You are on page 1of 5

Timeline

มัทนะพาธา
มั ธยมศึ กษาปี ที่ ๕/๒๐

กลุ่ ม ๑
น.ส. กั ญจารภา สุ ขนุ้ย เลขที่ 11
น.ส. ฐิ ติ ภั ทรา พุ ทธะวิ โร เลขที่ 12
น.ส. พุ ทธิ ชาต ทองจั นทร์ แก้ ว เลขที่ 13
น.ส. ฐิ ตาภา บุ ญพั นธ์ เลขที่ 21
น.ส. บุ ณญานุช ฉิ มเอี ยด เลขที่ 22
น.ส. พิ ทยารั ตน์ สั งข์ ทอง เลขที่ 24
น.ส. รวิ นท์ นิ ภา อุ่ นนวนจิ รสิ น เลขที่ 26

กลุ่ ม ๒
นาย ดิ สฮั ม หลำจะนะ เลขที่ 1
นาย อนาคิ น นาคประดิ ษฐ์ เลขที่ 2
นาย ภั ทธร แสงจั นทร์ ทะนุ เลขที่ 5
นาย ณฐ ชาติ ยิ่ งเจริ ญ เลขที่ 6
นาย ธี รโชติ แสนทอง เลขที่ 7
นาย กฤติ ธี บุ ญรั ศมี เลขที่ 8
นาย ยศวรรธน์ สั จกุ ล เลขที่ 9

กลุ่ ม ๓
นายพิ ชญุ ตม์ จตุ รานนท์ เลขที่ 3
นายวิ ลดาน สุ นทร เลขที่ 4
น.ส.ชนั ญชิ ดา วุ ธรา เลขที่ 10
น.ส.ศุ ภภิ สรา ถาวรกิ จ เลขที่ 14
น.ส.พรพิ มล ประทุ มชาติ ภั กดี เลขที่ 15
น.ส.จุ ฬาลั กษณ์ วิ ไลรั ตน์ เลขที่ 20
น.ส.เปมิ กา ชุ่ มจำรั ส เลขที่ 23

กลุ่ ม ๔
น.ส.จั ยดาอ์ หมั ดสมาน เลขที่ 16
น.ส.จุ ฑามาส สุ วรรณรั ตน์ เลขที่ 17
น.ส.ธิ ดาวดี สิ งห์ ทอง เลขที่ 18
น.ส.ไปรยา สุ วรรณพิ บู ล เลขที่ 19
น.ส.เมธาพร ใหม่ แก้ ว เลขที่ 25
กลุ่มที่ ๑

คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าด้านสังคม

1. การใช้ถ้อยคำและรูปแบบคำ 1. ความเชื่อเรื่องเวทมนต์คาถา
ประพันธ์เหมาะสมกับเนื้อหา การทำเสน่ห์เล่ห์กล
ทำให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกคล้อยตามเกิด โดยบังคับบางสิ่งให้เป็นไปตามที่ต้องการ
ความประทับใจอยากติดตามอ่านมีการ ได้ เห็นจากที่มายาวินใช้เวทมนตร์สะกด
เลือกใช้คำเหมาะสมกับเนื้อความและบทบาท มัทนาให้มาหาเเละพูดตอบโต้กับสุเทษณ์
ของตัวละครรวมทั้งการพรรรณนาให้มีความ โดยที่นางไม่รู้สึกตัว
สอดคล้องกับวัฒนธรรมภารตะโบราณและเข้า
กับเนื้อเรื่องได้เป็นอย่างดี 2. สะท้อนแง่คิดให้คนในสังคมได้เข้าใจ
2. มีการใช้ภาษาที่สละสลวย พุทธวัจนะ “ที่ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์”
ตอนใดที่ต้องการดำเนินเรื่องอย่างรวดเร็วก็ใช้ร้อย
โดยบังคับบางสิ่งให้เป็นไปตามที่
แก้วตอนใดที่ต้องการจังหวะเสียงและความ
ต้องการได้ เห็นจากที่มายาวินใช้
คล้องจองก็ใช้กาพย์ เข่น กาพย์สุรางคนางค์ 28
เวทมนตร์สะกดมัทนาให้มาหาเเละพูด
หรือตอนใดที่เน้นอารมณ์มาก บทเล่าเรื่อง บทชม
ตอบโต้กับสุเทษณ์ โดยที่นางไม่รู้สึก
คร่ำครวญ ก็มักใช้ฉันท์ ซึ่งอินทรวิเชียรฉันท์ 11 มี
ตัว
ท่วงทำนองเร็วเหมาะเเก่การเล่า หรือบรรยายเรื่อง
ส่วนเนื้อหาตอนสุเทษณ์ฝากรักนางมัทนานั้น
วสันตดิลกฉันท์ ซึ่งมีท่วงทำนองที่อ่อนหวาน 3. สะท้อนให้เห็นค่านิยม
เกี่ยวกับการครองรักระหว่างหญิงชายต้องเกิดจาก
3. ศิลปะการประพันธ์ที่ไพเราะ ความพึงพอใจทั้งสองฝ่าย มิใช่เกิดจากการบังคับ
แสดงกวีโวหารและมีการเล่นคำ ขู่เข็ญให้รับรัก จึงจะเกิดความสุขในชีวิต
เล่นอักษรอย่างแพรวพราว บท
เกี้ยวพาราสีต่อไปนี้ ใช้รส 4. สุเทษณ์รักนางมัทนาเเต่ไม่สมหวังก็
วรรณคดีนารีปราโมทย์ (บทเกี้ยว
โอโลม) คือการกล่าวเเสดงความ เป็นทุกข์
รัก ทั้งการเกี้ยวพาราสีกัน เเต่ เเม้เมื่อเสวยสุขเป็นเทพบุตรก็ยังรักนางมัทนาอยู่ จึง
งด้วยวสันต์ดิลกฉันท์ 14 มีการ ทำทุกอย่างเพื่อให้ได้นางมา เเต่ไม่สมหวังก็พร้อมที่จะ
สลับตำเเหน่งของคำ ทำให้เกิด ทำลาย ความรักเช่นนี้เป็นความรักที่เห็นเเก่ตัวควร
ความไพเราะอย่างยอดเยี่ยม เช่น หลีกหนีไปให้ไกล

