You are on page 1of 43

ลิลิตตะเลงพ่าย

ว ิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

เสนอ

อ.พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ์
รายชื่อสมาชิก

1. นางสาว ภาพัชร อ่าวสถาพร ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 1


2. นางสาว วานิสสา รุจิพัฒนกุล ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 15
3. นาย ศุภฤกษ์ แซ่เติ้น ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 เลขที่ 16
4. นาย ธนว ินท์ อังคณานุชาติ ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 5/1 เลขที่ 21
1.เนื้อหาและกลว ิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
- เนื้อเร่อื ง -
ฝ่ายสมเด็จพระนเรศวรต้องการจะไปตีเมืองเขมรตอนที่รู้ข่าวก็ได้เตร ียมการสู้กับพม่า
และเตร ียมกองทัพ พระมหาอุปราชาได้ปร ึกษาเกี่ยวกับศึกครั้งนี้แล้วยกเข้ามาปะทะทัพหน้า
ของไทย ส่วนสมเด็จพระนเรศวรก็ทรงปร ึกษาเพื่อหาทางเอาชนะข้าศึก เมื่อทัพหลวงเคลื่อน
พลช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรและช้างของสมเด็จพระเอกาทศรถตกมัน ก็เตลิดเข้าไปใน
วงล้อมของข้าศึกที่ตาบลตระพังตรุ สมเด็จพระนเรศวรทรงกระทายุทธหัตถีกับพระมหาอุป
ราชา สมเด็จพระเอกาทศรถทรงทายุทธหัตถีกับมางจาชโรและได้รับชัยชนะทั้งสองพระองค์
พระมหาอุปราชาถูกฟันขาดคอช้าง กองทัพหงสาวดีก็แตกแล้วก็กลับไป สมเด็จพระนเศวรได้
ปร ึกษาโทษนายทัพนายกองที่ตามช้างทรงเข้าไปในกองทัพพม่าไม่ทัน สมเด็จพระวันรัตทูลขอ
พระราชทานอภัยโทษแทนแม่ทัพนายกองทั้งหมดสมเด็จพระนเรศวรก็โปรดพระราชทานอภัย
โทษให้
- โครงเร่อื ง -
ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งนามา
จากประวัติศาสตร์ จึงมีขอบเขตกาหนดเนื้อหาไว้เพียงเรอื่ งการทาสงครามยุทธหัตถี แต่
เพื่อมิให้เนื้อเรอื่ งแห้งแล้งขาดชีว ิตชีวาจึงทรงเพิ่มเติมเรอื่ งที่ไม่ใช่การสงครามเข้าไป
เนื้อหาที่สาคัญเป็นหลักของเรอื่ ง “ตะเลงพ่าย” คือ การดาเนินความตามเค้าเรอื่ ง
พงศาวดาร ได้แก่ การทาสงคราม การต่อสู้แบบยุทธหัตถี การจัดทัพ และรายละเอียด
ต่างๆ ซึ่งเป็นไปตามตาราพิชัยสงครามและโบราณราชประเพณีทุกอย่าง สาหรับเนื้อหา
ที่เป็นส่วนเพิ่มเติมส่วนเสร ิมเรอื่ ง คือ บทประพันธ์ที่เป็นลักษณะนิราศ ซึ่งพรรณนา
เกี่ยวกับการเดินทางและการคร่ าครวญถึงนางผู้เป็นที่รักโดยผ่านบทบาทของพระมหา
อุปราชา
- ตัวละครหลักฝ่ายไทย -
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหร ือพระองค์ดา
มีความเป็นนักรบ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเป็นนักรบที่แท้จร ิง เพราะทรงรอบรู้เรอื่ งกระบวนศึก
การจัดทัพ การเคลื่อนทัพ การตั้งค่ายตามตาราพิชัยสงครามที่สาคัญคือ พระองค์มีความกล้าหาญ เด็ดเดี่ยว ไม่
หวั่นเกรงต่อข้าศึก แม้จะอยู่ในลักษณะเสียเปร ียบก็ไม่เกรงกลัว แต่กลับใช้บุคลิกภาพอันกล้าหาญของพระองค์
เผชิญกับข้าศึกด้วยพระทัยที่มั่นคงเข้มแข็ง ดังตอนที่พระองค์ตกอยู่ในวงล้อมของกองทัพพม่ามอญ
สองสุร ิยพงศ์ผ่านหล้า ขับคเซนทร์
บ่ายหน้า
แขกเจ้าจอมตะเลง
แลนา
ไป่เกรงประภาพเท่าเผ้า พักตร์ท่านผ่องฤาเศร้า
สู่เสี้ยนไป่หนี หน้านา
ไพร ีเร่งสาดซ้อง โซรมปืนไฟไป่ต้อง
