You are on page 1of 21

รายงานเชิงวิชาการ 

การอ่านและพิจารณาวรรณคดี บทละครพูดคําฉันท์ เรืองมัทนะพาธา 


 
โดย 
 
นางสาว กันต์กมล บงกชโอฬาร ชันมัธยมศึกษาปที 5/7 เลขที 3 
นางสาว นวพรพรม ชูสิงห์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/7 เลขที 6 
นางสาว พิชชาภรณ์ เอกอัจฉริยา ชันมัธยมศึกษาปที 5/7 เลขที 7 
นาย ลสี ลีนุตพงษ์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/7 เลขที 11 
 
เสนอ  
อ.พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์ ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2562 
โรงเรียนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล 

รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเปนพืนฐาน 

(Project Based Learning) 

รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5 

 
 
 
 
 
 
 
 
   
คํานํา 
รายงานเชิงวิชาการเล่มนีเปนส่วนหนึงของวิชาภาษาไทย ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5 มีจุด
ประสงค์ในการจัดทําขึนเพือค้นคว้าหาความรู้ และ วิเคราะห์วรรณคดีเรือง บทละครพูดคําฉันท์ เรือง
มัทนะพาธา โดยทางคณะผู้จัดทําต้องการนําเสนอเกียวกับการอ่านและพิจารณาเนือหาและ 
กลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรมการอ่าน และพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม รวม
ทังการอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
คณะผู้จัดทําหวังเปนอย่างยิงว่าผู้อ่านและผู้ทีกําลังสนใจหรือกําลังค้นคว้าหาข้อมูลเกียวกับ
บทละครพูดคําฉันท์เรืองมัทนะพาธาจะได้รับประโยชน์จากรายงานเล่มนี หากมีข้อผิดพลาดประการ
ใดผู้จัดทําต้องขออภัยมา ณ ทีนี 
 
 
คณะผู้จัดทํา 
28 พฤษภาคม 2563 
สารบัญ 

หน้า 

1. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม 

1.1 เนือเรือง 1 

1.2 โครงเรือง 1 

1.3 ตัวละคร 1-3 

1.4 ฉากท้องเรือง 3 

1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 3 

1.6 แก่นเรือง 3 

2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 

2.1 การสรรคํา  

2.2 การเรียบเรียงคํา  

2.3 การใช้โวหาร  

3.การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 

3.1 คุณค่าด้านอารมณ์   

3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม   

3.3 คุณค่าด้านอืนๆ  

บรรณานุกรม   
การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 

เนือเรืองย่อ 

ท้าวสุเทษณ์สง่ ทูตไปสูข
่ อนางมัทนาซึงเปนราชธิดากษัตริย์แคว้นสุราษฎร์ แต่โดยพระบิดา 
ของนางปฏิเสธ สุเทษณ์จึงบุกไปทําลายบ้านเมืองและจับพระบิดาไปเปนเชลยศึก กําลังจะประหาร 
แต่นางมัทนามาขอไถ่ชีวิตพระบิดาและยินยอมเปนบาทบริจาริกาของสุเทษณ์ ต่อมานางก็ ปลง
พระชนม์ตนเองแล้วบังเกิดเปนเทพธิดาบนสวรรค์นามว่า มัทนา ส่วนสุเทษณ์ก็กระทําพลีกรรม แล้ว
มาเกิดบนสวรรค์ แต่นางก็ไม่รับรักอยูด
่ ี ต่อมาสุเทษณ์เทพบุตรก็ให้วิทยาธรชือมายาวินใช้มนตร์ 
สะกดให้มาหาสุเทษณ์ และถามว่าจะรับรักไหม แต่นางกลับตอบเปนคําถามทีสุเทษณ์ถาม สุเทษณ์จึง 
คลายมนตร์แต่พอนางมัทนาได้สติก็ตอบปฏิเสธ สุเทษณ์โกรธจัดจึงสาปให้นางไปเกิดในโลกมนุษย์ ใน
ฐานะดอกกุหลาบซึงมีหนาม แต่จะสามารถคืนร่างเปนคนได้เมือคืนวันเพ็ญ นางจะพ้นคําสาป ก็ต่อ
เมือนางพบรัก หากนางทุกข์ใจก็ให้มาขอร้องอ้อนวอนตน 

โครงเรือง 

ผู้ชายทีรักผู้หญิงข้างเดียวโดนไม่สนใจว่าผู้หญิงจะรู้สึกยังไง ฝายหญิงต้องได้รับความทุกข์แค่
ไหน เมือโดนปฏิเศษไปหลายรอบจึงสาปให้ผู้หญิงทีตนรักข้างเดียวต้องทรมาน 

ตัวละคร 

ตัวละครหลักในเรือง ประกอบไปด้วย มัทนา มายาวินและ สุเทษณ์ 

มัทนา 

มัทนาเปนเทพธิดา  มีนิสัยทีพูดตรงไปตรงมา  ซือสัตย์ เคารพผู้ทีมียศสูงกว่า ถ้านางไม่รักใครก็


บอกตามความจริง  ซึงบุคลิกนีเองได้ทําให้นางได้รับทุกข์จากความเห็นแก่ตัวของสุเทษณ์ทีอยากให้
นางรับรัก เมือสุเทษณ์ผิดหวังจึงสาปให้นางไปเปนดอกกุหลาบบนโลกมนุษย์ ดังคําประพันธ์ดังนี 

