You are on page 1of 21

มัทนะพาธา

โดย
นางสาวปั ณณชา เลิศลาภนนท์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี ๕/๑ เลขที่ ๘
นายกวิน โลหบูรณนนท์ ชัน้
มัธยมศึกษาปี ท่ี ๕/๑ เลขที่ ๙
นางสาวชิโณรถ ต๊ะวิชยั ชัน้
มัธยมศึกษาปี ท่ี ๕/๑ เลขที่ ๑๙
พิจารณาเนื้อหาและกลวิธใี นวรรณคดี
1. เนื้อเรือ่ ง
2. โครงเรือ่ ง
3. ตัวละคร
4. ฉากท้องเรือ่ ง
5. บทเจรจาราพึงราพัน
6. แก่นเรือ่ ง
เนื้อเรือ่ ง
- มัทนาไม่รบั รักจากสุเทษณ์ จึงถูกสาปให้มาเกิดในโลกมนุษย์
- มัทนาสามารถแปลงร่างเป็ นคนได้ในวันเพ็ญวันเดียวและคืนเดียวเท่านัน้
- มัทนาได้พบรักกับท้าวชัยเสน นางจึงกลับมามีรา่ งเป็ นคนอีกครัง้
- แต่แล้วก้เกิดการเข้าใจผิดขึน้ ทาให้มทั นากลับไปหาสุเทษณ์
- มัทนาโดนสาปให้เป็ นดอกกุหลาบตลอดไป
โครงเรือ่ ง
เรือ่ งราวของนางฟ้ าทีถ่ กู สาปให้เป็ นดอกกุหลาบ และ มาเกิดในโลกมนุษย์ เพราะไม่รบั รักจาก
เทพบุตร นางฟ้ าแปลงร่างจากดอกกุหลาบเปนคนเพราะเจอคนทีร่ กั จริงๆ แต่เกิดความเข้าใจผิด
กันทาให้นางฟ้ าถูกสาปให้เป็ นดอกกุหลาบไปตลอดกาล
ตัวละคร
- สุเทษณ์เป็ นเทพบุตรเจ้าอารมณ์ ไม่คานึงถึงความรูส้ กึ ของผูอ้ ่นื และหมกมุน่ ในตัณหาราคะ

“ผิวะนางเผอิญชอบ มรุอน่ื ก็ขา้ พลัน


จะทุรนทุรายศัล- ยะ บ่ อยากจะยินยล;
เพราะฉะนัน้ จะให้นาง จุตสิ ู่ ณ แดนคน,”

บทนี้กล่าวให้เห็นว่าสุเทษณ์จะส่งให้มทั นามาเกิดทีโ่ ลกมนุษ์เพราะว่านางไม่ยอมรับรัก ของ


ตน ทาให้รวู้ า่ สุเทษณ์เป็ นเทพทีเ่ อาแต่ใจตนเอง
มัทนา
มัทนามีความซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา คิดอย่างไรก้พดู อย่างนัน้ ไม่มเี ล่หเ์ หลีย่ ม
แต่ความตรงไปตรงมาของมัทนาทาให้นางได้รบั ความยากลาบากและทุกข์ใจ ดังบท
ละครพูดทีม่ ทั นากล่าวว่า
“อ้าอันเทพศักดิ ์สิทธิ ์ซึง่ พระจะลงพระอาญา,
ข้าเป็ นแต่เพียงข้า บ มิมงุ่ จะอวดดี
หม่อมฉันนี่อาภัพ และก็โชค บ่ พึงมี,
จึงไม่ได้รองศรี วรบาทพระจอมแมน”

บทนี้กล่าวให้เห็นว่ามัทนามินิสยั ไม่อวดดี และยอมรับในการตัดสินใจ


ฉากท้องเรือ่ ง
เรือ่ งมัทนะพาธานัน้ เกิดขึน้ บนสวรรค์ ทัง้ มัทนาและสุเทษณ์เป็ นเทพ ซึง่ เทพนัน้ อาศัย อยุ่
บนสวรรค์ นอกจากนี้ยงั สังเกตได้จากการทีส่ เุ ทษณ์จะสาปให้มทั นามายังโลกมนุษย์ อีกด้วย
บทเจรจาหรือราพึงราพัน
เป็ นบทตอนทีส่ เุ ทษณ์พดู กับมัทนาและขอให้มทั นารับรักของตน พร้อมกับถามคาถาม
ซึง่ มัทนาก็ไม่ปฏิเสธเนื่องจากถูกมนตร์สะกด

สุเทษณ์ “หากพีจ่ ะกอดวธุและจุม- พิตะเจ้าจะว่าไร?”