มีพระปร ีชาญาณ คือ ความฉลาด รอบรู้ มีไหวพร ิบ สมเด็จพระนเรศวรทรงมีพระปร ีชาญาณในหลายๆ
ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการทาศึกสงครามพระองค์ทรงสุขุม รอบคอบ ทาการศึกโดยไม่วู่วามขาดสติ ทรง
พิจารณาอุบายกลศึกด้วยความรู้และประสบการณ์อย่างแท้จร ิง ตอนที่แสดงให้เห็นความมีพระปร ีชาญาณของ
พระองค์ เช่น ตอนที่พระองค์ตกอยู่ในวงล้อมของข้าศึก พระองค์ทรงเห็นนายทัพฝั่ งตรงข้ามที่ขี่ช้างมีฉัตรกั้นถึง
สิบหกเชือก ยากที่จะแยกแยะได้ว่าใครเป็นใคร แต่ด้วยพระปร ีชาญาณและช่างสังเกตก็เห็นนายทัพคนหนึ่งขี่ช้าง
มีฉัตรกั้นอยู่ใต้ร่มไม้ข่อย มีพลทหารสี่เหล่าเร ียงรายอยู่จานวนมากจึงคาดว่านายทัพคนนั้นคือ พระมหาอุปราชา
แน่นอน จึงตรงเข้าไปทรงท้าพระมหาอุปราชากระทายุทธหัตถีด้วยวาจาสุภาพ อ่อนโยนและให้เกียรติ ซึ่งแสดง
ถึงพระปร ีชาญาณและไหวพร ิบของพระองค์อย่างดียิ่ง ดังตัวอย่าง
ปิ่ นสยามยลแท้ท่าน คะเนนึก อยู่นา
ถว ิลว่าขุนศึกสา นักโน้น
ทวนทัพเทียบพันลึก แลหลาก หลายแฮ
ครบเครอื่ งอุปโภคโพ้น เพ่งเพี้ยงพิศวง
- ตัวละครหลักฝ่ายพม่า -
สมเด็จพระอุปราชา
มีขัตติยมานะ คือ การถือตัวว่าเป็นกษัตร ิย์ ถึงแม้พระมหาอุปราชาจะมีความประหวั่นพรั่นพร ึงว่าจะต้อง
สูญเสียชีว ิตในการทาศึกสงคราม และมีความโศกเศร้าสักเพียงใด แต่ด้วยขัตติยมานะ พระองค์ก็เดินทัพไปด้วย
ความหยิ่งทะนงในพระองค์เอง และวางแผนทาศึกทันทีทั้งๆที่ยังมีความหวาดหวั่นในพระทัยอยู่
“ ครั้นพระบาทได้สดับ ธก็ทราบสรรพโดยควร ว่านเรศวรกษัตรา กับเอกาทศรุถ ยกมายุทธ์แย้งรงค์ แล้ว
พระองค์ตรัสถาม สามสมิงนายกองม้า ถ้าจักประมาณพลไกร สักเท่าใดดูตระหนัก ตรัสซ้ าซักเขาสนอง ว่าพล
ผองทั้งเสร็จ ประมาณสิบเจ็ดสิบแปดหมื่น ดูดาษดื่นท่งกว้าง ครั้นเจ้าช้างทรงสดับ ธก็ตรัสแก่ขุนทัพขุนกอง ว่า
ซึ่งสองกษัตร ิย์กล้า ออกมาถ้ารอรับ เป็นพยุหทัพใหญ่ยง คงเขาน้อยกว่าเรา มากกว่าเขาหลายส่วน จาเราด่วนจู่
โจมโหมหักเอาแต่แรก ตีให้แตกย่นย่อย ค่อยเบาแรงเบามือ เร็วเร่งฮือเข้าห้อม ล้อมกรุงเทพทวารัติ ชิงเอาฉัตร
ตัดเข็ญ เห็นได้เว ียงโดยสะดวก แล้วธส่งพวกขุนพล เทียบพหลทุกทัพ สรรพแต่สามยามเสร็จ ตีสิบเอ็ดนาฬิกา
จักยาตราทัพขันธ์ กันเอารุ่งไว้หน้า เร็วเร่งจัดอย่าช้า พรุ่งเช้าเราตี เทอญนา ”
เป็นลูกกตัญญู พระมหาอุปราชาทรงเกรงสมเด็จพระนเรศวรในเรอื่ งฝีมือและความอาจหาญ แต่จาเป็นต้องยกทัพ
มาตีกรุงศร ีอยุธยา เพราะขัดพระบรมราชโองการไม่ได้ ในระหว่างเดินทัพมาได้เกิดลางร้ายต่างๆ พระมหาอุปราชาเกิด
ความโศกเศร้าเสียพระทัพเพราะไม่มั่นพระทัพว่าจะได้รับชัยชนะ ทาให้ทรงห่วงใยพระราชบิดายิ่งนัก ข้อความที่แสดงให้
เห็นความกตัญญูของพระมหาอุปราชา คือ ตอนที่คร่ าครวญถึงพระราชบิดาว่าจะว้าเหว่และขาดคู่คิดในการทาสงคราม
และพระองค์เองก็ไม่สามารถทดแทนบุญคุณของพระบิดาได้
พระเนานัคเรศอ้า เอองค์
ฤาบ่มีใครคง คู่ร้อน
จักร ิจักเรมิ่ รงค์
ฤาลุ แล้วแฮ
พระจักขุ่นจักข้อน จักแค้นคับ
ทรวง
พระคุณตวงเพียบพื้น ภูวดล
เต็มตรลอดแหล่งบน
บ่อนใต้
- ฉากท้องเร่อื ง -
หนึ่งในฉากที่ปรากฏในเรอื่ งตอนที่เร ียน คือ บรรยากาศระหว่างการเดินทัพจากเมือง
มอญสู่กาญจนบุร ีของพระมหาอุปราชา ผู้แต่งได้บรรยายฉากและบรรยากาศได้สมจร ิง
สอดคล้องกับเนื้อเรอื่ ง ดังนี้