มัทนา. เทวะ, อันนีข้าไซร้ มานีอย่างไร 

  บ ทราบ สํานึกสักนิด; 

  จําได้ว่าข้าสถิต ในสวนมาลิศ 
ตัวอย่างของการพูดตรงไปตรงมา 

มัทนา. ฟงถ้อยดํารัสมะธุระวอน ดนุนีผิเอออวย 

  จักเปนมุสาวะจะนะด้วย บ มิตรงกะความจริง 

  อันชายประกาศวะระประทาน ประดิพัทธะแด่หญิง 

  หญิงควรจะเปรมกะมะละยิง ผิวะจิตตะตอบรัก 

  แต่หากฤดี บ อะภิรมย์ จะเฉลยฉะนันจัก 

  เปนปดและลวงบุรุษะรัก ก็จะหลงละเลิงไป 

ตูข้าพระบาทสิสุจริต บ มิคิดจะปดใคร 

จึงหวังและมุง่ มะนะละใน วรเมตตะธรรมา 

อันว่าพระองค์กรุณะข้อย ฤ ก็ควรจะปรีดา 

อีกควรฉลองวรมหา กรุณาธิคุณครัน 

สุเทษณ์ 

สุเทษณ์เปนเทพบุตรบนสวรรค์  มีนิสัยดือรันเอาแต่ใจเห็นแก่ตัว  ไม่คิดถึงความรู้สึกของผู้อืน 


สุเทษณ์ตกหลุมรักมัทนา พอโดนปฏิเสธ ด้วยความทีว่าอารมณ์ร้อน จึงสาปนางให้ไปเกิดเปนกุหลาบ 

ตัวอย่างความอารมณ์รอ
้ นของสุเทษณ์ 

สุเทษณ์. (ตวาด)อุแหม่! 

  มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชิชา่ งจํานรรชา 

  ตะละคําอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ 

  ดนุถามเจ้าก็ไซร้ บมิตอบคําถาม 
  วนิดาพยายาม กะละเล่นสํานวนหวน 

  ก็และเจ้ามิเต็มจิต จะสดับดนูชวน 

มายาวิน  

มายาวินเปนเทวดาผู้ใช้พิณพาทย์ คาถา มนตร์สะกดบังคับจิตใจ มายาวินนันเชือฟงคําสัง


ของผู้ทีมีศยศสูงกว่า สุเทษณ์ได้สังให้มายาวินไปสะกดให้มัทนามารับรัก 

ตัวอย่างของการสะกดจิต 

มายาวิน. เทวา, ทีนาง อาการเปนอย่าง นีเพราะฤทธิมนตร์; 

  โยคะอันขลัง บังคับได้จน ให้ตอบยุบล ได้ตามต้องการ 

  แต่จะบังคับ ใครใครให้กลับ มโนวิญญาน, 

  ให้ชอบให้ชัง ยืนยังอยูน
่ าน ย่อมจะเปนการ สุดพ้นวิสัย 

ฉากท้องเรือง 

ณ สวรรค์ มีมัทนา เปนเทพธิดา สุเทษณ์และมายาวินเปนเทพบุตร สังเกตุจากการทีมัทนา


ได้สติหลังจากมายาวินคลายมนตร์สะกดแล้วกล่าวว่า 

“เหตุใดพระองค์ทรงธรรม์ จึงทําเช่นนัน ให้ข้าพระบาทต้องอับอาย 

  แก่หมูช
่ าวฟาทังหลาย?”. 

คําว่า “ชาวฟา” หมายถึงบนฟาหรือก็คือสวรรค์ ฉากท้องเรืองจึงเปนบนสวรรค์ 

บทเจรจาหรือราพึงรําพัน 

มัทนะพาธา เปนบทละครพูด มีบทเจรจาทังเรือง มีการสอดแทรกข้อคิดจากคําพูดของตัว


ละคร ทังจากคําพูดโดยตรงและจากการวิเคราะห์การกระทําของตัวละคร ดังคําประพันธ์น ี

มัทนา. เหตุใดพระะองค์ทรงธรรม์ จึงทําเช่นนัน 


  ให้ข้าพระบาทต้องอับอาย  

  แก่หมูช
่ าวฟาทังหลาย? โอ้พระฦาสาย 

พระองค์จงทรงปรานี 

จากคําประพันธ์น ี แสดงให้เห็นถึงผลจากการกระทําของสุเทษณ์ทีสังให้มายาวินไปสะกดนาง 
บังคับให้มารับรักกับตน  จากการกระทํานีทําให้จากทีนางไม่ชอบสุเทษณ์อยูแ
่ ล้วกลับกลายเปนไม่
ชอบยิงกว่าเดิมเพราะไปบังคับนางและทําให้นางได้รับความอับอาย  ข้อคิดทีได้การกระทํานีคือความ
รักนันต้องมาจากใจจริงไม่ใช่การบังคับหรือฝนใจ  เพราะมีแต่จะทําให้คนทีเรารักนันได้รับความทุกข์
แทนทีจะเปนความสุข ถ้าเรารักจริง เราต้องไม่ทําให้คนทีเรารักเสียนาตา  

