You are on page 1of 24

บทละครพูดคําฉันท์

เรื่ องมัทนะพาธา
TABLE OF CONTENTS

01 เนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดี
และวรรณกรรม

02
การใชภาษาในวรรณคดีและ
วรรณกรรม

03 ประโยชนหรือคุณคาใน
วรรณคดีและวรรณกรรม
เนื้อเรื่องหรือเรื่องยอ
● สุ เทษณ์ หลงรักนางมัทนา

● ให้มายาวินใช้เวทมนตร์ เรี ยกนางมา (ไม่ชอบวิธีการนี้)

● นางไม่ชอบ

● โกรธจึงสาบให้นางมัทนากลายเป็ นต้นกุหลาบ
โครงเรื่อง

นางมัทนาถูกสาปเนื่องจากไม่รับรักสุ เทศ
ณ์เทพบุตร
ตัวละคร
❖ สุ เทษณ์เทพบุตร

❖ มัทนา

❖ มายาวิน
ฉากทองเรื่อง
ภาคสววรค
สุ เทษณ์ อ๊ะ! เราไม่ขอ ได้นางละหนอ โดยวิธีน้ นั !
เสี ยแรงเรารัก สมัครใจครัน อยากให้นางนั้น สมัครรักตอบ.
ผูกจิตด้วยมนตร์ แล้วตามใจตน ฝ่ ายเดียวมิชอบ,
เราใฝ่ ละโบม ประโลมใจปลอบ ให้นางนึกชอบ นึกรักจริ งใจ.
ฉะนั้นท่านครู คลายเวทมนตร์ดู อย่าช้ารํ่าไร,
หากเราโชคดี ครั้งนี้คงได้ สิ ทธิ์สมดังใจ; รี บคลายมนตรา.
มายาวิน เอว เทวะ.
(มายาวินประนมมือแล้วร่ ายมนตร์ต่อไปนี้)
ภาคพื้นดิน
“วันหนึ่งท้าวชัยเสนกษัตริ ยแ์ ห่งนครหัสดิน เสด็จประพาสป่ ามาถึงอาศรมพระฤๅษี ตรงกับคืนวันเพ็ญที่มทั นากลายร่ าง
เป็ นมนุษย์ และได้พบกับท้าวชัยเสนและเกิดความรักต่อกัน พระฤๅษีจึงจัดพิธีอภิเษกให้ ชัยเสนได้พานางกลับนคร
หัสดิน ท้าวชัยเสนหลงใหลรักใคร่ นางมัทนามาก ทําให้นางจัณฑีมเหสี หึ งหวง และอิจฉาริ ษยา จึงทําอุบายให้ทา้ วชัย
เสนเข้าใจผิดว่ามัทนาเป็ นชูก้ บั นายทหารเอก นางมัทนาจึงถูกสัง่ ประหารชีวติ แต่เพชฌฆาตสงสารจึงปล่อยนางไป”
บทเจรจา
หรือ
รําพึงรําพัน
สุ เทษณ์. ช้าก่อน! หล่อนจะไปไหน?
มัทนา. หม่อมฉันอยูไ่ ป ก็เครื่ องแต่ทรงรําาคาญ
สุ เทษณ์. ใครหนอบอกแก่นงคราญ ว่าพี่รําคาญ?
มัทนา. หม่อมฉันสังเกตเองเห็น.
สุ เทษณ์. เออ! หล่อนนี้มาล้อเล่น! อันตัวพี่เป็ นคนโง่ฤๅบ้าฉันใด?

