You are on page 1of 32

บทละครพูดคำฉ ันท์

เรือ
่ ง ม ัทนะพาธา

พระราชนิพนธ์ ใน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖)

โดย ครู วไิ ล พันธุ์มา


ความ
เป็ นมา
คุณค่ า ผู้แต่ ง

จุดมุ่ง-
เรื่องย่ อ
มัทนะ หมาย
พาธา
ลักษณะ
ฉาก คำ
ประพันธ์
แก่น
ตัว
ของ
ละคร เรื่อง
ความเป็นมา
เป็ นเรื่องทีส่ มมติให้ เกิดขึน้ ในอินเดียโบราณหรือภารตะโบราณ
เป็ นเรื่องราวเกีย่ วกับตำนานของดอกกุหลาบ
ชื่อ มัทนะพาธา แปลว่ า ความเจ็บปวด
หรือความเดือดร้ อนเพราะความรัก
รัชกาลที่ ๖ ทรงคิดโครงเรื่องด้ วยพระองค์ เอง
ได้ แนวคิดมาจากละครเวทีของยุโรป
ผูแ
้ ต่ง (ประว ัติ)
พระนาม : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั
พระราชสมภพ : วันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ
ปี มะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม 2423 เป็ น
พระราชบุตรองค์ที่ 29 ในพระบาทสมเด็จ-
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั และเป็ นที่ 2
ในสมเด็จพระศรี พชั ริ นทรา บรมราชินีนาถ
เสวยราชสมบัติ : เมื่อวันเสาร์ที่ 23 ตุลาคม
ปี จอ 2453รวมสิ ริดำรงราชสมบัติ 16 ปี
สวรรคต : เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2468 รวมพระชนม-
พรรษา 46 พรรษา
ผูแ
้ ต่ง (ผลงาน)
ผลงาน
- ประเภทวรรณคดี เช่ น พระนลคำหลวง นารายณ์สิบปาง ศกุน
ตลา มัทนะพาธา
- ประเภทบทละคร เช่ น หัวใจนักรบ พระร่ วง โรมิโอและจูเลียต
ตามใจท่าน เวนิชวาณิ ช
- ประเภทธรรมะ เช่ น เทศนาเสื อป่ า พระพุทธเจ้าตรัสรู ้อะไร
พระบรมราโชวาทในงานวิสาขบูชา
- ประเภทประวัติศาสตร์ โบราณคดี เช่ น เที่ยวเมืองพระร่ วง
สันนิษฐานเรื่ องพระร่ วง เที่ยวเมืองอียปิ ต์  สันนิษฐาน
เรื่ องท้าวแสนปม
- ประเภทสุขวิทยา เช่ น กันป่ วย
ผูแ
้ ต่ง (ผลงาน)
ผลงาน
- ประเภททหาร เช่ น การสงครามป้ อมค่ายประชิด พันแหลม
ความเจริ ญแห่งปื น 
- ประเภทปลกุ ใจให้ รักชาติ เช่ น เมืองไทยจงตื่นเถิด ยิวแห่งบูรพา
ทิศ ปลุกใจเสื อป่ า โคลนติดล้อ ลัทธิเอาอย่าง
- ประเภทนิทาน เช่ น นิทานทองอิน นิทานทหารเรื อ นิทานชวน
ขัน
- ประเภทกฎหมาย เช่ น กฎหมายทะเล หัวข้อกฎหมายนานา
ประเทศแผนกคดีเมือง
- ประเภทการเมือง เช่ น ความกระจัดกระจายแห่งเมืองจีน การ
จราจลในรัสเซี ย ปกิณกคดีของอัศวพาหุ
ผูแ
้ ต่ง (นามปากกา)
๑. เรื่ องเกี่ยวกับการเมืองและบทปลุกใจ ใช้พระนามแฝงว่า 
อัศวพาหุ
๒. สำหรับบทละคร ใช้พระนามแฝงว่า ศรี อยธุ ยา นายแก้ ว
นายขวัญ พระขรรค์ เพชร
๓. สำหรับบันเทิงคดีและสารคดีต่าง ๆ ที่ทรงแปลจากภาษา
ต่างประเทศ ใช้พระนามแฝงว่า รามจิตติ 
๔. สำหรับเรื่ องที่เกี่ยวกับทหารเรื อ ใช้พระนามแฝงว่า พันแหลม
๕. สำหรับนิทานต่าง ๆ ใช้พระนามแฝงว่า น้ อยลา สุครี พ
ด้ วยเหตุนี้ ประชาชนทัว่ ไปจึงพร้ อมกันถวายพระราช-
สมัญญาให้ แก่ พระองค์ ท่านว่ า  สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้ า 
จุดมุง
่ หมายในการแต่ง

