมี ลูกชาย ๑ คน ชื่อสินสมุทร มี
ลักษณะ คื อ ตาแดง มีกําลังดั่งชางสาร มีเขี้ยวคลายนาง
ผีเสื้อสมุทร เมื่อสินสมุทรอายุได ๘ ป ไดเปดถ้ําและออกไป
ทองเที่ยวนอกถ้ํา ไดพบเงือกและจับมาใหพระอภัยดู เงือก
ขอไวชีวิตและอาสาพาพระอภัยมณีหนีไปเกาะแกวพิสดาร
สวนนางผีเสื้อสมุทรไดฝนรายวามีเทวดาที่เกาะเหาะ
มาทํารายและทุบนางเกือบตาย และเทวดาก็ควักเอาดวงตา
นางเหาะหายไป พระอภัยมณีไดทีจึงออกอุบายใหนางไป
สะเดาะเคราะหรักษาศีล ๓ วัน แลวพระอภัยมณีกับสิน
สมุทรก็หนีไปดวยความชวยเหลือจากเงือกผัวเมียและลูก
สาวเงือก
ฝายผีเสื้อสมุทรเมื่อรักษาศีลจนครบ ๓ วัน กลับมาไม
พบพระอภัยมณีก็ตามหา สินสมุทรมาขัดขวางเพื่อถวงเวลา
นางผีเสื้อสมุทรก็อานพระเวททําใหมองเห็นไปไกลเห็นพระ
อภัยมณีจึงไลติดตามแลวจับนางเงือกสองผัวเมียกิน
นางเงือกพาพระอภัยมณีหนีมาจนถึงเกาะแกวพิสดาร
เมื่อนางผีเสื้อสมุทรตามมาทันและอาละวาด พระฤๅษีจึง
เสกทรายขวางมากลางคลื่น นางผีเสื้อสมุทรกลัวจึงหลบหนี
หายไป
คุณคาดาน คุณคาดาน
วรรณศิลป เนื้อหา