“ใน บทละครพูดคําฉันท์เรื่ องมัทนะพาธา จะเห็นได้วา่ มีตวั ละครที่หลากลายและ มีการใช้คาํ การเรี ยบเรี ยง


และการใช้โวหารต่างๆ ที่ผแู ้ ต่งสามารถแต่งออกมาได้ดีในแบบบทพูดที่มีการเจรจาทั้งเรื่ อง สามารถแสดง
ลักษนะนิสยั ของตัวละครได้อย่างเป็ นเอกลักษณ์ ยกตัวอย่างในตอนที่มทั นาตั้งท่าจะกลับและได้มีปากเสี ยง
กับสุ เทษณ์เทพบุตร”
แกนเรื่อง
● “ วัตถุประสงค์ในการพระราชนิพนธ์บทละครพูดคําฉันท์ เรื่ อง มัทนะ
พาธา พระองค์ทรงตั้งพระทัยให้เป็ นหนังสื ออ่านกวีนิพนธ์เพื่อความ
สนุกสนานในด้านเนื้อหาและ สะท้อนให้เห็นความเชื่อของสังคม
สะท้อนให้เห็นธรรมชาติของมนุษย์ โดยแสดงให้เห็นว่าการมีรักเป็ น
ทุกข์อย่างยิง่ ตรงตามพุทธวจนะที่วา่ ที่ใดมีรักที่นนั่ มีทุกข์ ดังความรัก
ของตัวละคร และ สะท้อนข้อคิดเพื่อนําไปใช้ในการดําเนินชีวติ ”
ความรักเหมือนโรคา บันดาลตาใหมืดมน
ไมยินและไมยล อุปสัคคะใดใด
ความรักเหมือนโคถึก กําลังคึกผิขังไว
ก็โลดจากคอกไป บยอมอยู ณ ที่ขัง
ถึงหากจะผูกไว ก็ดึงไปดวยกําลัง
ยิ่งหามก็ยิ่งคลั่ง บหวนคิดถึงเจ็บกาย
การใชภาษาในวรรณคดี
และวรรณกรรม
การใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม

การสรรคํา

การเรียบเรียงคํา

การใชโวหาร
การสรรคํา

การเลือกคําให้เหมาะแก่เนื้อเรื่ องและ
การเลือกใช้คาํ ให้เหมาะสมกับ การใช้คาํ โดยคํานึงถึงเสี ยง
ฐานะของบุคคลในเรื่ อง
ประเภทของคําประพันธ์ ● เล่นเสี ยงสัมพัส
การสรรคํา - ตัวอยาง
อ้าสองเทเวศร์ โปรดเกศข้าบาท ทรงฟังซึ่งวาท ที่กราบทูลเชิญ,
โปรดช่วยดลใจ ทรามวัยให้เพลิน จนลืมขวยเขิน แล้วรี บเร็ วมา.
ด้วยเดชเทพไท้ ทรามวัยรู ปงาม จงได้ทราบความ ข้าขอนี้นา,
แม้คิดขัดขืน ฝื นมนตร์คาถา ขอให้นิทรา เข้าสึ งถึงใจ

สัมพัสสระ สัมพัสอักษร
● บาท-วาท ● ขวย-เขิน
● เพลิน-เขิน ● รี บ-เร็ ว
การเรียบเรียงคํา

01 02
ฉันท กาพย
● ลักษณะถ้อยคํา ที่กวีได้ร้อยกรองขึ้น ไห้เกิดความไพเราะ ซาบซึ้ ง ● คําประพันธ์ที่กาํ หนด คณะ พยางค์และสัมพัส
โดยกําหนดคณะ ครุ ลหุ และสัมผัสไว้ เป็ นมาตรฐาน แต่ไม่นิยม ครุ หลุ
● มีการใช้ฉนั ท์ ๒๑ ชนิด เช่น วิชชุมมาลาฉันท์ ๘ ● ในบทประพันธ์น้ ี ได้มีการนํากาพย์มาใช้ ๓
อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ อุปชาติฉนั ท์ ๑๑ ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒ อินท ชนิด ได้แก่ กาพย์ยานี ๑๑ กาพย์ฉบัง ๑๖ และ
วงศ์ฉนั ท์ ๑๒ วสันตดิลกฉันท์ ๑๔ เป็ นต้น กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘
การใชโวหาร
หมายถึง ถ้อยคําที่ใช้ในการสื่ อสารที่เรี ยบเรี ยงเป็ นอย่างดี มีวธิ ีการ มีช้ นั เชิงและมีศิลปะ
เพื่อสื่ อให้ผรู ้ ับสารรับสารได้อย่างแจ่มแจ้ง ชัดเจนและลึกซึ้ ง รับสารได้ตามวัตถุ
ประสงค์ของผูส้ ่ งสาร
การใชโวหาร - ตัวอยาง
อุปมาโวหาร โวหารภาพพจน
01 02
การโวหารกล่าวเปรี ยบเทียบ เพื่อให้ผู ้ ใช้ถอ้ ยคําที่ทาํ ให้ผรู้ ับสารเกิดมโนภาพ ทําให้
อ่านได้เห็นภาพชัดเจนยิง่ ขึ้น มีความรู ้สึกร่ วมตรงตามความ