แก่นเรือง 

ในชือเรือง“มัทนะพาธา”  มีความหมายว่าความเจ็บปวดจากความรัก  โดยคําว่า  “มัทนา”ซึง


เปนชือตัวเอกในเรือง  แปลว่า  ความลุ่มหลงหรือความรัก  ส่วน“พาธา”แปลว่าความทุกข์  ในเรืองนี
เปนเรืองเกียวกับความทุกข์ทีเกิดจากความรัก  โดยผู้แต่งนันต้องการแสดงให้เห็นว่าความรักนันไม่ได้
นํามาซึงแต่ความสุข มันสามารถทําให้เกิดได้หลายสิงหลายอย่างเช่น อารมณ์โกรธ ความโศกเศร้า 

การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 

การประพันธ์วรรณคดีไทย  ผู้ประพันธ์จะต้องสรรหาถ้อยคําทีมีความสละสลวยและเหมาะสม 
และนําคําเหล่านันมาเรียบเรียงอย่างเหมาะสมให้ความหมายถูกต้องตามทีต้องการจะสือ  และใช้
ถ้อยคําทีพลิกแพลงไปจากปกติ  เพือให้ได้อรรถรสในการอ่าน  เปนความงามของวรรณคดีในด้านการ
ใช้ภาษา การวิเคราะห์ภาษาทีใช้ในวรรณรรมแต่ละเรืองจึงเปนสิงทีสําคัณ 

การสรรคํา 

การสรรคํา คือการใช้คําสืออารมณ์ความรู้สึก และความคิด ให้ไพเราะ โดยคํานึงถึงความงาม


ด้านเสียง โวหาร และรูปแบบคําประพันธ์ 

1. เลือกใช้คําทีเหมาะสมแก่เนือเรืองและฐานะของบุคคลในเรือง 
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัวทรงใช้ถ้อยคําทีแสดงให้เห็นถึงฐานะและลักษณะ
นิสัยของตัวละคร เช่น 

สุเทษณ์.  เหวยจิตระเสน มึงบังอาจเล่น ล้อกูไฉน? 

จิตระเสน.  เทวะ, ฃ้าบาท จะบังอาจใจ ทําเช่นนันไซร้ ได้บพ


่ ึงมี. 

สุเทษณ์.  เช่นนันทําไม พวกมึงมาให้ พรกูบัดนี, 

ว่าประสงค์ใด ให้สมฤดี? มึงรู้อยูน


่ ี ว่ากูเศร้าจิต 

เพราะไม่ได้สม จิตทีใฝชม, อกกรมเนืองนิตย์. 

จิตระเสน.  ตูฃ้าภักดี ก็มีแต่คิด เพือให้ทรงฤทธิ โปรดทุกขณะ. 

สุเทษณ์.  กูไม่พอใจ ! ไล่คนธรรพ์ไป บัดนีเทียวละ. 

อย่ามัวรอรัง 

จิตระเสน.  เอวํเทวะ! (หันไปสังคนธรรพ์.) เออพอแล้วนะ, พวกเจ้าจงไป. 

(พวกคนธรรพถวายบังคมแล้วเข้าโรง.) 

ฃ้าบาทได้เตรียม อับสรเสงียม สง่างามไว้ 

เพือร้องและรํา บําเรอเทพไท, แม้โปรดจะได้ เรียกมาบัดนี. 

สุเทษณ์.  เอาเถิดลองดู เผือว่าตัวกู จะค่อยสุขี. 

จิตระเสน.  (เรียก) คณาอับสร ผู้ฟอนรําดี, ออกมาบัดนี รําถวายกร. 

ในบทประพันธ์นีแสดงให้เห็นถึงยศศักดิของสุเทษณ์ว่าเปนเทพบุตร มียศศักดิสูง และจิตระ


เสนมียศทีตากว่า จากการใช้ถ้อยคํา จะเห็นได้ว่า จิตระเสนใช้ถ้อยคําทีมีความสุภาพ เคารพยกย่องสุ
เทษณ์ ในขณะเดียวกัน สุเทษณ์ไม่ได้ใช้ถ้อยคําสุภาพหรือเคารพผู้มียศตากว่าอย่างจิตระเสน อีกทัง
ยังใช้ถ้อยคําทีแสดงให้เห็นถึงความเจ้าอารมณ์ เอาแต่ใจตนเอง และหมกมุน
่ ในตัณหาราคะของสุ
เทษณ์ 
2. เลือกใช้คําให้เหมาะสมแก่ลักษณะของคําประพันธ์ 

ในบทละครพูดคําฉันท์ เรืองมัทนะพาธานีมีการใช้ภาษาบาลีและสันสกฤตเปนหลัก เนืองจาก


เปนละครพูดคําฉันท์มีการใช้บทประพันธ์หลายชนิดเพือให้สืออารมณ์ออกมาได้อย่างชัดเจน บาง
ตอนเน้นอารมณ์ทีมีความอ่อนหวานจะใช้ วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ บางตอนต้องการความสับสน ความ
คึกคะนอง ความน่ากลัว จะใช้ จิตรปทาฉันท์ ๘ เช่น 

นางมทะนา จุติอย่านาน 

จงมะละฐาน สุระแมนสวรรค์, 

ไปเถอะกําเนิด ณ หิมาวัน 

ดังดนุลัน วจิสาปไว้! 