ล่วงลุด่านเจดีย์ สามองค์มีแห่งหั้น
แดนต่อแดนกันนั้น เพื่อรู้ราวทาง
ขับพลวางเข้าแหล่ง แห่งอยุธเยศหล้า
แลธุลีฟงุ้ ฟ้า มืดคลุ้มมัวมล ยิง่ นา
- บทเจรจาหร ือราพึงราพัน -
ตัวอย่างบทเจรจาหร ือราพึงราพันของพระมหาอุปราชาถึงนางสนม สามารถถอดความ
ได้วา่ พระมหาอุปราชาต้องเสด็จมาเพียงผู้เดียวอย่างเหงาใจ แต่พระองค์ได้ชมนกชมไม้ทาให้
รู้สึกเบิกบานพระทัยมากขึ้น แต่ก็ยังคิดถึงเหล่านางสนมและกานัลทั้งหลาย พอเห็นต้นสลัด
ทาให้พระองค์คิดว่าต้องจากนางมานอนป่าเพื่อทาสงคราม เห็นต้นสละ เหมือนสละนางมาอยู่
ในป่า เห็นต้นระกาช่างเหมือนอกพระองค์ เห็นต้นสายหยุดเมื่อตอนสายก็หมดกลิ่นแต่ไม่
เหมือนใจพระองค์ที่ไม่หมดรักนาง จะกี่วน
ั กี่คืนก็รัก ไม่มีทางที่จะหยุดรักนาง
มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู
สถิตอยู่เอ้องค์ดู ละห้อย
พิศโพ้นพฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา
พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนื้อนวลสงวน
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤๅ
เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชื่อ ไม้
นา
นึกระกานามไม้ แม่นแม้น
ทรวงเร ียม
สายหยุดหยุดกลิ่นฟุง้ ยามสาย
สายบ่หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า
- แก่นเร่อื ง -
ลิลิตเรอื่ งนี้ต้องการแต่งขึ้นมาเพื่อบรรยายถึงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ โดย
เนื้อหามุ่งเน้นที่จะสะท้อนให้เห็นถึงความรักชาติ ความเสียสละ ความกล้าหาญ
และความมีไหวพร ิบของบรรพบุรุษ อีกทั้งยังต้องการสื่อถึงความยากลาบากของ
บรรพบุรุษที่ต้องผ่านการทาศึกสงครามเพื่อรวบรวมแผ่นดินไทยให้เป็นปึกแผ่น
ดังทุกวันนี้ โดยมีการมุ่งเน้นในการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่
ทรงสามารถชนะพระมหาอุปราชาในการทายุทธหัตถี
2.การใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.1 การสรรคา
วรรณคดี เรอื่ ง ลิลิตตะเลงพ่าย มีการเลือกสรรถ้อยคาอย่าง
ประณีต ทาให้ส่อ
ื ความได้ชัดเจนเหมาะสม และมีความไพเราะ
งดงาม
2.1.1 เลือกใช้คาให้ถูกต้องตรงตามความหมายที่ตอ
้ งการ

