You are on page 1of 14

 

 
รายงานเชิงวิชาการ 
การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรือง สามัคคีเภทคําฉันท์ 
 
โดย 
 
นาย อติภัทร ศรีวงศ์จรรยา ชันมัธยมศึกษาปที 5/6 เลขที 12 
นาย เกรียงไกร ตังชัยวัฒนสกุล ชันมัธยมศึกษาปที 5/6 เลขที 15 
นางสาว วลัยพรรณ ธรรมเจริญศักดิ ชันมัธยมศึกษาปที 5/6 เลขที 16 
นางสาว กุลภาภร ไตรศุภกิตติ ชันมัธยมศึกษาปที 5/6 เลขที 18 
 
เสนอ 
 
อาจารย์ พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์ 
 
ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2562 
โรงดรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 
รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเปนฐาน 
(Project Based Learning) 
รายงานวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5 
 
   
คํานํา 
 
รายงานเล่มนีจัดทําเพือเปนส่วนหนึงของวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชัน
มัธยมศึกษาปที 5 เพือให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรืองของบทประพันธ์ สามัคคีเภทคําฉันท์ ในด้าน
ของการอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม เพือให้ได้ศึกษาอย่าง
เข้าใจและเพือเปนประโยชน์กับการเรียน 
 
คณะผู้จัดทําหวังว่า รายงานเล่มนีจะเปนประโยชน์แก่ผู้อ่าน นักเรียน หรือ นักศึกษา ที
กําลังค้นหาข้อมูลเรืองนีอยู่ หากมีข้อแนะนําหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทําของน้อมรับไว้
และขออภัยมา ณ ทีนีด้วย 
 
คณะผู้จัดทํา 
26/05/2563 
 
 
   
การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
เนือเรือง 
 
พระเจ้าอชาตศัตรูแห่งกรุงราชคฤห์แคว้นมคธต้องการขยายอาณาจักรของตนให้ใหญ่ขึน
เพือทีจะชิงเเคว้นวัชชีของเหล่ากษัตริย์ลิจฉวีเพราะเปนเเคว้นทีค่อนข้างเจริญรุง่ เรืองเเถมยังมี
ความสามัคคีกันมากทําให้การโจมตีเเคว้นนีเปนเรืองยาก พระเจ้าอชาตศัตรูจึงได้ปรึกษากับ
ปุโรหิตวัสสการพราหมณ จึงสรุปได้ว่าปุโรหิตมีเเผนทีจะให้สง่ ตนไปเปนไส้ศึกในเเคว้นวัชชีเพือ
ทําให้ศัตรูเกิดการเเตกเเยก พระเจ้าอชาตเห็นด้วยเเละเริมลงมือ 
 
อย่างเเรกทีพระเจ้าอชาตเเสดงคือเเกล้งทําเปนโกรธและลงโทษวัสสการพราหมณ์อย่าง
หนักแล้วสังให้ถูกเนรเทศออกจากเมือง ต่อจากนันวัสสการพราหมณ์ได้มงุ่ หน้าไปยังเเคว้นวัชชี
เพือขอเปนวาทศิลปกับเหล่ากษัตริย์วัชชีด้วยวิธีการโน้มน้าวต่างๆ จนท้ายทีสุดเเล้ววัสสการพรา
หมณ์ก็ได้หน้าทีพิจารณาคดีในเมืองและสอนวิชาความรู้ต่างๆ 
 
หลังจากผ่านมาสักระยะพอวัสสการพราหมณ์เห็นว่าได้เวลาอันสมควรแล้วจึงพากุมารเเต่
ละคนมาคุยด้วยเเบบส่วนตัวเเถมยังบอกว่ากุมารคนอืนๆได้ล้อปมด้วยของกุมารคนนัน กุมารจึง
นําเรืองไปพูดกับบิดาของตน ผ่านไปสามปทีวัสสการพราหมณ์ทําเช่นนีทําให้เหล่ากษัตริย์
แตกแยกกัน วัสสการพราหมณ์จึงได้ทําการทดลองตีกลองเพือเรียกประชุมเเละผลปรากฏว่าไม่มี
ใครมาทําให้เห็นว่าเริมเกิดความไม่สามัคคีกัน วัสสการพราหมณ์รีบส่งข่าวให้พระเจ้าอชาตรู้ สุด
ท้ายเเล้วจึงสามารถยึดกองทัพเเคว้นลิจฉวีอย่างง่ายดาย 
 