เพือ่ ให้ บุคคลทัว่ ไปได้ อ่านกวีนิพนธ์ ทมี่ ีความสนุกสนานและ


มีเนือ้ หาที่ชี้ให้ เห็นถึงอานุภาพของความรักทีม่ ที ้งั ความสุ ขเมือ่
ยามสมหวังและความทุกข์ เมือ่ ยามผิดหวัง

ความรั ก + สมหวัง =

ความรั ก + ผิดหวัง =
คำประพ ันธ์ทใี่ ชใ้ นการแต่ง

กาพย์ ๓ ชนิด ฉันท์ ๒๑ ชนิด


คำประพ ันธ์ทใี่ ชใ้ นการแต่ง

กาพย์ ยานี ๑๑

กาพย์ ๓ ชนิด กาพย์ ฉบัง ๑๖

กาพย์ สุรางคนางค์ ๒๘
คำประพ ันธ์ทใี่ ชใ้ นการแต่ง

วิชชุ มมาลาฉันท์ ๘ ฉันท์ วสั นตดิลกฉันท์ ๑๔


จิตรปทาฉันท์ ๘ ๒๑ ชนิด มันทักกันตาฉันท์ ๑๗
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ กุสุมติ ลดาฉันท์ ๑๘
รโธทธตาฉันท์ ๑๑ สั ททุลวิกกีฬิต
สวาคตาฉันท์ ๑๑ ภุชงคปะยาตฉันท์ ๑๒ ฉันท์ ๑๙
อุปัฎฐิตาฉันท์ ๑๑ อินทวงส์ ฉันท์ ๑๒ เมฆวิปผุชชิตาฉันท์ ๑๙
สารินีฉันท์ ๑๑ กมลฉันท์ ๑๒ อีทสิ ั งฉันท์ ๒๐
อุปชาติฉันท์ ๑๑ โตฎกฉันท์ ๑๒ สั ทธราฉันท์ ๒๑
อุเปนทวิเชียรฉันท์ ๑๑ ปิ ยวทาฉันท์ ๑๒
ฉ ันทล ักษณ์ของฉ ันท์ทงั้
๗ ชนิด
วิชชุ มมาลาฉันท์ ๘ (ฉันท์ ทมี่ ลี ลี าประดุจสายฟ้าแลบ)
ใช้ บรรยายความ

ั ั ั ั ั ั ั ั
ั ั ั ั ั ั ั ั
ั ั ั ั ั ั ั ั
ั ั ั ั ั ั ั ั
ฉ ันทล ักษณ์ของฉ ันท์ทงั้
๗ ชนิด
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
ฉ ันทล ักษณ์ของฉ ันท์ทงั้
๗ ชนิ ด
จิตรปทาฉันท์ ๘ คือ ฉันท์ ทมี่ คี วามงามวิจิตร ใช้ แสดงความ
สั บสน คึกคะนอง เอะอะ เกรี้ยวกราด ตกใจ

ุ ุ ุ ุ
ั ั ัั
ุ ุ ุ ุ
ั ั ั ั
ุ ุ ุ ุ
ั ั ั ั
ุ ุ ุ ุ
ั ั ั ั
คำครุ ลหุ คืออะไร

คำทีม่ ตี วั สะกดทุกคำ
ลูก ชอบ ขาว
ครุ  (คะ-รุ)  ประสมด้ วยสระเสี ยง
รู้ พอ สี ยาว(ไม่ มตี วั สะกด)