ในบทประพันธ์ข้างต้น สุเทศณ์แสดงความโกรธทีนางมัทนาไม่รับรัก จึงใช้จิตรปทาฉันท์ ๘  

3. เลือกใช้คําไวพจน์ให้ถก
ู ต้องตรงตามความหมายทีต้องการ 

การเลือกใช้คําไวพจน์คือการใช้คําทีมีความหมายเหมือนหรือใกล้เคียงกัน เพือทําให้ไม่นา่ เบือ 


และมีความน่าสนใจมากขึน 

ในบทละครพูดคําฉันท์ เรืองมัทนะพาธานี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัวทรงใช้คํา


ไวพจน์หลากหลาย เช่น วรพจน์ พะจี วจะ ทังสามคํานีมีความหมายเหมือนกันคือคําพูด แต่ใช้คําที
แตกต่างกันเพือให้ไม่เกิดความน่าเบือ หรือ สุชาตา ดรุณี วธุ ยุพิน แปลว่า หญิงสาว ซึงหมายถึงนาง
มัทนาทังหมด 

(​พูดสังมัทนา.) 

ดูก่อนสุชาตา มะทะนาวิไลศรี 

ยามองค์สุเทษณ์มี วรพจน์ประการใด, 

นางจงทํานูลตอบ มะธุรสธตรัสไซร้ ; 

เข้าใจมิเข้าใจ ฤก็ตอบพะจีพลัน. 
มัทนา เข้าใจละเจ้าข้า, ผิวะองค์สุเทษณ์นัน 

ตรัสมาดิฉันพลัน จะเฉลยพระวาที 

สุเทษณ์ อ้าโฉมวิไลยะสุปริยา มะทะนาสุรางค์ศรี, 

พีรักและกอบอภิระตี บมิเว้นสิเน่ห์นัก ; 

บอกหน่อยเถิดว่าดะรุณิเจ้า ก็จะยอมสมัครรัก 

มัทนา ตูข้าสมัครฤมิสมัคร ก็มิขัดจะคล้อยตาม.    

สุเทษณ์ จริงฤานะเจ้าสุมะทะนา วจะเจ้าแถลงความ?  

คําทีเปนตัวหนาหมายถึงนางมัทนาทังหมด 

4. เลือกใชค
้ าํ โดยคาํ นึ งถึงเสียง 
4.1. คาํ ที่เลน
่ เสียงสั มผัส

การเล่นเสียงสัมผัสคือการใช้สัมผัสสระหลายพยางค์ติดๆ กัน แบ่งได้ ๒ ประเภทคือ สัมผัส


นอกและสัมผัสใน  

ในบทละครพูดคําฉันท์ เรืองมัทนะพาธา นอกจากจะมีสัมผัสนอกตามฉันทลักษณ์ของคํา


ประพันธ์แต่ละชนิดแล้ว ยังมีการเล่นเสียงสัมผัสสระใน เช่น 

สุเทษณ์.  โอ้โอ๋กระไรนะมะทะนา  บมิตอบพะจีพอ? 

มัทนา.  โอ้โอ๋กระไรอะมระง้อ  มะทะนามิพอดี ! 

ในบทนีมีการเล่นเสียงสระ-ะ โดยในวรรคแรกมีคําว่า กระ นะ มะ และทะ ในวรรคที๓ มีคําว่า 


กระ อะ มระ และในวรรคสุดท้ายมีคําว่า มะ และทะ 
4.2. คําทีเล่นเสียงหนักเบา  

การเล่นเสียงหนักเสียงเบาหรือ คําครุและคําลหุ เพือให้บทประพันธ์มีความไพเราะมากขึน ใน


บทละครพูดคําฉันท์ มัทนะพาธา มีการใช้คําประพันธ์หลายชนิด ซึงแต่ละชนิดมีการบังคับคําครุและ
คําลหุต่างออกไป เช่น 

คําทีเปนตัวหนา คือคําครุ คําทีเปนตัวบาง คือคําลหุ  

วิชชุมมาลาฉันท์ ๘ มีการบังคับเปนคําครุทุกคํา 

มายาวิน อันเวทอาถรรพณ์ ทีพันผูกจิต 

แห่งนางมิงมิตร อยูบ
่ ด
ั นีนา 

จงเคลือนคลายฤทธิ จากจิตกัญญา 

คลายคลายอย่าช้า สวัสดีสวาหาย! 

จิตรปทาฉันท์ ๘ วรรคแรกมีคําครุ ๑ คํา ลหุ ๒ คํา และครุ ๑ คํา  

วรรคหลังมีคําลหุ ๒ คํา และครุ ๒ คํา 

นางมทะนา จุติอย่านาน 

จงมะละฐาน ส
​ ุระแมนสวรรค์, 

ไปเถอะกําเนิด ณ
​ หิมาวัน 

ดังดนุลัน วจิสาปไว้! 

อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ วรรคแรกมีคําครุ ๒ คํา ลหุ ๑ คํา และครุ ๒ คํา  

วรรคหลังมีคําลหุ ๒ คํา ครุ ๑ คํา ลหุ ๑ คํา และครุ ๒ คํา 


มายาวิน ไม้เรียกผะกากุพฺ- ชะกะสีอรุณแสง 
ปานแก้มแฉล้มแดง ดรุณีณยามอาย; 
ดอกใหญ่และเกสร สุวคนธะมากมาย, 
อยูท
่ น บ วางวาย มธุรสขจรไกล;  

4.3. เลือกคําโดยคํานึงถึงคําพ้องเสียงและคําซา 

การซาคํา คือการนําคําเดียวกันซา โดยจะต้องมีความหมายเหมือนกัน เพือความไพเราะ และ


ช่วยสือความหมายของคําประพันธ์ อาจจะวางไว้ติดกัน หรือวางไว้แยกจากกันแต่เปนระเบียบ
เรียบร้อยก็ได้ เช่น 

สุเทษณ์ งามผิวประไพผ่อง กลทาบสุภาสุพรรณ, 

งามแก้มแฉล้มฉัน พระอรุณแอร่มละลาน, 

งามเกศะดําขํา กลนาณท้องละหาน, 

งามเนตรพินิจปาน สุมณีมะโนหะรา; 

งามทรวงสล้างสอง วรถันสุมนสุมา- 

ลีเลิดประเสริฐกว่า วรุบลสะโรชะมาศ; 

งามเอวอนงค์ราว สุรศิลปชาญฉลาด 

เกลากลึงประหนึงวาด วรรูปพิไลยพะวง; 

งามกรประหนึงงวง สุระคชสุเรนทะทรง, 

นวยนาฏวิลาศวง ดุจะรําระบําระเบง; 

ได้มีการซาคําว่างาม โดยวางไว้คําแรกของวรรคหน้า เพือแสดงถึงความงามใน


ร่างกายของนางมัทนา ทําให้ฟงดูไพเราะมากขึน 

สุเทษณ์ (ตวาด) อุเหม่!   

มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชิช่างจํานรรจา,   

ตะละคําอุวาทา ฤกระบิดกระบวนความ. 
ได้มีการซาคิว่า ชิ โดยวางไว้ติดกัน เพือแสดงความโกรธของสุเทษณ์ทีนางมัทนาพูด
ไม่ถูกใจ ได้ชัดเจนมากขึน  

การเรียบเรียงคํา 

หลังจากสรรคําแล้ว ต้องนําคําเหล่านันมาเรียบเรียงให้สละสลวย โดยคํานึงถึงฉันทลักษณ์


ของบทประพันธ์ประเภทต่างๆ  

้ ความที่บรรจุสารสาํ คัญไวท
1. เรี ยงขอ ้ า้ ยสุด

การนําข้อความสําคัญไว้ท้ายสุดของประโยคจะช่วยให้มีความหนักแน่นมากขึน เช่น 

มัทนา แม้ข้า บ เปรมปฺริยะฉะนี ผิจะโปรดก็เสียแรง.  

ในบทประพันธ์ข้างต้นได้นําข้อความสําคัญมาไว้ท้ายคําพูดของนางมัทนา ว่านาง
มัทนาจะยินดีหรือไม่ การทีสุเทษณ์รักนางมัทนาต่อไปก็จะเสียแรงเปล่า เพือเน้นว่า ไม่ว่า
อย่างไรก็ตาม การทีสุเทษณ์รักนางมัทนาต่อไปก็ไม่มีประโยชน์ 

2. เรี ยงคาํ วลี หรื อประโยคที่มีความสาํ คัญเทา่ ๆ กัน เคียงขนานกันไป

สุเทษณ์ งามผิวประไพผ่อง กลทาบสุภาสุพรรณ, 

งามแก้มแฉล้มฉัน พระอรุณแอร่มละลาน, 

งามเกศะดําขํา กลนาณท้องละหาน, 

งามเนตรพินิจปาน สุมณีมะโนหะรา; 

งามทรวงสล้างสอง วรถันสุมนสุมา- 

ลีเลิดประเสริฐกว่า วรุบลสะโรชะมาศ; 

งามเอวอนงค์ราว สุรศิลปชาญฉลาด 

เกลากลึงประหนึงวาด วรรูปพิไลยพะวง; 

งามกรประหนึงงวง สุระคชสุเรนทะทรง, 
นวยนาฏวิลาศวง ดุจะรําระบําระเบง; 

ข้อความทีสุเทษณ์พรรณนาถึงความงามของนางมัทนา เรียงอยูด
่ ้วยกัน เพือพรรณนาถึง
ความงามของนางมัทนา 

3. เรี ยงประโยคให้เนื้ อหาเขม ้ ขึ้นไปตามลาํ ดับ ดุจขันบ


้ ขน ้ ดทา้ ย ซึ่งสาํ คัญที่สุด
้ ั นได จนถึงขันสุ

สุเทษณ์ ด้วยอํานาจอิทธิฤทธี อันประมวลมี ณ ตัวกูผู้แรงหาญ, 

กูสาปมัทนานงคราญ ให้จุติผา่ น ไปจากสุราลัยเลิศ,  

สูแ
่ ดนมนุษย์และเกิด เปนมาลีเลิศ อันเรียกว่ากุพฺชะกะ, 

ให้เปนเช่นนันกว่าจะ รู้สึกอุระ ระอุเพราะรักรึงเข็ญ. 