โครงเรือง 
พระราชาองค์หนึงประสงค์ทีจะขยายอาณาเขตของตนให้กว้างใหญ่ โดยมีจุดประสงค์ที
จะไปโจมตีเมืองต่างๆ โดยการทีจะทําให้เมืองทีบุกอ่อนแอลงควรทําให้ผู้นําในเมืองเสียความ
สามัคคี พระราชาจึงส่งคนไปเปนไส้ศึกเพือสร้างความแตกแยกจากข้างใน จนในทีสุดเมืองของ
ศัตรูก็ล่มสลายเนืองจากความอสามัคคี 
 
ตัวละคร  
 
พระเจ้าอชาตศัตรู 
- ทรงมีพระเมตตาต่อพสกนิกรของพระองค์ ดังฉันท์ทีว่า 
 
แว่นแคว้นมคธนครรา- ชคฤห์ฐานบูร ี

สืบราชวัตวิธทวี ทศธรรมจรรยา 
  เลืองหล้ามหาอุตตมลาภ คุณภาพพระเมตตา 
แผ่เพียงชนกกรุณอา ทรบุตรธิดาตน 
 
- ทรงทํานุบํารุงบ้านเมืองให้เจริญรุง่ เรือง บ้านเมืองได้รับการทํานุบํารุงจน
กระทังมีแสนยานุภาพ ประชาชนสุขสงบ มีมหรสพให้บันเทิง เช่น 
 
หอรบจะรับริปุผริ อ รณท้อหทัยหมาย 
มุง่ ยุทธย่อมชิวมลาย และประลาตมิอาจทน 
พร้อมพรังสะพรึบพหลรณ พยุหพ
์ ลทหารชาญ 
อํามาตย์และราชบริวาร วุฒเิ สวกากร 
เนืองแน่นขนัดอัศวพา หนชาติกญ
ุ ชร 
ชาญศึกสมรรถสุรสมร ชยเพิกริปูภินท์ 
กลางวันอนันตคณนา นรคลาคละไลเนือง 
กลางคืนมหุสสวะประเทือง ิ ศัพทดีดสี 
ดุรย
บรรสานผสมสรนินาท พิณพาทย์และเภรี 
แซ่โสตสดับเสนาะฤดี อุระลาระเริงใจ 
 
- ทรงมีพระราชดําริจะแผ่พระบรมเดชานุภาพ โดยจะกรีธาทัพไปตีแคว้นวัชชี 
ดังนี 
สมัยหนึงจึงผูภ
้ ม
ู บ
ิ าล ทรงจินตนาการ 
จะแผ่อํานาจอาณา 
ให้ราบปราบเพือเกือปรา- กฎไผทไพศาลรัฐจังหวัดวัชชี 
 
- ทรงมีความรอบคอบ เมือทรงทราบว่าคณะกษัตริย์ลิจฉวียึดมันในสามัคคีธรรม
จึงทรงมีพระราชดําริว่า 
 
ศึกใหญ่ใคร่จะพยายาม รบเร้าเอาตาม 
กําลังก็หนักนักหนา 
  จําจักหักด้วยปญญา รอก่อนผ่อนหา 
 
วัสสการณ์พราหมณ์ 
 
- ​ วัสสการพราหมณ์เปนปุโรหิตแห่งแคว้นมคธ เปนผูเ้ ฉลียวฉลาดและรอบรูศ
้ ล
ิ ปศาสตร์ ดังคํา
ประพันธ์ทีว่า 
 
​อันอัครปุโรหิตาจารย์ พราหมณ์นามสการ 
 
ฉลาดเฉลียวเชียวชิน 
 
กลเวทโกวิทจิตจินต์ สําแดงแจ้งศิล 
 
ปศาสตร์ก็จบสบสรรพ์ 
 
 
- รักชาติบ้านเมือง ยอมเสียสละเพือประเทศชาติ เมือพระเจ้าอชาตศัตรูทรงปรึกษากับ
วัสสการพราหมณ์เรืองทีจะทรงแผ่พระบรมเดชานุภาพเอาเมืองวัชชีไว้ในครอบครองและ
วัสสการพราหมณ์กราบทูลกลอุบายและวิธีการนัน วัสสการพราหมณ์จะต้องกราบทูลขัด
แย้งพระราชดําริของพระเจ้าอชาตศัตรูทําให้ถูกลงพระราชอาญาอย่างหนัก แต่วัสสกา
รพราหมณ์ก็ยอมรับ ทังนีเพือจะได้ไปอาศัยอยูท่ ีแคว้นวัชชีและดําเนินอุบายทําลายความ
สามัคคีได้สะดวก ดังฉันท์ทีว่า 
 