ในการประพันธ์ ผู้เขียนมักสรรคาที่มีความหมายเหมือนกัน หร ือเร ียกว่า คาไวพจน์ มาใช้เพื่อให้เกิดความ


หลากหลายไม่ซ้ าซาก การสรรคาจึงต้องเลือกใช้คาไวพจน์ให้ถูกต้องตามความหมายที่ต้องการด้วย ตัวอย่างดัง
โคลงบทต่อไปนี้

สองโจมสองจู่จ้วง บารู
สองขัตติยสองขอชู เชิดด้ า
กระลึงกระลอกดู ไวว่อง นักหนา

ควาญขับคชแข่งค้ า เข่นเขี้ยวในสนาม

คาว่า “โจม” หมายความว่าโถมเข้าใส่อย่างเต็มกาลัง คาว่า “จู”่ หมายความว่ากรากเข้าใส่โดยไม่รั้งรอ และ


“จ้วง” หมายความว่าทาจนสุดแขนด้วยกาลังแรง เมื่อนาคาทั้งสามมาใช้ด้วยกัน จึงมีความหมายสอดคล้องกัน
ว่ากระทาด้วยกาลังแรง
2.1.2 เลือกใช้คาให้เหมาะสมกับเรอื่ งและฐานะของบุคคลในเรอื่ ง

วรรณคดี เรอื่ ง ลิลิตตะเลงพ่าย มีเนื้อหาพรรณนาฉากการต่อสู้ระหว่างพระนเรศวรมหาราชผู้เป็นว ีร


กษัตร ิย์สมัยอยุธยา และพระมหาอุปราชาแห่งพม่า จึงต้องมีการใช้คาราชาศัพท์เพื่อความเหมาะสม ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้

เบื้องนั้นนฤนาถผู้ สยามินทร์
เบี่ยงพระมาลาผิน ห่อนผ้อง
ศัสตราวุธอร ินทร์ ฤๅถูก องค์เอย

เพราะพระหัตถ์หากป้อง ปัดด้วยขอทรง

โคลงบทนี้ผู้เขียนได้มีการใช้คาราชาศัพท์ว่า “พระมาลา” “องค์” และ “พระหัตถ์” เพื่อให้มีความเหมาะสม