ทุกเดือนเมือถึงวันเพ็ญ ให้นางนีเปน มนุษย์อยูก


่ ําหนดมี 

เพียงหนึงทิวาราตรี; แต่หากนางมี ความรักบุรุษเมือใด.  

เมือนันแหละให้ทรามวัย คงรูปอยูไ่ ซร้ บ คืนกลับเปนบุปผา. 

หากรักชายแล้วมัทนา บมีสุขา รมย์เพราะเริดร้างรัก, 

และนางเปนทุกข์ยิงนัก จนเหลือทีจัก อดทนอยูอ


่ ีกต่อไป, 

เมือนันผิว่าอรทัย กล่าววอนเราไซร้ เราจึงจะงดโทษทัณฑ์ 

[จิตระปทา, ๘.] 

นางมทะนา จุติอย่านาน 

จงมะละฐาน สุระแมนสวรรค์, 
ไปเถอะกําเนิด ณ หิมาวัน 

ดังดนุลัน วจิสาปไว้! 

้ เป็ นตอนที่สุเทษณ์สาปนางมัทนา เพราะนางมัทนไมร่ ั บรัก ไดข้ ้ึนตน


ในบทประพันธข์ า้ งตน ้ วา่
ดว้ ยอาํ นาจที่มีทังหมด
้ ้ ่ีเรี ยกวา่ กุพชะกะ
ขอสาปให้นางมัทนาไปเกิดบนโลกมนุ ษย ์ ไปเกิดเป็ นดอกไมท
่ ความเขม
และเพิม ้ ขึ้นเรื่ อยๆ โดยให้นางมัทนากลายเป็ นมนุ ษยใ์ นคืนวันเพ็ญ และหากมีความรักก็จะ
้ ขน
กลายเป็ นมนุ ษยโ์ ดยสมบูรณ์ แตห
่ ากนางมัทนามีความทุกขจ์ ากความรัก ก็ให้ออ
้ นวอนตอ่ สุเทษณ์ และ
จบดว้ ยไลน ์ ามที่สุเทษณ์สาปไว้
่ างมัทนา จุติจากสวรรคต

้ ยคาํ ให้เป็ นประโยคคาํ ถามเชิงวาทศลิ ป์


4. เรี ยงถอ

้ าํ ถามที่ไมไ่ ดต
เป็ นการใชค ้ อ ่ ามเพื่อกระตุน
้ งการคาํ ตอบ แตถ ึ เชน
้ ความรู้ สก ่

สุเทษณ์ ความรักละเหียอุระระทด เพราะมิอาจจะคลอเคลีย. 

มัทนา ความรักระทดอุระละเหีย ฤจะหายเพราะเคลียคลอ? 

ในบทประพันธ์ข้างต้น สุเทษณ์ตัดพ้อว่า ความรักของสุเทษณ์นันน่าละเหียใจ เพราะ


ไม่ได้อิงแอบแนบชิดนางมัทนา นางมัทนาจึงใช้ประโยคคําถามเชิงวาทศิลปตอบกลับไปว่า 
ความรักของสุเทษณ์จะหายจากความน่าละเหียใจเพียงเพราะแค่ได้แนบชิดนางมัทนาจริง
หรือ เพือกระตุ้นอารมณ์ความรู้สึก โดยไม่ได้ต้องการคําตอบ 

   
การใช้โวหาร  

ในบทละครพูดคําฉันท์ เรืองมัทนะพาธา ได้มีการใช้โวหารภาพพจน์ไว้อย่างหลากหลาย อาทิ


เช่น อุปมาโวหาร อุปลักษณ์ สัญลักษณ์ ปฏิพากย์ เปนต้น  

ตัวอย่างการใช้โวหารในบทประพันธ์ 

อุปมา คือการกล่าวเปรียบเทียบของสิงหนึงกับอีกสิง โดยส่วนใหญ่จะใช้คําเชือม เช่น เหมือน, 


ดุจ, ประดุจ, เปรียบ, ดัง, ราว, เทียม เปนต้น 

ตัวอย่าง 

อันพระเมตตาเนืองนอง ประดุจละออง 

วะรุณระรืนรวยเย็น 

พระกรุณาแน่เห็น ดิประดุจเปน 

วายุรําเพยชืนใจ 

บทประพันธ์ข้างต้นเปรียบเทียบว่า พระเมตตาของสุเทษณ์นันเหมือนกับละอองฝนทีให้ความ
เย็นฉา และพระกรุณาก็เหมือนเปนลมทีพัดผ่านให้เย็นใจ 

ชีพอยูก
่ ็เหมือนตาย เพราะมิวายระทวยระทม 

ทุกข์ยากและกรากกรม  อุระชาระกําทวี 

ในบทประพันธ์ข้างต้น สุเทษณ์เอ่ยตัดพ้อให้นางมัทนาฟงว่าหากนางมัทนาไม่ยอมรับรักของ
ตน ตนมีชิวิตอยูก
่ ็เหมือนตาย เพราะมีแต่ความทุกข์ยากชอกชาระกําใจ 

สัญลักษณ์ คือการใช้ของสิงหนึงแทนอีกสิง โดยสิงทีนํามาใช้แทนนันต้องอาศัยการตีความให้