ไปเห็นกะเจ็บแสบ ชิวแทบจะทําลาย 
 
มอบสัตย์สมรรถหมาย มนมันมิหวันไหว 
 
หวังแผนเพือแผ่นดิน ผิถวิลสะดวกใด 
 
เกือกิจสฤษฎ์ไป บมิเลียงละเบียงเบือน 
 
- จงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรู ดังฉันท์ทีพรรณนาไว้ตอนวัสสการพราหมณ์ต้องโทษดังนี 
 
โดยเต็มกตัญ ู กตเวทิตาครัน 
 
ใหญ่ยงและยากอั
ิ น นรอืนจะอาจทน 
 
  หยังชอบนิยมเชือ สละเนือและเลือดตน 
 
ยอมรับทุเรศผล ขรการณ์พะพานกาย 
 
  ไปเห็นกะเจ็บแสบ ชิวแทบจะทําลาย 
 
มอบสัตย์สมรรถหมาย มนมันมิหวันไหว 
 
- วัสสการพราหมณ์เปนคนเฉลียวฉลาด มีไหวพริบและรอบคอบในการดําเนิน
กลอุบายด้วยความเฉียบแหลมลึกซึง รู้การควรทําและไม่ควรทํา รอจังหวะและ
โอกาส การดําเนินงานจึงมีขันตอน มีระยะเวลา นับว่าเปนคนมีแผนงาน ใจเย็น 
ดําเนินงานด้วยความรอบคอบ มีสติ เปนคุณลักษณะทีทําให้วัสสการพราหมณ์
ดําเนินกลอุบายจนสําเร็จผล เห็นได้ชัดเจนในขณะทีวัสสการพราหมณ์เข้าเฝาฯ
กษัตริย์ลิจฉวีและได้กล่าวสรรเสริญนาพระราชหฤทัยกษัตริย์ลิจฉวีทําให้เกิดความ
พอพระราชหฤทัย 
 
เปรียบปานมหรรณพนที ทะนุทีประทังความ 
 
ร้อนกายกระหายอุทกยาม นรหากประสบเห็น 
 
  เอิบอิมกระหยิมหทยคราว ่ นเย็น 
ระอุผา่ วก็ผอ
 
ยังอุณหมุญจนะและเปน สุขปติดีใจ 
 
  วัชชีบวรนครสรร พจะขันจะเข้มแขง 
 
รีพลสกลพิรย
ิ แรง รณการกล้าหาญ 
 
  มาคธไผทรฐนิกร พลอ่อนบชํานาญ 
 
ทังสินจะสูส
้ มรราญ ริปุนนไฉนไหว 

 
  ดังอินทโคปกะผวา มุหฝาณกองไฟ 
 
หิงห้อยสิแข่งสุรย
ิ ะไหน จะมินา่ ชิวาลาญ 
 
- มีความรอบคอบ แม้ว่าวัสสการพราหมณ์จะรู้ชัดว่าบรรดากษัตริย์ลิจฉวีแตกความ
สามัคคีกันแล้ว แต่ด้วยความรอบคอบก็ลองตีกลองเรียกประชุม บรรดากษัตริย์
ลิจฉวีก็ไม่เสด็จมาประชุมกันเลย 
 
วัชชีภม
ู ผ
ี อง สดับกลองกระหึมขาน 
 
ทุกไท้ไปเอาภาร ณกิจเพือเสด็จไป 
 
  ต่างทรงรับสังว่า จะเรียกหาประชุมไย 
 
เราใช่คนใหญ่ใจ ก็ขลาดกลัวบกล้าหาญ 
 
- ความเพียร วัสสการพราหมณ์ใช้เวลา ๓ ปในการดําเนินการเพือให้เหล่ากษัตริยล
์ ิจฉวี
แตกสามัคคีกันซึงนับว่าต้องใช้ความเพียรอย่างมาก 
 
ครันล่วงสามปประมาณมา สหกรณประดา 
ลิจฉวีรา ชทังหลาย 
  สามัคคีธรรมทําลาย มิตรภิทนะกระจาย  
  
สรรพเสือมหายน์ ก็เปนไป 
 
 
กษั ตริยล
์ ิจฉวี 
- ทรงตังมันในธรรม กษัตริย์ลิจฉวีล้วนทรงยึดมันในอปริหานิยธรรม (ธรรมอัน
ไม่เปนทีตังแห่งความเสือม) ๗ ประการ ได้แก่ 
 