ประสมด้ วยสระเสี ยง
ลหุ  (ละ-หุ) 
กระ เลอะ แพะ สั้ น(ไม่ มตี วั สะกด)
ครุ หรือ ลหุ
แปลก ครุ พลิว้ ครุ
สวย ครุ เปรี้ยว ครุ
เหวอ ครุ แกะ ลหุ
โก๊ ะ ลหุ จุก ครุ
แก่นของเรือ
่ ง

แสดงให้ เห็นถึงความเจ็บปวดและความเดือด
ร้ อนเพราะความรัก

กล่ าวถึงตำนานดอกกุหลาบ ซึ่งเป็ นดอกไม้


ทีส่ วยงามแต่ ไม่ เคยมีตำนานทางเทพนิยาย
ปมปัญหาในเรือ
่ ง

๑. สุ เทษณ์ เทพบุตรหลงรักนางมัทนา แต่ นางไม่


รักตอบจึงสาปนางเป็ นดอกกุพชกะ (กุหลาบ)

๒. นางมัทนาพบรักกับท้ าวชัยเสน แต่ กต็ ้ องพบ


อุปสรรคเพราะนางจัณฑีมเหสี ของท้ าวชัยเสนวาง
อุบายให้ ท้าวชัยเสนเข้ าใจนางมัทนาผิด
ต ัวละคร

เป็ นผู้ทมี่ นี ิสัยเห็นแก่ ตวั


เอาแต่ ใจตนเอง เจ้ าอารมณ์
หมกมุ่นในตัณหาราคะแต่ กเ็ ป็ น
คนทีม่ นั่ คงในความรัก ถึงแม้ ว่า
สุ เทษณ์ จะอยากได้ นางมัทนา
มากเพียงใดก็ตามแต่ สุเทษณ์ ก็
อยากให้ นางมัทนารักตนด้ วยใจ
สุ เทษณ์ เทพบุตร ไม่ ใช่ รักด้ วยมนต์ ตรา
ต ัวละคร
เป็ นผู้มรี ู ปงามมีคุณสมบัตขิ อง
กุลสตรีมนี ้ำเสี ยงวาจาไพเราะอ่ อน
หวาน ฉลาดในการเจรจามีสัจจะมี
ความซื่อตรง จริงใจ กล้ าหาญ เป็ น
ผู้มใี จซื่อตรงและมัน่ คงในความรัก
นิสัยตรงไปตรงมา คิดอย่ างไรก็พูด
อย่ างนั้นไม่ รักก็บอกตรงๆไม่ พดู ปด
หลอกลวงไม่ มเี ล่ ห์เหลีย่ มพูดแต่ ความ
นางมัทนา จริง
ต ัวละคร
 เป็ นผู้ชายทีม่ รี ู ปงามกิริยาสง่ าและมี
ความรู้ ความเชี่ยวชาญในวิชาการ
อย่ างกว้ างขวาง
 มีวาจาไพเราะอ่อนหวาน
 เชื่อคนง่ าย ใช้ อารมณ์ ขาดเหตุผล
 มีความมัน่ คงในความรัก
 มีความหึงหวงมากจนทำให้ ขาดสติ
 เป็ นคนหูเบาเชื่อคำยุแยงของคนอืน่
ท้ าวชัยเสน โดยง่ ายจึงทำให้ ต้องเสี ยทั้งคนรัก
และทหารคนสนิท
ต ัวละคร

 เป็ นฤๅษีทมี่ จี ิตใจดี


 มีความเอือ้ เฟื้ อเผือ่ แผ่
 มีความเมตตากรุ ณายินดี
 เห็นอกเห็นใจผู้อนื่ เสมอและ
คอยยืน่ มือเข้ าไปช่ วยเหลือ
ฤๅษีกาละทรรศิน
ต ัวละคร