ลึกถึงความหมายทีแท้จริง และเข้าใจกันในคนหมูม
่ าก 
ตัวอย่าง 

แพ้ยอดฤดีข้า    ดุจะกากะเปรียบหงส์ 

ในบทประพันธ์ข้างต้น กานันเปรียบเสมือนคนตาต้อย และหงส์เปรีบยเสมือนคนชันสูง 

การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 

คุณค่าด้านอารมณ์   

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห
่ ัว  ทรงเลือกสรรคําทีสามารถเข้าใจได้ไม่ยากมาใช้ใน
ช่วงทีเนือเรืองกําลังเข้มข้น  ทําให้เนือเรืองเข้าถึงอารมณ์ของผู้อ่านได้ไม่ยากและน่าติดตาม  อีกทังยัง
สามารถสะท้อนอารมณ์ของตัวละครออกมาได้อย่างดียิงทําให้ผู้อ่านสามารถนึกภาพได้ตามระหว่าง
อ่านและเข้าใจอย่างลึกซึงถึงความรู้สึกของตัวละครนันๆ  ยกตัวอย่างเช่น  ฉากสุดท้ายในภาคสวรรค์ 
หลังจากทีสุเทษณ์ต่อล้อต่อเถียงกับนางมัทนาเนืองจากอยากให้นางรักตน  แต่สุดท้าย  ถึงแม้สุเทษณ์
จะเอ่ยขอความรักจากนางมัทนาเท่าไหร่  นางมัทนาก็ไม่รับรักของสุเทษณ์เนืองจากผลกรรมทีเคยทํา
ร่วมกันมาแต่ชาติปางก่อน  สุเทษณ์โกรธนางมัทนาอย่างมากจึงสาปให้นางกลายเปนดอกกุพฺชกะลง
ไปจุติอยูใ่ นโลกมนุษย์  และนางจะกลายร่างเปนมนุษย์ได้เพียงเดือนละหนึงวันหนึงคืนเท่านัน  โดยทีสุ
เทษณ์ได้กล่าวไว้ว่าหากนางมีความรักก็จะไม่ต้องกลายร่างกลับไปเปนดอกไม้อีก 

ตัวอย่าง 

สุเทษณ์. ช้าก่อน! หล่อนจะไปไหน?  

มัทนา. หม่อมฉันอยูไ่ ป  

  ก็เครืองแต่ทรงรําคาญ 

สุเทษณ์. ใครหนอบอกแก่นงคราญ  ว่าพีรําคาญ? 

มัทนา.  หม่อมฉันสังเกตเองเห็น. 

สุเทษณ์. เออ! หล่อนนีมาล้อเล่น!  อันตัวพีเปน 


  คนโง่ บ้าฉันใด? 

บทประพัทธ์ทีถูกยกมาด้านบน เปนตัวอย่างของฉากทีใช้ภาษาเข้าใจง่ายแต่ทําให้ผู้อ่าน
สามารถเข้าใจถึงอารมณ์ของตัวละครได้เปนอย่างดี 

คุณค่าด้านคุณธรรม  

วรรณกรรมไทย  เปนเครืองมือสอนจริยธรรมทังทางตรงและทางอ้อมโดยทัวไป  กวียอ


่ มแสดง
ภูมมิปญญาของตนเองออกมาทางวณณณกรรม  เราจึงสามารถมองเห็นวิถีชีวิตสภาพความเปนอยู ่
วัฒธรรมความเชือและค่านิยมคนในสังคม  ทีวรรณกรรมนันๆ  ได้จําลองภาพออกมา  ฉะนัน
วรรณกรรมจึงเปรียบเสมือนกระจกเงา  ให้เราได้เห็น  ถึงสิงดังกล่าวได้เปนอย่างดี  ซึงทําให้เราเข้าใจ 
วิถีชีวิตของคนในสมัยของวรรณกรรมนันๆ  ได้อย่าง  ดียิงขึน  หากวรรณคดีเน้นสอนเรืองไหนเปน
พิเศษ  ย่อมหมายถึงสังคมขณะช่วงนันๆ  กําลังขาดคุณธรรมทีจะช่วยจรรโลงสังคมให้ดํารงอยูไ่ ด้ด้วย
การพิจารณาคุณค่าด้านสังคมของวรรณกรรมจึงต้องพิจารณาด้วยว่าวรรณกรรมเรืองนันได้ชว
่ ย
จรรโลงหรือพัฒนาสังคมมากน้อยเพียงใด   

1. สะท้อนแง่คิดของพุทธวัจนะ ทีใดมีรัก ทีนันมีทุกข์ 

เมือสุเทษณ์หลงรักนางมัทนามากจึงทําให้เกิดความต้องการอยากได้นางมัทนาเปน
ของตน แต่เมือนางไม่ตอบรับรัก สุเทษณ์จึงโกรธและมีความทุกข์ใจมาก 

2. สะท้อนให้เห็นค่านิยมเกียวกับการครองรักระหว่างหยิงชายต้องเกิดจากความพึงพอใจทังสอง
ฝาย ไม่ใช่จากการบังคับให้รับรัก จึงจะเกิดความสุขของชีวิต 