หนึง เมือมีราชกิจใด ปรึกษากันไปบ่วายบ่หน่ายชุมนุม 
  สอง ย่อมพร้อมเลิกพร้อมประชุม พร้อมพรักพรรคคุม 
ประกอบณกิจควรทํา 
  สาม นันถือมันในสัม มาจารีตจํา 
ประพฤติมต
ิ ัดดัดแปลง 
  สี ใครเปนใหญ่ได้แจง โอวาทศาสน์แสดง 
ก็ยอมและน้อมบูชา 
  ห้า นันอันบุตรภริยา แห่งใครไปปรารภประทุษข่มเหง 
  หก ทีเจดียค
์ นเกรง มิยายําเยง 
ก็เซ่นก็สรวงบวงพลี 
  เจ็ด พระอรหันต์อันมี ในรัฐวัชชี 
ุ ก็ครองปองกัน 
ก็ค้ม
 
- ขาดวิจารณญาณ ทรงเชือพระโอรสของพระองค์ทีทูลเรืองราวซึงวัสสกา
รพราหมณ์ยุแหย่โดยไม่ทรงพิจารณา เช่น 
 
ต่างองค์นาํ ความมิงามทูล พระชนกอดิศรู  
แห่ง ธ โดยมูล ปวัตติความ 
  แตกร้าวก้าวร้ายก็ปายปาม ลุวรบิดรลาม 
ทีละน้อยตาม ณเหตุผล 
- ทิฐิเกินเหตุ แม้เมือบ้านเมืองกําลังจะถูกศัตรูรุกราน เช่น 
ฉากท้องเรือง  
 
​ศพ
ั ทอุโฆษ ประลุโสตท้าว 
ลิจฉวีด้าว ขณะทรงฟง 
ต่างธก็เฉย และละเลยดัง 
ไท้มอ
ิ ินงั ธุระกับใคร 
  ต่างก็บคลา ณสภาคาร 
แม้พระทวาร บุรทัวไป 
รอบทิศด้าน และทวารใด 
เห็นนรไหน สิจะปดมี 
 
 
สามัคคีเภทคําฉันท์ มีบทเกียวกับพระเจ้าอชาตศัตรูเเห่งเเคว้นมคธ ท่านมีความประสงค์ที
จะขยายอาณาจักรเเห่งเเคว้นวัชชีของเหล่ากษัตริย์ลิจฉวี ซึงยังมีการพรรณาของภาพลักษณ์
ในเเคว้น เช่นบทชมเมืองราชคฤห์ในเเคว้นมคธ 
 
อําพลพระมนทิรพระราช สุนิวาสน์วโรฬาร์ 
 
อัพภันตรไพจิตรและพา- หิรภาคก็พึงชม 
 
เล่ห์เลือนชะลอดุสิตฐา- นมหาพิมานรมย์ 
 
มารังสฤษฏ์พิศนิยม ผิจะเทียบก็เทียมทัน 
 
สามยอดตลอดระยะระยับ วะวะวับสลับพรรณ 
 
ช่อฟาตระการกลจะหยัน จะเยาะยัวทิฆัมพร 
 
บราลีพิลาสศุภจรูญ นภศูลประภัสสร 
 
หางหงส์ผจงพิจิตรงอน ดุจกวักนภาลัย 
 
รอบด้านตระหง่านจัตุรมุข พิศสุกอร่ามใส 
 
กาญจน์แกมมณีกนกไพ- ฑุรย์พร่างพะแพรวพราย 
 
บานบัฏพระบัญชรสลัก ฉลุลักษณ์เฉลาลาย 
 
เพดานก็ดารกะประกาย ระกะดาษประดิษฐ์ดี 
 
เพ่งภาพตลอดตะละผนัง ก็มลังเมลืองศรี 
 
มองเห็นสิเด่นประดุจมี ชิวแม่นกมลครอง 
 
 
บทเจรจาหรือพึงรําพัน 
 

โดยเต็มกตัญ ู  กตเวทิตาครัน  

ใหญ่ยิงและยากอัน  นรอืนจะอาจทน 

หยังชอบนิยมเชือ  สละเนือและเลือดตน  

ยอมรับทุเรศผล  ขรการณ์พะพานกาย 

ไปเห็นกะเจ็บแสบ  ชิวแทบจะทาลาย  

มอบสัตย์สมรรถหมาย  มนมันมิหวันไหว 

เปนบททีกล่าวถึงตัวละคร วัสสการพราหมณผู้ทีมีความจงรักภักดีต่อพระเจ้าอชาตศัตรู 
ดังบทประพันธ์ทีกล่าวว่า ด้วยความกตัญ ูทีผู้อืนยากทีจะเเบกรับ โดยการสละเนือเเละเลือดของ
ตนเพือยอมรับผลรับทีน่าอาย เเละเหตุร้ายทีจะเกิดขึน ถึงเเม้ชีวิตจะหาไม่เเต่ความซือสัตย์จะไม่
เเปรผัน 
 