 เป็ นผู้ทมี่ คี วามอิจฉา ริษยา


 รักด้ วยความลุ่มหลง
 เห็นผิดเป็ นชอบจากการคิด
ทำเสน่ ห์
 ขาดคุณสมบัตขิ องหน่ อ
กษัตริย์จนทำให้ ผ้ ูอนื่ เดือด
นางจัณฑี ร้ อน
ต ัวละคร

 เป็ นผู้รับใช้ ที่ทำทุกอย่ างเพือ่


เอาใจเจ้ านาย ทั้งเสาะแสวงหา
จิตระรถ หญิงงามมาให้ สุเทษณ์ อีกทั้งยัง
จิตระเสน ให้ มายาวินใช้ มนตร์ สะกดนาง
มัทนามาหาเจ้ านาย โดยไม่
คำนึงถึงความถูกต้ อง
ฉาก/สถานที/่ บรรยากาศ

วิมานของสุ เทษณ์ เทพ ป่ าหิมพานต์


บุตร ทรงบรรยาย
บรรยากาศได้ เหมาะสม
และสอดคล้ องกับสุ เทษณ์
เทพบุตร
เมืองของท้ าวชัยเสน
เรือ
่ งย่อ

ภาคสวรรค์ กล่ าวถึงสุ เทษณ์ เทพบุตรผู้หลงรักนางฟ้ ามัทนา ซึ่ง


เมือ่ อดีตเคยผูกพันกันมา จึงให้ มายาวินใช้ มนตร์ สะกดนางมาหาหวัง
ครอบครองนาง แต่ พระองค์ กไ็ ม่ ประสงค์ ทจี่ ะได้ แต่ กายทีไ่ ร้ หัวใจ
ของนาง จึงให้ มายาวินคลายมนตร์ สุ ดท้ ายนางก็ไม่ รับรักอยู่ดี
พระองค์ โกรธมากจึงสาปให้ นางไปเกิดบนโลกมนุษย์ แต่ กย็ งั เป็ นห่ วง
นางจึงให้ นางเลือกว่ าจะเกิดเป็ นอะไร สุ ดท้ ายนางเลือกเกิดเป็ นดอก
กุหลาบ ซึ่งนางจะสามารถเป็ นคนได้ ในวันเพ็ญเท่ านั้น หากนางพบรัก
จริงนางจะพ้ นจากคำสาป แต่ หากนางมีทุกข์ กใ็ ห้ มาอ้อนวอนพระองค์
แล้วพระองค์ จะยกโทษให้
เรือ
่ งย่อ
ภาคพืน้ ดิน กล่ าวถึงฤๅษีกาละทรรศินล่วงรู้ เหตุการณ์ ท้งั หมดเกิด
ความสงสารนางมัทนาจึงนำต้ นกุหลาบมาปลูกไว้ ข้างอาศรมและรัก
นางเหมือนลูก จนวันหนึ่งท้ าวชัยเสนมาพบนางมัทนาแล้ วเกิดหลง
รัก ทั้งสองจึงได้ แต่ งงานกันแล้วพากันกลับเมือง แต่ กเ็ กิดเหตุว่ นุ วาย
เมือ่ นางจัณฑีมเหสี ของท้ าวชัยเสนล่วงรู้ เกิดความอิจฉาริษยาและ
โกรธแค้ นจึงขอให้ พระราชบิดายกทัพมาตีเมืองของท้ าวชัยเสน และ
ใส่ ร้ายนางมัทนาว่ าเป็ นชู้ กบั สุ ภางค์ ทหารเอกของท้ าวชัยเสน ท้ าวชัย
เสนหูเบาจึงหลงเชื่อสั่ งประหารชีวติ ทั้งคู่ จากนั้นไม่ นานท้ าวชัยเสนก็
รู้ ความจริงจึงเดินทางไปรับนางมัทนา แต่ กช็ ้ าไปเพราะนางมัทนา
กลายเป็ นดอกกุหลาบไปตลอดกาลแล้ว
กลวิธใี นการแต่ง