เมือนางไม่ตอบรับรักสุเทษ์สุเทษณ์จึงทําทุกอย่างเพือให้นางมารัก และครอบครอง ไม่


ว่าจะร่ายมนตร์ต่างๆหรือจับนางมาขูเ่ ข็ญต่างๆ ทําให้นางรู้สึกเศร้าเสียใจ เปนอย่าง
มากกับ เหตุการณ์ทีเกิดขึน 
3. สะท้อนให้เห็นค่านิยมของสตรีไทยในยุคสมัยนันว่ามีความซือสัตว์และยึดมันการรักเดียว ใจ
เดียว 

หลังจากนางมัทนาได้ทูลขอให้สุเทษณ์รับนางกลับไปสวรรค์สุเทษณ์จึงขอให้ นางรับ
รักตนก่อน แต่เมือนางยังปฏิเสธ สุเทษณ์จึงสาปให้นางกลายเปนกุหลาบ ตลอดไป 
แสดงให้เห็นว่าต่อให้นางเปนอย่างไรนางยังคงซือสัตย์กับความรักทีมีและคําสัญญาที
ให้ต่อชัยเสน 

4. คุณค่าด้านอืนๆ 

คุณค่าด้านการศึกษา  

วรรณคดีท้องถินทุกประเภทเปนสือทีให้ความรู ้ ความเข้าใจในเรืองต่าง  ๆ อย่างมากมาย นอก


เหนือจากการให้ความบันเทิงแล้ว  เช่น  ความรู้เรืองประวัติศาสตร์  ศาสนา  คําสอน  ชีวิตความเปนอยู ่
และขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในท้องถิน 

คุณค่าทางด้านภาษา 

วรรณคดีทุกประเภททังงานเขียนและการพูด  ต้องใช้ถ้อยคํา  ภาษาเปนสือในการ  เสนอเรือง 


ดังนันจึงมีคุณค่าทางด้านภาษาของคนท้องถินเปนอย่างมาก  ซึงแสดงให้เห็นถึง  วัฒนธรรมและ
วิวัฒนาการด้านภาษาของชาติทีมีภาษาเปนของตนเอง  มีทังในด้านความ  สละสลวย  สวยงามและ
ความไพเราะ ควรค่าแก่การอนุรักษ์และสืบทอดต่อไป  

   
บรรณานุ กรม

นายคณิ น, นายสุทธิพล, นางสาวดลพร, นางสาวกัญญว์ รา. การใชภ


้ าษาให้งดงาม [ออนไลน์].

เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2563. สืบคน


้ ไดจ้ าก

http://thaimode.blogspot.com/2011/01/blog-post_24.html

์ ่ี ๑ [ออนไลน์]. เ​ ขา้ ถึงเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2563. สืบคน


มัทนะพาธาองกท ้ ไดจ้ าก

์ ่ี-๑
https://vajirayana.org/มัทนะพาธา-หรื อตาํ นานแหง่ ดอกกุหลาบ/องกท

​ อดคาํ ประพันธ์ เรื่ องที่ ๒ บทละครพูดคาํ ฉันท์ เรื่ องมัทนะพาธา [ออนไลน์].


Kru Thanawan. ถ

เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2563. สืบคน


้ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/a/chs.ac.th/kru-thanawan/neuxha/thxd-khwam-kha-praphanth

บุญกวา้ ง ศรี สุทโธ. การสรรคาํ [ออนไลน์]. เ​ ขา้ ถึงเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2563. สืบคน
้ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/a/htp.ac.th/reuxng-kar-xan-wrrnkhdi/5-kar-phicarna-khunkha-bth
-praphanth/5-2-khunkha-dan-wrrnsilp/1-kar-srr-kha

ึ ษามัธยมเขต๓๙. วรรณคดี เรื่ อง มัทนะพาธา


์ าํ นักงานเขตพื้นที่การศก
โรงเรี ยนพิชัย อาํ เภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถส
์ ่ีใชใ้ นเรื่ อง [ออนไลน์]. ​เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2563. สืบคน
๗.ฉันทท ้ ไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/mathnaphatha51/home/7-chanth-thi-chi-ni-reuxng

์ ั นเทิงคดีไทย [ออนไลน์]. ​เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 15


ธนสิน ชุตินธรานนท.์ ภาพพจน์วาทศลิ ป์กับการสร้างสรรคบ
พฤษภาคม 2563. สืบคน
้ ไดจ้ าก

https://scn.ncath.org/articles/rhetorical-figure-and-thai-fiction-creation-2/

Nisachol Choojaroen. โ​ วหารภาพพจน์ [ออนไลน์]. ​เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2563. สืบคน


้ ไดจ้ าก

https://sites.google.com/site/woharphaphphcn11/prapheth-khxng-wohar

​ ั ทนะพาธา [ออนไลน์]. เ​ ขา้ ถึงเมื่อวันที่ 21พฤษภาคม 2563. สืบคน


Mind Sathirasarindh. ม ้ ไดจ้ าก

https://prezi.com/4xhxzth9ojbs/presentation/

คุณคา่ ของวรรณคดี [ออนไลน์].​ เขา้ ถึงเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2563. สืบคน


้ ไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/ixcuse1150/khunkha-khxng-wrrnkhdi

You might also like