1
สเทษณ์ : พี่รักและหวังวธุจะรัก และบท 5. ความรักกับชั้นวรรณะ
อดบทิ้งไป

มัทนา : พระรักสมัครณพระหทัย ฤจะ ความรักนั้นเกิดขึ้นได้กับทุกชั้น
ทอดจะทิ้งเสีย วรรณะ เเละความรักย่อมมีทั้งสม
สุเทษณ์ : รักจริงมิจริงฤก็ไฉน อรไทบ่ หวังเเละผิดหวังเป็นธรรมดา
is how often wild roses
แจ้งการ ?
are pollenated by insects.
มัทนา : รักจริงมิจริงก็สุรชาญ ชยะ
โปรดสถานใด ?
สุเทษณ์ : ความรักละเหี่ยอุระระทด
เพราะมิอาจจะคลอเคลีย
มัทนา : ความรักระทดอุระละเหี่ย ฤจะ
หายเพราะเคลียคลอ

4. อุปมาโวหาร
กวีใช้อุปมาโวหารในการเล่ากล่าวความงามของนาง
มัทนา ทำให้ผู้อ่านมองเห็นภาพความงามของนาง
มัทนาเด่นขึ้น
กลุ่ม ๒
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าด้านสังคม
1.มีการใช้โวหารต่างๆ เช่นอุปมาโวหาร และ 1.สามารถสะท้อนแง่คิดให้กับคนภายใน
อธพจน์เพื่ออธิบายวัฒนธรรมภารตะโบราณ สังคมได้เข้าใจเรื่องความรักและความ
ให้เข้ากับเนื้อเรื่องได้ดี เช่น ทุกข์ และสอนให้รักอย่างมีสติและ
อุระประหนึ่งไฟผลาญ ร้อนจนสุดที่ทนทาน รอบคอบ ไม่ใช่รักเพราะความหลุ่มหลง
แรงไฟในราน ก็ล้มลงสิ้นสมฤดี
2.สามารถสะท้อนค่านิยมเรื่องการ
2.มีการใช้ภาษาที่สละสลวย ครองรักกันนั้นต้องเกิดจากความ
มีการใช้ร้อยแก้ว สลับกับ การใช้กาพย์ และ ยินยอมทั้ง 2 ฝ่าย เช่น
ฉันท์ เช่น เสียแรงเรารัก สมัครใจครัน
อยากให้นางนั้น สมัครรักตอบ
น่ะมายาวิน เหตุใดยุพิน จึ่งเป็นเช่นนี้?
(กาพย์) 3.สามารถสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อใน
เต็มใจมิเต็มใจหนูก็ต้อง ปฏิบัติระเบียบดี อดีต ว่ามีการเชื่อเรื่องพลังเวทย์มนต์
(ร้อยแก้ว) ขลัง เช่น
เทวะที่นาง อาการเป็นอย่าง นี้เพราะฤทธิ์มนตร์
โยคะอันขลัง บังคับได้จน ให้ตอบยุบล ได้ตามต้องการ
3.มีการเล่นคำ เช่น
รักละเหี่ยอุระระทด อาจจะคลอเคลีย
4.สะท้อนให้เห็นค่านิยมของผู้หญิงใน
ความรักระทดอุระละเหี่ย ฤจะหายเพราะเคลียคลอ
สมัยนั้น sett