กับการบอกเล่าถึงการหลบหลีกอาวุธของพระนเรศวรมหาราช ดังที่สามารถสังเกตได้จาก คาว่า “นฤนาถ” ที่
หมายความว่ากษัตร ิย์ และคาว่า “สยามินทร์” ที่หมายความว่าผู้เป็นใหญ่แห่งสยาม
2.1.3 เลือกใช้คาให้เหมาะสมแก่ลักษณะของคาประพันธ์

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสนิพนธ์วรรณคดี เรอื่ ง ลิลิตตะเลง


พ่าย ขึ้นโดยใช้คาประพันธ์ประเภทโคลงสี่สุภาพและร่ายสุภาพ จึงมีการใช้คาสร้อย เช่น เฮย แฮ
และฤๅ อีกทั้งยังมีการใช้คำเอกและคาโท เพื่อให้ตรงตามฉันทลักษณ์ของโคลงสี่สุภาพ ดังนี้

สระเทินสระทกแท้ ไทถว ิล อยู่


เฮย
ฤๅใคร่คลายใจจินต์
จืดสร้อย
คานึงนฤบดินทร์
บิตุเรศ พระแฮ
พระเร่งลานละห้อย
เทวษไห้โหยหา
2.1.4 เลือกใช้คาโดยคานึงถึงเสียง

1) คาที่เล่นเสียงวรรณยุกต์ เช่น
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพร
ฤา
เพราะเพื่อมาราญรอน เศิกไสร้
สละสละสมร เสมอชื่อ
ไม้นา

นึกระกานามไม้ แม่นแม้นทรวง
2) คาที่เล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระ เช่น
สงครำมควำมเศิกซึ้ง แสนกล
จงพ่ออย่ำยินยล แต่
ตื้น
อย่าลองคะนองตน ตำม
ชอบ ทานา

การศึกลึกเล่ห์พื้น ล่อ
เลี้ยวหลอกหลอน
3) คาที่เล่นเสียงหนักเบา เช่น
มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู
สถิตอยู่เอ้องค์ดู
ละห้อย
พิศโพ้นพฤกษ์พบู
บานเบิก ใจนา

พลางคะนึงนุชน้อย
แน่งเนื้อนวลสงวน
4) คาพ้องเสียงและคาซ้า เช่น
สำยหยุดหยุดกลิ่นฟุ้ง ยาม
สำย
สำย บ่ หยุดสเน่ห์หาย ห่าง
เศร้า
กี่คืนกีว
่ ันวาย
วางเทวษ ราแม่

ถว ิลทุกขวบค่าเช้า
2.2 การเร ียบเร ียงคา
บทประพันธ์ที่ดี นอกจากจะต้องมีการเลือกใช้คาอย่างงดงาม
และเหมาะสมแล้ว คาเหล่านั้นยังจะต้องมีการนามาเร ียบเร ียงอย่าง
ไพเราะ สร้างสรรค์อีกด้วย ดังนี้
2.2.1 เร ียงข้อความที่บรรจุสารสาคัญไว้ท้ายสุด
พลอยพล้าเพลียกถ้าท่าน ในรณ
บัดราชฟาดแสงพล
พ่ายฟ้อน
พระเดชพระแสดงดล
เผด็จคู่ เข็ญแฮ

ถนัดพระอังสาข้อน
ขาดด้าวโดยขวา
2.2.2 เร ียงคา วลี หร ือประโยคที่มีความสาคัญเท่าๆ กัน เคียง
ขนานกันไป
จงจาคาพ่อไซร้
สั่งสอน
จงประสิทธิ์สมพร
พ่อให้
จงเร ืองพระฤทธิ์รอน อร ิราช

จงพ่อลุลาภได้
้ หาเข้มข้นขึ้นไปตามลาดับดุจ
2.2.3 เร ียบเร ียงประโยคให้เนือ
ขั้นบันไดจนถึงขั้นสุดท้ายที่สาคัญที่สุด เช่น
อุรารานร้าวแยก
ยลสยบ
เอนพระองค์ลงทบ
ท่าวดิ้น
เหนือคอคชซอนซบ
สังเวช