คุณคาดานสังคม
และวัฒนธรรม
โครง
เรื่อง

แกน เนื้อหา
ตัว
เรื่อง ละคร

ฉาก
 เริ่มเรื่องที่พระอภัยมณีอยูกินกับผีเสื้อสมุทรจนมีบุตรหนึ่ง
คนชื่อสินสมุทร เมื่อสินสมุทรอายุได ๘ ป ไดวิ่งเลนไปเจอ
แผนหินที่ปดปากถ้ําไวจึงเปดออก และไปจับเงือกชรามา
อวดพอ
 พระอภัยมณีจึงเลาความจริงแตหนหลังใหฟงวาแมเปนนาง
ยักษแปลงกาย เงือกชราจึงอาสาจะชวยเหลือสองพอลูกหนี
จากผีเสื้อสมุทร
 พระอภัยมณีจึงทําอุบายลวงใหผีเสื้อสมุทรไปจําศีลไกลๆ
เปนเวลา ๓ วัน เงือกชราสองสามีภรรยาและลูกสาวจึง
ชวยเหลือดวยการใหพระอภัยมณีและสินสมุทรขี่หลังไปยัง
เกาะแกวพิสดาร
 เมื่อครบ ๓ วัน นางยักษกลับมาที่ถ้ําไมเห็นสองพอลูกก็ออก
ตามหา และไดฆาเงือกชราทั้งสอง แตพระอภัยมณี สิน
สมุทร และนางเงือกรอดพนเงื้อมมือผีเสื้อสมุทร เพราะ
วายน้ําไปถึงเกาะแกวพิสดารไดทัน และไดพระฤาษีที่มีฤทธิ์
ออกมาชวยเหลือ
 “เรื่องในตอนนี้จบลงที่ผเี สื้อสมุทรทําอะไรไมไดก็กลับไป”
ตัวละครหลัก ตัวละครรอง
พระอภัยมณี  เงือกชราสองสามี
นางผีเสื้อสมุทร ภรรยา
สินสมุทร  นางเงือก
 พระโยคี
 เปนโอรสกษัตริย แตเพราะไปเรียนวิชาเปาปซึ่งไม
เหมาะสมกับการขึ้นครองราชยในอนาคต ทําใหพระราช
บิดากริ้วและถูกขับออกจากวัง
 เปนคนรูปงามและมีเสนห
 เจาชูจึงทําใหมีภรรยาหลายคน
 มีจิตใจออนโยนแตขาดความเด็ดขาด
 วิชาความรูที่โดดเดน คือ การเปาป
 เปนยักษ อาศัยอยูในถ้ํากลาง
ทะเล สามารถแปลงกายเปน
สาวสวยได
 มีความหลงใหลในเสียงปและ
รูปโฉมของพระอภัยมณี เกิด
ความหลงรักจึงลักพาตัว
พระอภัยมณีไปอยูดวยกันในถ้ํา
 เปนแมที่ไมดูแลเอาใจใสลูกตัวเองอยางที่ควรจะเปน
 เปนบุตรของพระอภัยมณีกับนางผีเสื้อสมุทร
 มีอายุประมาณ ๘ ขวบ
 มีบุคลิกภาพที่เหมือนพอและแม
 เปนลูกที่รักพอมากกวาแม
ใ น เ รื่ อ ง นี้ สุ น ท ร ภู ไ ด ส ร า ง ฉ า ก ส ถ า น ที่ ขึ้ น จ า ก
จินตนาการ อยางไรก็ตามจากการศึกษาของกาญจนา นาค
พั นธุ ในหนั ง สือ ภู มิ ศ าสตร สุ น ทรภู พบวา สุ น ทรภูไ ด
กําหนดตําแหนงสถานที่ตางๆในเนื้อเรื่องเอาไวอยางรัดกุม
ระยะเวลาเดินทางไปสถานที่ตางๆเปนไปอยางถูกตอง ไม
ผิดเพี้ ยน ซึ่ง แสดงใหเห็น ถึง อัจฉริยะในการประพันธของ
สุนทรภู
 ทะเลในเรื่องพระอภัยมณีไมใชอาวไทย แตประกอบดวย
ทะเลอันดามัน อาวเบงกอล และมหาสมุทรอินเดีย โดยใน
เรื่องปรากฏชื่อ ทะเล “นาควารินทรสินธสมุทร” ที่เปน
ศูนยกลางของเรื่องพระอภัยมณีก็คือ ทะเลอันดามันและ
อาวเบงกอล อยูบนเสนทางคมนาคมการคานานาชาติที่
เชื่อมระหวาง“ตะวันตก-ตะวันออก”ฉะนั้นจึงมีกําปน
 จาก
บานเมืองตางๆ ผานไป-มามากมาย
แกนเรื่องหลัก คือ ชายหญิงที่จะเปนสามีภรรยากัน
หากไมเหมาะสมกัน ไมมีความรักซึ่งกันและกัน ยอมไม
อาจอยูรวมกันได
ดัง จะเห็นไดจากชีวิ ตคูของพระอภั ยมณีกับนางผีเสื้อ
สมุทรที่มีเผาพันธุที่แตกตางกัน คือ มนุษยกับยักษ อีกทั้ง
นางผีเสื้อ สมุท รยังรัก พระอภัยเพียงฝายเดียว โดยที่พระ
อภัยมณีไมไดรักตอบ
ลักษณะ
รส การ
วรรณคดี ประพันธ

ศิลปะการ
ประพันธ

วรรณศิลป
ประพันธดวยรูปแบบของกลอนสุภาพหรือกลอนแปด
 เรื่ อ งพระอภั ย มณี
ตอนพระอภั ย มณี ห นี น างผี เ สื้ อ สมุ ท ร
ปรากฏรสวรรณคดีที่โดดเดนอยู ๒ รส คือ พิโรธวาทัง กับ
สัลลาปงคพิสัย