4.มีการใช้ อิทิสังฉันท์ ซึ่งจะให้น้ำหนักเสียง
หนักเบาที่แตกต่างกันในแต่ละจังหวะ และมี
5.ความเชื่อเรื่อง ชาติภพ และการทำบุญ
ผลต่อบทแสดงอารมณ์ โกรธ ตื่นเต้น วิตก
จะทำให้ไปเสวยสุขวิมานในสวรรค์
กังวล
หญิงและชาย ณ ยามระตีอุทัยสว่าง ณ กลาง
กมลละไม ก็ฉันนั้น
6.ความเชื่อเรื่องกฎแห่งกรรม ว่าทำสิ่ง
ใดผู้นั้นจะได้รับผลสิ่งนั้นตอบแทน
5.มีการใช้ ปฏิปุจฉา ซึ่งสามารถสังเกตุได้
จากบางท่อนมีเครื่องหมาย ปรัศนี หรือ
เครื่องหมายคำถามต่อหลัง
ฉันใดมาได้แห่งนี้? หรือว่าได้มี ผู้ใดไปอุ้มข้ามา?

6.มีการแต่งด้วยวสันตดิลกฉันท์ ๑๔ ซึ่ง
ทำให้บทพูดของตัวละครมีความงดงาม อีก
ทั้งการใช้ภาษาก็คมคาย
ความรักละเหี่ยอุระระทด
เพราะมิอาจจะคลอเคลีย
ความรักระทดอุระละเหี่ย
ฤจะหายเพราะเคลียคลอ
กลุ่ม ๓
บทวิเคราะห์
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าด้านสังคม
1.มีการใช้อุปมา เช่น 1.แสดงค่านิยมที่ว่าชายหญิงนั้นเกิดมาเพื่อ
รูปเจ้าวิไลราว สุระแสร้งประจิตประจักษ์ รวมรักกัน เช่น
มิควรจะร้างรัก เพราะพะธูพิถีพิถัน พี่รักวะธุนวล บ่มิควรระอาละอาย
อันนาริกับชาย ฤก็ควรจะร่วมจะรัก
2.มีการใช้ปฏิปุจฉา เช่น

นี่เจ้ามิยอมรับ รสะรักฉะนั้น ฤ จ๋า? 2.แสดงให้เห็นถึงความเชื่อเรื่องบุญกรรม


ตัวฉันจะเลวสา- หะสะด้วยประการไฉน? เช่น
อันพี่สิบุญแล้ว ก็เผอิญประสบสุรี
3.มีการใช้อติพจน์ เช่น และรักสมัครมี มนะมุ่งทะนุถนอม
เหมือนพี่มิได้คง วรชีวะชีวิติน-
หมายถึง เชื่อว่าบุญที่สั่งสมมาได้นำพา
ทรีย์ไซร้บ่ไฝ่จิน- ตะนะห่วงและห่อนนิยม ความรักมาให้

4.มีการเล่นเสียง เช่น 3.แสดงถึงความเชื่อเกี่ยวกับการสร้างของ


อ้าฟังดนูเถิด มะทะนาและตอบวจี พระพรหม เช่น
พอให้ดนูนี้ สุขะรื่นระเริงระรวย ธาดาธสร้างองค์ อรเพราะพิสุทธิ์
ไว้เพื่อจะผูกพัน ธนะจิตตะจองฤดี
5.มีใช้เสาวรจนี เช่น หมายถึง พระพรหมท่านสร้างนางมัทนาเพื่อ
เช่นนั้นก็เชิญฟัง ดนุกล่าวสิเนหะพจน์ ให้รักกับตน
เจ้างามประเสริฐหมด ก็มีควรฤดีจะดํา