ดังบทประพันธ์ ปรารถนาของผูส้ ่ งสาร


งามผิวประไพผ่อง กลทาบศุภาสุ พรรณ,
งามแก้มแฉล้มฉัน พระอรุ ณแอร่ มละลาน. ● อุปลักษณ์ - เปรี ยบเทีบเป็ นนัย
งามเกศะดําขํา กลนํ้าณ ท้องละหาน, ● อติพจน์ - กล่าวเกินจริ ง
งามเนตร์พินิศปาน สุ มณี มะโนหะรา;
การอานและพิจารณา
ประโยชนหรือคุณคาใน
วรรณคดีและวรรณกรรม
การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
1. คุณค่าด้านอารมณ์
● การรวบรวมหลายอารมณ์อย่างความโกรธ ความหลง ความรัก
ความเศร้า ความแค้น
มะทะนาชะเจ้าเล่ห์ ชิชิช่างจํานรรจา,
ก็และเจ้ามิเต็มจิต จะสดับดนูชวน,
ผิวะให้อนงค์นวล ชนะหล่อนทนงใจ.
บ่มิยอมจะร่ วมรัก และสมัครสมรไซร้,
ก็ดะนูจะยอมให้ วนิดานวาศสวรรค์,....
การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรื อคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม

2. คุณค่าด้านคุณธรรม
● มัทะพาธานั้น เน้นเรื่ องความรัก ซึ่ งในหลักของพระพุทธเจ้าได้
มีการกล่าวถึงที่
“ที่ใดมีรัก ที่นนั่ มีทุกข์”
3. คุณค่าด้านสังคม
● ค่านิยมในเรื่ องของความรักและความครอบครอง
หม่อมฉันนี้เปนผูถ้ ือ สัจจาหนึ่งคือ
ว่าแม้มิรักจริ งใจ ถึงแม้จะเปนชายใด
ขอสมพาศไซร้ ก็จะมิยอมพร้อมจิต
บรรณานุกรม
● การเรี ยบเรี ยงคํา. การเรี ยบเรี ยงคํา [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓. สื บค้นได้จาก
http://www.digitalschool.club/digitalschool/thai2_4_1/thai2_11/page2.php
● ชาวรี ย ์ เกตุปราชญ์. นางมัทนา [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓. สื บค้นได้จาก
https://sites.google.com/site/girlsinwannakadee/girls-in-literature/nang-mathna
● ภาสกร เกิดอ่อนและคนอื่นๆ. หนังสื อเรี ยน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรมชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕. บริ ษทั อักษรเจริ ญทัศน์ อจท. จํากัด:
พิมพ์ที่ บริ ษทั ไทยร่ มเกล้า จํากัด. ๑๗๒ หน้า.
● ภาษาไทยเพื่อการสื่ อสาร. ความหมายของโวหาร [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓. สื บค้นได้จาก
http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter5-10.html
● โรงเรี ยนโนนเจริ ญพิยาคม. มันทนะพาธา [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓. สื บค้นได้จาก
○ https://sites.google.com/site/learnthaibykrugikk/mathna-phatha
● วิทยา ผิวงาม. กาพย์ [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓. สื บค้นได้จาก https://www.baanjomyut.com/library_2/thai_poetry/04.html
● วิทยา ผิวงาม. ฉันท์ [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๓. สื บค้นได้จาก
○ https://www.baanjomyut.com/library_2/thai_poetry/03.html

You might also like