วายชิวาตม์สุดสิ้น
2.3 การใช้โวหารและภาพพจน์
ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นบทประพันธ์ที่มีการใช้สานวนโวหารและ
ภาพพจน์ที่ทาให้เกิดภาพ ความรู้สึก และอารมณ์ได้อย่างลึกซึ้ง
เพื่อให้การดาเนินเรอื่ งเป็นไปอย่างตื่นเต้นและเร้าใจผู้อา่ น ซึ่ง
โวหารและภาพพจน์ที่ปรากฏอยูใ่ นคาประพันธ์ มีดังนี้
2.3.1 อุปมา

พระพลันเห็นเหตุไซร้ เสียวดวงแดเอย
ถนัดดัง่ ภูผาหลวง ตกต้อง
กระหม่ากระเหม่นทรวง สั่นซีด พักตร์นา

หนักหฤทัยท่านร้อง เร ียกให้
โหรทาย

คาว่า “ดั่ง” ที่ปรากฏในโคลงบทนี้ มีหน้าที่ในการใช้เปร ียบเทียบความรู้สึก


หนักใจของพระมหาอุปราชาหลังจากที่ได้เห็นเหตุการณ์แปรปรวนที่แลดูเป็น
ลางร้าย ทั้งเกิดเมฆหมอกปกคลุมท้องฟ้า และลมพัดฉัตรหัก ว่าเหมือนมีภูเขา
2.3.2 อุปลักษณ์

หัสดินปิ่ นธเรศไท้
โททรง
คือสมิทธิมาตงค์
หนึ่งอ้าง
หนึ่งคือศิร ิเมขล์มง คลอาสน์
มารเอย

เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้ง
แทงโถม

โคลงบทนี้มีการเปร ียบช้างทรงของพระสมเด็จนเรศวรมหาราช เป็นช้าง


2.3.3 นามนัย

“...ว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช เยียวว ิวาทชิงฉัตร...”

ฉัตร เป็นเครอื่ งสูงอย่างหนึ่งทีส


่ าคัญยิ่งสาหรับพระมหากษัตร ิย์ แสดง
ความเป็นกษัตร ิย์ จึงอาจใช้คาว่า “ฉัตร” หมายถึง องค์พระมหากษัตร ิย์
หร ือแสดงความเป็นกษัตร ิย์ได้ ดังที่ปรากฏในร่ายสุภาพตอนนี้ ในความ
หมายถึงว่า กรุงศร ีอยุธยาในสมัยนั้นมีการเปลี่ยนแผ่นดิน อาจมีการแย่งชิง
ราชสมบัติ หร ือความเป็นกษัตร ิย์กันได้
3.ประโยชน์หร ือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
- คุณค่าของเร่อื งลิลิตตะเลงพ่าย -
วรรณคดีเร่อื งนี้มีคุณค่าในด้านต่างๆ ดังนี้

● ด้านวรรณศิลป์
● ด้านอารมณ์
● ด้านสังคม
● ด้านวัฒนธรรม
● ด้านคุณธรรม
1. คุณค่าด้านวรรณศิลป์

- รสวรรณคดีไทย -
เสาวรจนี: ชมความงามตัวละคร
งามสองสุร ิยราชล้ า เลอพิศ นาพ่อ

พ่างพัชร ินทรไพจิตร ศึกสร้าง

ฤๅรามเรมิ่ รณฤทธิ์ รบราพณ์แลฤๅ

ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม ฯ

สองกษัตร ิย์สู้กันราวกับพระอินทร์และพญาอสูรเวปจิตติ (ไพจิตราสูร) ทาสงครามกัน หร ือ


เป็นดังพระรามทาสงครามกับทศกัณฐ์ ไม่มีกษัตร ิย์พระองค์ใดในประเทศไหนๆ ในทั่วทิศเสมอเหมือนได้
- รสวรรณคดีไทย -
พิโรธวาทัง: บทโกรธ

“….แม้นเจ้าคร้าเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตร ี สวมอินทร ีย์สร่างเคราะห์


....”