แก่นเรือง 
 
แก่นเรืองของเรืองสามัคคีเภทคําฉันท์คือ โทษของการแตกความสามัคคีนําพาไปสูค ่ วาม
หายนะ 
 
   
การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
การสรรคํา 
ต้องเลือกใช้คําทีเหมาะสมกับเนือเรืองและฐานะของบุคคลในเรือง สอดคล้องกับคํา
ประพันธ์ นอกจากนันต้องเลือกคําทีมีความไพเราะทางด้านเสียงและเหมาะสมกับบริบทของตัว
ละคร 
 
1. การเลือกคําทีเหมาะสมกับเนือเรืองและบริบทของตัวละครในเรือง 
ผู้ประพันธ์สามารถเลือกคําได้เหมาะสมกับบุคคลในเรือง 
 
กษัตริย์เกษตรลิจ ฉวิสิทธิพระราชทาน 
สถาปนาฐาน ยศเทิดธุโรปถัมภ์ 
 
เปนการบรรยายเกียวกับราชาเกษตรลิจซึงมีฐานะเปนกษัตริย์ จึงมีการใช้คําราชาศัพท์
สําหรับกษัตริย์เช่น พระราชทาน ซึงแปลว่า ให้ หรือ มอบของแก่ผู้อืน 
 
2. การใช้คําทีกระชับชัดเจน 
 
ข่าวเศิกเอิกอึง ทราบถึงบัลดล 
ในหมูผ่ ู้คน ชาวเวสาลี 
แทบทุกถินหมด ชนบทบูร ี
อกสันขวัญหนี หวาดกลัวทัวไป 
 
ตืนตาหน้าเผือด หมดเลือดสันกาย 
หลบลีหนีตาย วุ่นหวันพรันใจ 
ซุกครอกซอกครัว ซ่อนตัวแตกภัย 
เข้าดงพงไพร ทิงย่านบ้านตน 
 
จากประพันธ์ข้างต้น มีการใช้คําทีกระชับและแสดงถึงเหตุการณ์ทีเกิดขึนได้อย่างชัดเจน 
ซึงจากบทประพันธ์ได้บอกเล่าเหตุการณ์สงครามทีกําลังจะเกิดขึนทําให้ชาวบ้านต่างหวาดกลัว
และตืนตระหนก ผู้อ่านสามารถจินตนากรถึง อารมณ์ สีหน้า และการกระทําต่างๆของชาวบ้าน
ผ่านคําทีใช้ในบทประพันธ์ 
 
3. การใช้คําโดยคํานึงถึงเสียง 
3.1 การใช้สัมผัสใน 
 
ข่าวคราวกล่าวกัน  อือพลันแพร่หลาย 
ลือลากําจาย  แจ้งรัวทัวไป 
มนตรีกราบทูล  เค้ามูลขานไข 
แด่องค์ท้าวไท  แหล่งหล้าลิจฉวี 
 
ในบทประพันธ์ทียกตัวอย่างมาข้างต้น มีการใช้สัมผัสในหรือสัมผัสภายในวรรคเพือในเกิด
ความไพเราะในบทร้อยกรอง จากบททียกตัวอย่างมา มีการใช้สัมผัสพยัญชนะ ได้แก่ พลัน และ 
แพร่ ผ่านพยัญชนะ พ.พาน รวมไปถึง ลือ และ ลา ผ่านพยัญชนะ ล.ลิง นอกจากนันยังมีการใช้
สัมผัสของสระ ได้แก่ รัว และ ทัว โดยมีการใช้สระและตัวสะกดเดียวกัน 
 
 
 
3.2 การใช้คําพ้องเสียงและคําซา 
 
ไฉนเลยพระครูเรา  จะพูดเปล่าประโยชน์ม ี
เลอะเหลวนักละล้วนหนี รผลเห็น บ เปนไป 
 
จากบทประพันธ์ข้างต้น มีการใช้คําพ้องเสียงในบาทของบทประพันธ์ เพือความ
ไพเราะของบทประพันธ์ เลอะเหลวนักละล้วนหนี มีการใช้เสียง /ล/ และ /น/ รวมไปถึงการเล่น
เสียงสูงโดยใช้ ห นํา 
 