ให้ วทิ ยาธรมายาวินเป็ นผู้เล่าอดีตชาติของสุ เทษณ์ เทพบุตร


และดำเนินเรื่องโดยแสดงให้ เห็นลักษณะของสุ เทษณ์ เทพบุตร
ผู้เป็ นใหญ่ มีบุญ มีอำนาจวาสนา มีบริวารพรั่งพร้ อม ควรจะ
เสวยสุ ขในวิมานของตน กลับเอาแต่ ใจตน หมกมุ่นอยู่แต่
ตัณหาราคะ แค่ นางเทพธิดาทีป่ ระดับบารมีกม็ ากมายล้ นเหลือ
จะเสวยสุ ขอย่ างไรก็ได้ แต่ กไ็ ม่ พอใจ
ิ ป์
คุณค่าด้านวรรณศล

๑. ใช้ คำทีเ่ หมาะสมกับประเภทของคำประพันธ์ กวีมคี วาม


เชี่ยวชาญด้ านฉันทลักษณ์ อย่ างมาก สามารถแต่ งบทเจรจา
ของตัวละครให้ เป็ นคำฉันท์ ได้ อย่ างดีเยีย่ ม เช่ น ตอนทีส่ ุ
เทษณ์ เกีย้ วนางมัทนาก็ใช้ วสั นตดิลกฉันท์ ๑๔ แล้ วใช้ การสลับ
คำอย่ างแพรวพราว ดังนี้ (หน้ า ๕๗)
สุ เทษณ์ ความรักละเหี่ยอุระระทด เพราะมิอาจจะคลอเคลีย
มัทนา ความรักระทดอุระละเหี่ย ฤจะหายเพราะเคลียคลอ?
ิ ป์
คุณค่าด้านวรรณศล

ใช้ วชิ ชุมมาลาฉันท์ ๘ ซึ่งมีความคล้องจอง อ่านง่ าย เหมาะแก่


การบรรยาย เช่ น ตอนทีม่ ายาวินร่ ายมนตร์ สะกดนางมัทนา
อ้าสองเทเวศร์ โปรดเกศข้ าบาท ทรงฟังซึ่งวาท
ทีก่ ราบทูลเชอญ โปรดช่ วยดลใจ ทรามวัยให้ เพลิน
จนลืมขวยเขิน แล้ วรีบเร็วมา (หน้ า ๕๖)
ิ ป์
คุณค่าด้านวรรณศล
๑. การใช้ ภาพพจน์ อุปมาโวหาร เช่ น
- ตอนชมนางมัทนา (หน้ า ๔๘)
- ตอนเปรียบความงามของสาวงามว่ าไม่ มใี ครงามเท่ านาง มัทนา
(หน้ า ๕๐)
- ตอนสุ เทษณ์ พูดกับนางมัทนาขณะถูกมนตร์ สะกดว่ าเหมือนพูด
กับหุ่นยนต์ (หน้ า ๕๘)
- ตอนนางมัทนาได้ สติคนื มา ก็ตกใจแล้วเล่าอาการของตนก่ อนที่
จะมาทีน่ ี่ (หน้ า ๕๙)
- ตอนเปรียบหนามแหลมของดอกกุหลาบว่ าเหมือนใครนำเข็ม
มาปักไว้ (หน้ า ๖๔)
ิ ป์
คุณค่าด้านวรรณศล
๑. การใช้ ภาพพจน์ อุปมาโวหาร เช่ น
- ตอนชมนางมัทนา (หน้ า ๔๘)
- ตอนเปรียบความงามของสาวงามว่ าไม่ มใี ครงามเท่ านาง มัทนา
(หน้ า ๕๐)
- ตอนสุ เทษณ์ พูดกับนางมัทนาขณะถูกมนตร์ สะกดว่ าเหมือนพูด
กับหุ่นยนต์ (หน้ า ๕๘)
- ตอนนางมัทนาได้ สติคนื มา ก็ตกใจแล้วเล่าอาการของตนก่ อนที่
จะมาทีน่ ี่ (หน้ า ๕๙)
- ตอนเปรียบหนามแหลมของดอกกุหลาบว่ าเหมือนใครนำเข็ม
มาปักไว้ (หน้ า ๖๔)

You might also like