 พิโรธวาทัง คือ บทโกรธ บทตัดพอตอวา


 สัลลาปงคพิสัย คือ บทแสดงความโศกเศรา คร่ําครวญ
อาลัยอาวรณ
** เสาวรจนีปรากฏบางแตมีเ พียงเล็ก นอย สว นนารี
ปราโมทยในตอนนี้ไมปรากฏ
ผีเสื้อเหลือโกรธพิโรธรอง มาตั้งซองศีลจะมีอยูที่ไหน
ชางเฉโกโยคีหนีเขาใช ไมอยูในศีลสัตยมาตัดรอน
เขาวากันผัวเมียกับแมลูก ยื่นจมูกเขามาบางชวยสั่งสอน
แมนคบคูกูไวมิใหนอน จะรานรอญรบเราเฝาตอแย
แลวชี้หนาดาอึงหึงนางเงือก ทําซบเสือกสอพลออีตอแหล
เห็นผัวรักยักคอทําทอแท พอกับแมมึงเขาไปอยูในทอง
ลงกลิ้งเกลือกเสือกกายรองไหโร เสียงโฮโฮดังกองหองคูหา
พระรูปหลอพอคุณของเมียอา ควรหรือมาทิ้งขวางหมองหมางเมีย
ทั้งลูกนอยกลอยใจไปดวยเลา เหมือนควักเอาดวงใจนองไปเสีย
นองรอนรุมกลุมใจดังไฟเลีย ทูนหัวเมียชางไมไวอาลัยเลย
ถึงแปดปนี่แลวไมแคลวคลาด เคยรวมอาสนอกอุนพอคุณเอย
ตั้งแตนี้นองจะไดผูใดเชย เหมือนพระเคยคูเคียงเมื่อเที่ยงคืน
 มีการเลนสัมผัสใน ทั้งสัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระ
“ลงกลิ้งเกลือกเสือกกายรองไหโร
เสียงโฮโฮดังกองหองคูหา
พระรูปหลอพอคุณของเมียอา
ควรหรือมาทิ้งขวางหมองหมางเมีย”

 การใชคําที่ทําใหเกิดจินตภาพ สื่อถึงอาการเคลื่อนไหว
 การเลนเสียงพยัญชนะที่ทายวรรคทําใหเกิดเสียงและ
จังหวะไพเราะ
 การใชคําพรรณาโวหาร
 การใชคําที่ทําใหเกิดจินตนาการทั้งภาพ แสง สี เสียง
“กระโหเรียงเคียงกระโหขึ้นโบกหาง
ลอยสลางกลางกระแสแลสลอน
มังกรเกี่ยวเลี้ยวลอดกอดมังกร
ประชุมซอนแฝงชลขึ้นวนเวียน
ฝูงมาน้ําทําทาเหมือนมาเผน
ขึ้นลอยเลนเลี้ยวลัดฉวัดเฉวียน
ตะเพียนทองทองน้ํานําตะเพียน
ดาษเดียรดูเพลินจนเกินม”
 การใชภาพพจน ประเภทอุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่ง
ที่เหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง
“ไมคลาดเคลื่อนเหมือนองคพระทรงเดช
แตดวงเนตรแดงดูดังสุรียฉาย
ทรงกําลังดังพระยาคชาพลาย
มีเขี้ยวคลายชนนีมีศักดา”
 การใชถอยคําที่ทําใหผูอานเกิดอารมณขัน
 สะทอนใหเห็นถึงวิถีชีวิตความเปนอยูของคนไทยเกี่ยวกับ
การเลี้ยงดูเด็ก
 สะทอนใหเห็นวา ในสังคมมีความเชื่อเรื่องความฝน
เคราะหกรรม เทวดา ภูตผีปศาจ เวทมนตรคาถา
 สะทอนใหเห็นวา สังคมไทยมีความเมตตาชวยเหลือกัน
 สะทอนใหเห็นวา การอยูในสังคมตองใชสติปญญา
 สะทอนใหเห็นถึงความรักระหวางสามีภรรยา หากเปน
ความรักที่ไมไดเกิดจากความสมัครใจก็อาจกอใหเกิดปญหา
ครอบครัวได
 การพลัดพรากจากสิ่งที่รักจะทําใหเกิดทุกข
 เมื่อเปนพอแมควรพูดกับลูกดีๆ พูดดวยเหตุผลและความรัก
ไมใชอารมณ ไมทํารายลูก
 ควรเปนคนมีความเมตตากรุณา รูจักชวยเหลือผูอื่นที่กําลัง
เดือดรอน
 ไมควรฆาสัตวและทําลายชีวิตผูอื่น
 การที่ ชี วิ ต คู ส ามี ภ รรยาจะยื น ยาวนั้ น ทั้ ง สองฝ า ยต อ งมี
ความเหมาะสมกัน ทั้งดานการดําเนินชีวิตและอุปนิสัยจึงจะ
อยูรวมกันได

You might also like