พระมหาอุปราชาทรงกราบทูลแก่พระบิดาให้เลื่อนการทาศึกออกไป ด้วยโหรทายทักว่า
ดวงชะตาของตนเองนั้นร้ายนักพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงกรวิ้ โกรธมาก จึงกล่าวโคลงบทนี้
ออกมา เมื่อสิ้นเสียงกรวิ้ พิโรธ ได้สร้างความอับอายให้แก่พระมหาอุปราชามาก จึงประกาศต่อ
หน้าเหล่าขุนนางจะยกทัพทาศึกรบกับสมเด็จพระนเรศวร
- รสวรรณคดีไทย -
สัลลาปังคพิสัย: รสแห่งความโศกเศร้า
สระเทินสระทกแท้ ไทถว ิล อยู่เฮย

ฤๅใคร่คลายใจจินต์ จืดสร้อย

คานึงนฤบดินทร์ บิตุเรศ พระแฮ

พระเร่งลานละห้อย เทวษไห้โหยหา

พระมหาอุปราชาเสด็จไปลานางสนมซึ่งร่ าไห้คร่ าครวญ และขอตามเสด็จด้วย แต่พระมหาอุปราชาได้ตรัส


ว่าหนทางลาบากนัก พระองค์จาใจจากเหล่าสนมไปและในไม่ช้าก็คงจะได้กลับคืนมา
2. คุณค่าด้านอารมณ์
อุรารานร้าวแยก ยลสยบ

เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น

เหนือคอคชซอนซบ สังเวช

วายชิวาตม์สุดสิ้น สู่ฟ้าเสวยสวรรค์

พรรณนาภาพการสิ้นพระชนม์บนคอช้างของพระมหาอุปราชาแห่งพม่า หลังจากทาศึกยุทธ
หัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระมหาอุปราชาก็ค่อยๆโน้มลงทีละน้อย จนซบลงเหนือคอช้าง
ชวนให้เกิดความสังเวชใจ แล้วดวงพระว ิญญาณก็เสด็จลอยล่องขึ้นไปสถิตยังสรวงสวรรค์ เป็นบทที่
ปิดท้ายบทพรรณนาการกระทาสงครามยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุป
ราชา อันเป็นเนื้อหาที่สาคัญที่สุด ในเรอื่ งลิลิตตะเลงพ่ายและขณะเดียวกันก็ปิดฉากชีว ิตของพระมหา
อุปราชา
3. คุณค่าด้านสังคม
● สะท้อนให้เห็นธรรมชาติมนุษย์ เช่น

พระเจ้าหงสาวดีตรัสประชดพระมหาอุปราชาว่า กษัตร ิย์กรุงศร ีอยุธยามี


พระโอรสที่กล้าหาญไม่เกรงกลัวต่อการศึกสงคราม แต่พระโอรสของพระองค์เป็นคนขลาด ทาให้
พระมหาอุปราชาทรงอับอายและเกรงพระราชอาญา จึงเกิดขัตติยมานะยอมทาตามพระราชระสงค์
ของพระราชบิดา ดังตัวอย่าง

“...องค์อุปรำชยินสำร แสนอัประมำณมำตย์มวล นวลพระพักตร์ผ่องเผือด


เลือดสลดหมดคล้ำ ช้ำกมลหมองมัว กลัวพระอำชญำยอบ นอบประณตบทมูล ทูลลำไท้ลีลำศ ธก็
ประกำศเกณฑ์พล บอกยุบลบมิหึง...”
● สะท้อนให้เห็นความเชื่อของสังคมไทย

ความเชื่อที่ปรากฏในเรอื่ ง ได้แก่ ความเชื่อของบรรพบุรุษ ความเชื่อเรอื่ งความฝัน


บอกเหตุ เชื่อคาทานายทายทักของโหร เช่น ตอนที่สมเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบินนิมิต จึงตรัสให้
่ ทานายนิมต
หาพระโหราจารย์เพือ ิ