แพร้วแพร้วพรายพรายข่ายกรอง  ก่องสกาวดาวทอง 
ทังพูส
่ ุพรรณสรรถกล 
 
ในบทตัวอย่างข้างต้น มีการใช้คําซาเพือความไพเราะของบทประพันธ์ โดย ใน
บาทที 1 แพร้วแพร้วพรายพรายข่ายกรอง มีการใช้คําว่า แพร้ว และ พราย 
 
3.3 การใช้คําเล่นเสียงหนักเบาหรือการใช้คําครุลหุ 
 
สะพรึบสะพรัง  ณ หน้าและหลัง 
ณ ซ้ายและขวา  ละหมูล
่ ะหมวด 
ก็ตรวจก็ตรา  ประมวลกกะมา 
สิมากประมาณ 
 
ในบทประพันธ์ข้างต้น เปนบทร้อยรองประเภทกาพย์สุรางคนางค์ 28 
โดยมีการใช้คําครุสลับกับคําลหุ เปนการสลับเสียงหนักและเสียงเบาเพือความไพเราะในบท
ประพันธ์ โดย คําครุเปนคําทีผสมด้วยมาตราตัวสะกด ซึงทําให้เกิดเสียงยาว ส่วน คําลหุคือคําที
ไม่มีตัวสะกดและเปนสระเสียงสัน 
 
การเรียบเรียงคํา 
 
1. สาระสําคัญไว้ท้ายสุดของบทประพันธ์ 
ในบทประพันธ์จะมีการเรียบเรียงประโยคหรือคําเพือความไพเราะ และ ความ
สละสลวยของบทประพันธ์ โดยการนําสาระสําคัญไว้ท้ายสุดเปนหนึงในวิธีในการสร้างคํา
ไพเราะแก่บทประพันธ์ ตัวอย่างของบทประพันธ์มีดังนี 
 
บัดนีสิแตก  คณะแผกและแยกพรรค์ 
ไปเปนสหฉัน  ทเสมือนเสมอมา 
โอกาสเหมาะสมัย  ขณะไหนประหนึงครา 
นีหากผิจะหา  ก็ บ ได้สะดวกดี 
ขอเชิญวรบาท  พยุห์ยาตรเสด็จกรี 
ธาทัพพลพี  ริทยุทธโดยไว ฯ 
 
จากบทประพันธ์ข้างต้นเปนการเล่าถึงเหตุการณ์ ของการเชิญกษัตริย์เพือไปนํา
ทัพโดยทีสาระนันอยูท ่ ้ายสุดของบทประพันธ์ 
 
2. เรียบเรียงประโยคให้มีเนือหาเข้มข้นขึนไปตามลําดับ 
 
2.1 เนือหาสุดท้ายสําคัญทีสุด 
 
เหียมนันเพราะผันแผก ตณะแตกและต่างมา 
ถือทิฐิมานสา หสโทษพิโรธจอง 
แยกพรรคสมรรคภิน ทนสิน บ ปรองดอง 
ขาดญาณพิจารณ์ตรอง ตริมหลักประจักษ์เจือ 
เชืออรรถยุบลเอา รสเล่าก็ง่ายเหลือ 
เหตุหาก ธ มากเมือ คตเโมหเปนมูล 
จึงดาลประการหา ยนภาวอาดูร 
เสียแดนไผทสูญ ยศศักดิเสือมนาม  
 
จากบทประพันธ์ข้างต้นสือได้ว่าเพราะความแตกแยกกันทําให้มีความยึดมันใน
ความคิดของแต่ละบุคคล ไม่ปรองดอง และขาดปญญาในการไตร่ตรอง ทําให้กษัตริย์เต็ม
ไปด้วยความหลงเชือโอรส จึงทําให้เสียชือเสียง แผ่นดินและเกียรติยศทีมีอยู ่
 
2.2 คลายความเข้มข้นลงในช่วงสุดอย่างอย่างฉับพลัน 
 
แท้ทังท่านวัสสการ กษณธตริเหมาะไฉน 
เสริมเสมอไป สะดวกดาย 
หลายอย่างต่างกล ธ ขวนขวาย พจนยุปริยาย 
วัญจโนบาย บ เว้นครา 
ครันล่วงสามปประมาณมา สหกรณะประดา 
ลิจฉวีรา ชทังหลาย 
สามัคคีธรรมทําลาย มิตรถิทนะกระจาย 
สรรพเสือมหายน์ ก็เปนไป 
ต่างองค์ทรงแคลงระแวงใน พระหฤททยวิสัย 
ผู้พิโรธใจ ระวังกัน ฯ 
 