4.แสดงกวีทัศน์ โดยแสดงให้เห็นว่า "การมี


6.มีการใช้ภาษาที่สละสลวย ตอนที่เน้น รักเป็นทุกข์อย่างยิ่ง" ตรงตามพุทธวจนะ
อารมณ์มากก็มักใช้ฉันท์ เช่น การใช้ ของตถาคตที่ว่า "ที่ใดมีรักที่นั่นมีทุกข์" หรือ
วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ เป็นฉันท์ที่มีความ "มีรักมาก ย่อมมีทุกข์มาก" เช่น สุเทษณ์รัก
งดงามประดุจสายฝน มักใช้เพื่อพรรณาหรือ นางมัทนามาก และผูกติดกับความรัก กล่าว
สดุดีสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ว่า หากนางมัทนาไม่รับรัก ตนคงไม่สามารถ
ใช้ชีวิตอยู่ได้ อยู่ไปก็เป็นทุกข์

5. แสดงให้เห็นถึงความยึดมั่นของมัทนาใน
การเชื่อมั่นในคำของตนเอง แม้ว่าจะโดน
หว่านล้อมด้วยถ้อยคำอ่อนหวาน
เช่น
หม่อมฉันสดับมะธุระถ้อย ก็สำนึกเสนาะคำ
แต่ต้องทำนูลวะจะนะซ้ำ ดนุจะได้ทำนูลมา
กลุ่ม ๔
มัทนะพาธา
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คุณค่าด้านสังคม
1.มีการเล่นเสียงสัมผัส 1.สะท้อนแง่คิดให้เข้าใจพุทธวัจนะ “ที่
ขอให้พระองค์อะมะเทระ- วะเสวยประโมทา ใดมีรัก ที่นั่นมีทุกข์” ว่า เมื่อมีความรัก
หม่อมฉันจะขอประณตะลา สุระราชลิลาศไป ต้องรักอย่างมีสติ มีความรอบคอบ
ไม่ใช่รักอย่างลุ่มหลงจะเกิดความทุกข์
ได้
2. แสดงการใช้เสาวรสจนี เช่น
อ้าเจ้าลำเพาพักตร์ สิริลักษณาวิไล,
พี่จวนจะคลั่งไคล้ สติเพื่อพะวงอนงค์. 2. แสดงถึงความยึดมั่นในคำพูดของตนเอง
เช่น
หม่อมฉันนี้เป็นผู้ถือ สัจจาหนึ่งคือ ว่าแม้มิรักจริงใจ
3.พิโรธวาทัง ถึงแม้เป็นชายใด ของให้พาสไซร้ ก็จะมิยอมพร้อมจิต
จะโปรดปรานข้าบาทนี้ สักกี่ราตรี? และเมื่อ
พระเมื่อข้าน้อย,
นอนโศกเศร้าสร้อย ชะเง้อชะแง้แลหรือ?
3.สอดแทรกความคิดเกี่ยวกับความเชื่อในสังคม
ไทย เช่น
4.เล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ เช่น - ความเชื่อเรื่องชาติภพ
หม่อมฉันเคารพเทพไท ทูลอย่างจริงใจ ก็ บ มิทรงเชื่อเลย
- ความเชื่อเรื่องสวรรค์
กลับทรงดำรัสเฉลย ชวนชักชมเชย และชิดสนิทเสน่หา
- ความเชื่อเรื่องทำกรรมสิ่งใดย่อมได้รับผล
พระองค์ทรงเป็นเทวา ธิบดีปรา- กฏเกียรติยศเกรียงไกร,
มีสาวสุรางค์นางใน มากมวลแล้วไซร้ ในพระพิมานมณี,
กรรมนั้น


- ความเชื่อเรื่องเวทมนตร์คาถา

5. ปฏิปุชฉา
4. ให้ข้อคิดในการครองตน ผู้หญิงที่อยู่ในฐานะ
เพราะฉะนั้นจะให้นาง จุติสู่ ณ แดนคน,
อย่างนางมัทนาจะต้องมีความระมัดระวังตัว โดย
มะทะนาประสงค์ตน จะกำเนิด ณ รูปใด?
เปรียบดอกกุหลาบเป็นสัญลักษณ์แทนหญิงสาว

ที่มีรูปสวยย่อมเป็นที่หมายปองของชายทั่วไป
หนามแหลมคมเปรียบเหมือนสติปัญญา ถ้า
หญิงสาวที่รูปงามและมีความเฉลียวฉลาดรู้ทัน
เล่ห์เหลี่ยม ย่อมสามารถเอาตัวรอดจากผู้ที่จะ
มาหยามเกียรติหรือหมิ่นศักดิ์ศรีได้

You might also like