ทันใดดิลกเจ้า จอมถวัลย์

สร่างผทมถว ิลฝัน ห่อนรู้

พระหาพระโหรพลัน พลางบอก ฝันนา

เร็วเร่งทายโดยกระทู้ ที่ถ้อยตูแถลง
4.คุณค่าด้านวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมในการศึกที่ปรากฏในเรอื่ ง ได้แก่ เมื่อพระมหาอุปราชาจะออกศึก พระเจ้าหงสาวดี
ทรงให้โอวาทการสร้างขวัญกาลังใจแก่ทหารและความเด็ดขาดในการรบ ความรู้เกี่ยวกับตาราพิชัย
สงคราม การจัดทัพ การตั้งทัพ ประเพณี และพิธีกรรมเกี่ยวกับสงคราม เช่น พิธีโขลนทวารตัดไม้ข่มนาม
เพื่อการสร้างขวัญกาลังใจแก่ทหาร ดังที่ปรากฏในบทประพันธ์ที่กล่าวถึงพิธีโขลนทวารซึ่งเป็นพิธีบารุง
ขวัญทหารก่อนออกศึกเหล่าทหารต่างฮึกเหิมและมีกาลังใจเพราะมีพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์และ
ประพรมน้าพระพุทธมนต์ให้ ดังนี้

“...พลันขยำยพยุหบำตรำ คลำเข้ำโขลนทวำเรศ สงฆ์สวดชเยศพุทธมนต์ ปรำยประชลเฉลิมทัพ ตำมตำรำรับรำช


รณยุทธ์ โบกกบี่ธุชคลำพล ยลนำวำดำดำษ ดูสระพรำศสระพรั่ง คั่งคับขอบคงคำ แลมหำเหำฬำร์พันลึก อธึกท้อง
แถวธำร...”
5. คุณค่าด้านคุณธรรม
● ความรอบคอบไม่ประมาท:
ึ เสี้ยน
พระห่วงแต่ศก อัสดง

เกรงกระลับก่อรงค์ รั่วหล้า

คือใครจักคุมคง ควรคู่ เข็ญแฮ

อาจประกันกรุงถ้า ทัพข้อยคืนถึง

พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตร ิย์ที่ทรงพระปร ีชาสามารถมากที่สุดคือ ความรอบคอบ ไม่ประมาท

แสดงให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงเป็นกษัตร ิย์ที่มีทัศนคติที่กว้างไกล ซึ่งมีผลมาจากความรอบคอบไม่


ประมาท
● การเป็นคนรู้จักความกตัญญูกตเวที

ณรงค์นเรศด้าว ดัสกร

ใครจักอาจออกรอน รบสู้

เสียดายแผ่นดินมอญ มอด ม้วยแฮ

เหตูบ่มีมือผู้ อื่น
ต้านทานเข็ญ

พระมหาอุปราชาทรงมีความห่วงใย อาทร ถึงพระราชบิดาในระหว่างที่ทรงออกรบ ซึ่ง


แสดงให้เราเห็นถึงความรักของพระองค์ที่มีต่อพระราชบิดา
● ความซื่อสัตย์

➔ บรรดาขุนกร ีและทหารมากมายทั้งฝ่ายพม่าและฝ่ายไทยมีความซื่อสัตย์
และความจงรักภักดี ต่อประเทศชาติของตนมาก
➔ ไม่มีบรรดาทหารฝ่ายใดจะทรยศต่อชาติบ้านเมืองของตน
➔ ความซื่อสัตย์เล็กๆน้อยๆของบรรดาทหารส่งผลให้ชาติบา้ นเมืองเกิดความ
เป็นปึกแผ่นมั่นคงได้
- บรรณานุกรม -
ศึกษาธิการ, กระทรวง. สานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน.วรรณคดีว ิจักษ์ . ๒๒๔๙.
ถนนลาดพร้าว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร: สกสค.
ลาดพร้าว, ๒๕๕๖. ๑๓๑ หน้า.

เว ิลด์เพรส.//(2012).//ลิลิตตะเลงพ่าย.//สืบค้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2561,/ จาก


https://literaturethai.wordpress.com/%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88
%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B3/

เว ิลด์เพรส.//(2012).//คุณค่าลิลิตตะเลงพ่าย.//สืบค้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2561,/ จาก


https://alilit.wordpress.com/category/12-
%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%
88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8
%AD%E0%B8%87/

You might also like