จากบทประพันธ์ข้างต้นฝายวัสสการพราหมณ์เห็นโอกาสเหมาะสมจึงยุแหย่ พูด
ยุยงกษัตริย์ ทําให้ความร่วมมือและความสามัคคีระหว่างกษัตริย์ลิจฉวีถูกทําลายลง ความ
เสือมและหายนะจึงเกิด กษัตริย์ต่างมีข้อขุน
่ เคืองใจซึงกันและกัน 
 
การใช้โวหาร 
 
1. การบรรยายโวหาร 
บรรยายโวหาร คือ โวหารทีใช้บรรยาย เล่าเรือง หรืออธิบายเรืองราว เหตุการณ์
ต่างๆทีเกิดขึนในเรือง เพือให้ผู้อ่านเข้าใจเรืองราวอย่างชัดเจน 
 
อันอัครปุโรหิตาจารย์ พราหมณ์นามวัสสการ 
ฉลาดฉลียวเชียวชิน 
กลเวทโกวิทจิตจินต์ สําแดงแจ้งศิล 
ปศาสตร์ก็จบสบสรรพ์ 
 
จากบทประพันธ์ข้างต้น ถอดความได้ว่า วัสสการพราหมณ์ เปนผู้สังสอนและ
ปรึกษาด้านขนมธรรมเนียม ท่านเปนคนทีฉลาดและเชียวชาญทางด้านพระเวท มีความคิดทีหลัก
แหลม ศิลปศาสตร์ก็เรียนจนจบ 
 
2. อุปมาโวหาร 
อุปมาโวหาร คือ โวหารทีใช้เปรียบเทียบ เพือให้ผู้อ่านเข้าใจถึงความหมาย และ
อารมณ์อย่างชัดเจน 
 
เมตตาทยาลุศุภกรรม อุปถัมภการุณย์ 
สรรเสริญเจริญพระคุณสุน ทรพูนพิบูลงาม 
เปรียบปานมหรรณพนที  ทะนุทีประทังความ 
ร้อนกายกระหายอุทกยาม  นรหากประสบเห็น 
เอิบอิมกระหยิมหทยคราว  ่ นเย็น 
ระอุผา่ วก็ผอ
ยังอุณหมุญจนะและเปน  สุขปติดีใจ 

จากบทข้างต้น เปนการใช้อุปมาโวหาร โดย วัสสการพราหมณ์เปรียบนาพระราช


หฤทัยกษัตริย์ลิจฉวี 
 
3. อุปลักษณ์โวหาร 
อุปลักษณ์โวหาร คือ การเปรียบเทียบโดย นัย หรือ ความหมายของบทประพันธ์
แต่ไม่กล่าวเปรียบเทียบตรงๆ 
 
ลูกข่างประดาทา รกกาลขว้างไป 
หมุนเล่นสนุกไฉน ดุจกันฉะนันหนอ 
 
ในบทประพันธ์ต้น เปนตอนทีพระเจ้าอชาตศัตรู เปรียบเทียบความสามัคคีที
แตกหักของกษัตริย์ลิจฉวีกับลูกข่าง 
 
4. บุคคลวัตหรือบุคคลสมมุติ 
บุคคลสมมุติ คือ การสมมุติสิงไม่มีชีวิตให้มีกิริยา ความรู้สึก และ การแสดงออกให้
เหมือนกับมนุษย์ 
 
บราลีพิลาศศุภจรูญ นภศูลประภัสสร 
หางหงส์ผจงพิจิตรงอน ดุจกวักนภาลัย 
รอบด้านตระหง่านจตุรมุข พิศสุกอร่ามใส 
กาญจน์แกมมณีกนกไพ ฑุรย์พร่างพะแพรวพราย 
 
เปนการเล่ากล่าวให้หางหงส์ มีกิริยาทีงามอ่อนช้อยประหนึงจะกวักเรียกท้องฟา 
แต่หางหงส์เปนสิงประดิษฐ์ ทีไม่มีชีวิต 
 
5. อติพจน์ 
อติพจน์ เปน การกล่าวเกินจริงหรือผิดไปจากทีเปนจริง 
 
ตืนตาหน้าเผือด หมดเลือดสันกาย 
หลบลีหนีตาย วุ่นหวันพรันใจ 
ซุกครอกซอกครัว ซ่อนตัวแตกภัย 
เข้าดงพงไพร ทิงย่านบ้านตน 
 
จากบทประพันธ์ข้างต้นเปนการกล่าวถึงอารมณ์หวาดกลัวของของชาวเมือง ในวรรค ตืน
ตาหน้าเผือด หมดเลือดสันกาย ในรูปแบบทีเกินไปจากจริง 
 
การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
1. คุณค่าด้านอารมณ์ 
การใช้คํา 
การใช้โวหารภาพพจน์สามารถสร้างอารมณ์ให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตาม
เนือหาเรืองนีได้ 
 
1.1 สร้างอารมณ์ผู้อ่านให้เกิดอารมณ์หวาดกลัว ตืนเต้น และ ตกใจ 
เมืออ่านตอนพระเจ้าอชาตศัตรูกริววัสสการพราหมณ์ เช่น 
ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง 
   
ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง พระศัพทสีหนาทพึง
สยองภัย 
เอออุเหม่ณมึงชิชา่ งกระไร ทุทาสสถุลฉะนีไฉน 
ก็มาเปน   
   
1.2 ทําให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สงสารเห็นใจ 
เมืออ่านตอนวัสสการพราหมณ์ถูกลงพระราชอาญา 
 
บงเนือก็เนือเต้น พิศเส้นสรีร์รัว 
ทัวร่างและทังตัว ก็ระริกระริวไหว 
แลหลังละลามโล หิตโอ้เลอะหลังไป 
เพ่งผาดอนาถใจ ระกะร่อยเพราะรอยหวาย 
 
2. คุณค่าด้านคุณธรรม 
- ความสําคัญของการใช้สติปญญาในการไตร่ตรอง 
● กุมารลิจฉวีไม่ได้ใช้วิจารณญาณในการไตร่ตรองทีพราหมณ์กล่าวไว้ จึง
เปนสาเหตุให้กุมารโกรธเคืองจนเกิดความแตกแยก 
 
- ความสําคัญของความสามัคคีและโทษของการแตกแยกในหมูค ่ ณะ 
● ความสามัคคีและอยูร่ ว่ มกันเปนหมูค
่ ณะ ถือเปนสิงสําคัญ ทีทําให้ทุกคน
สามารถอยูร่ ว
่ มกันอย่างมีความสุข การทีกษัตริย์ลิจฉวีแตกความสามัคคี
ทําให้เปนจุดอ่อนของแคว้นวัชชี พระเจ้าอชาตศัตรูจึงสามารถโจมตีและ
ยึดครองแคว้นวัชชีได้อย่างง่ายดาย 
 
3. คุณค่าด้านอืนๆ 
- คุณค่าด้านสังคม 
● การทีวัสสการพราหมณ์ใช้ปญญา ความเฉลียวฉลาดและความอดทนที
ตนมี สร้างอุบายเพือทําลายความสามัคคีของกุมารและกษัตริย์ลิจฉวี จึง
เปนเหตุให้พระเจ้าอชาตศัตรูสามารถตีแคว้นวัชชีได้สําเร็จ ซึงแสดงให้
เห็นถึงความจงรักภักดีของวัสสการพรหมณ์ทีมีต่อพระเจ้าอชาตศัตรูและ
บ้านเมือง เนืองจากวัสสการพราหมณ์ยอมเสียสละ อาศัยความกล้าและ
่ มกับเมืองศัตรู  
ความอดทนอย่างสูง ในการอยูร่ ว
- คุณค่าด้านจริยธรรม 
● เน้นถึงหลักธรรม อปริหานิยธรรม ซึงเปนธรรมอันไม่เปนทีตังแห่งความ
เสือม ความสําคัญของการใช้สติปญญาตริตรอง และแก้ไขปญหาต่างๆ
โดยไม่ใช้กําลัง 
 
 
   
บรรณานุกรม 
 
กัลยาณี ถนอมแก้ว. 2553. คุณค่าด้านวรรณศิลปในสามัคคีเภทคําฉันท์. [ออนไลน์]. สืบค้นได้
จากhttp://www.gotoknow.org/posts/336724​. 
 
...2556. ส
​ ามัคคีเภทคําฉันท์. [ออนไลน์]. สืบค้นได้จาก 
http://samakkeepeatchant.blogspot.com/2013/12/blog-post_4301.html​. (16 ธันวาคม 
2556). 
 
 
 

You might also like