มัทนา “ข้าบาทจะขัดฤก็มไิ ด้ ผิพระองค์จะทรงปอง.”
สุเทษณ์ “ว่าแต่จะเต็มฤดิฤหาก ดนุ กอดและจูบน้อง?”
มัทนา “เต็มใจมิเต็มดนุ กต
็ อ้ ง ประติบตั ิ ์ระเบียบดี.”
แก่นเรือ่ ง
เรือ่ งมัทนะพาธานัน้ แสดงให้เห็นว่าความรักสามารถทาให้เกิดความทุกข์ได้ แสดงให้เห็นว่า
ความรักนัน้ มีอานุภาพมาก ผูใ้ ดมีความรักมักจะมีความหลงตามมาด้วย และในบางครัง้ ความ
หลงก็นาไปสูค่ วามสูญเสียได้
การใช้ภาษาในมัทนะพาธา
1. การสรรคา
2. การเรียบเรียงคา
3. โวหาร
การสรรคา
- ่
การสรรคา คือ การเลือกใช ้คาให ้สือความคิ
ด ความเข ้าใจ ความรู ้สึก และอารมณ์ได ้อย่างงดงาม โดยคานึ งถึงความงามด ้าน
เสียง โวหาร และรูปแบบคาประพันธ ์

- บทละครพูดคาฉันท ์เรืองมั่ ทนะพาธา ด ้วยคาประพันธ ์ประเภทฉันท ์และกาพย ์ บางตอนใช ้กาพย ์ยานี ใช ้ร ้อยแก ้วในการดาเนิ น

เรืองรวดเร็ ่ ้องการจังหวะเสียงหรือเน้นอารมณ์ เช่น
ว ใช ้ฉันท ์เมือต

ฟังถ ้อยคาดารัสมะธุระวอน ้ เอออวย.


ดนุ นีผิ
จักเป็ นมุสาวะจะนะด ้วย บมิตรกะความ
จริง.
วันชายประกาศวะระประทาน ประดิพท
ั ธะแด่
หญิง,
หญิงควรจะเปรมกะละมะย่งิ ผิวะจิตตะตอบรัก;
การสรรคา
- รูจ้ กั ใช้คาให้เหมาะสมเพือ่ ให้เกิดความไพเราะด้านเสียง โดยการใช้ ครุ-ลหุ ซึง่ หมายถึงการเล่นเสียง
หนักเบา เช่น

ดูกอ
่ นสุชาตา มะทะนาวิไลศรี
ยามองค ์สุเทษณ์มี วรพจน์ประการใด
นางจงทานู ลตอบ มะธุรสธตรัสไซร ้
เข ้าใจมิเข ้าใจ ฤก็ตอบพะจีพลัน

- ่ ม้ ก
เป็ นคาประพันธ ์ประเภท อินทรวิเชียรฉันท ์ ๑๑ ซึงได ่ นสีดา คือครุ หรือคา
ี ารนาคาครุ ลหุมาใช ้ โดยคาทีเป็
่ นตัวอักษรสีน้าเงืน คือคาลหุ หรือคาเสียงเบา
เสียงหนัก ส่วนคาทีเป็
การสรรคา
- เลือกคาโดยคานึ งถึงคาพ้องเสียงและคาซา้
่ าคาพ้องเสียงมาเรียบเรียงหรือร ้อยกรองเข ้าด ้วยกัน จะทาให้เกิดเสียงไพเราะ เพิมความพิ
- เมือน ่ ศวง น่ า

ฟัง หากใช ้ในบทพรรณนาหรือบทคราครวญยิ ่ าให้สะเทือนอารมณ์ เช่น
งท

สุเทษณ์ ่ งพะจีศรี
ยิงฟั ก็ระตีประมวญประมูล,
่ ดก็ยงพู
ยิงขั ิ่ น
ทุขะท่วมระทมหะทัย!

และ

สุเทษณ์ ่ ระระทด
ความรักละเหียอุ เพราะมิอาจจะคลอเคลีย.
มัทนา ความรักละทดอุระละเหีย่ ฤ จะหายเพราะเคลียคลอ?
สุเทษณ์ โอ ้โอ๋กระไรนะมะทะนา บ มิตอบจะจีพอ?
มัทนา โอ ้โอ๋กระไรอะมระง้อ มะทะนามิพอดี!
การเรียบเรียงคา
่ าคัญไว ้ท ้ายสุด เช่น
เรียงข ้อความทีส
สุเทษณ์ ด ้วยอานาจอิทธิฤทธี์ อันประมวลมี ณ ตัวกูผูแ้ รง
หาญ,
กูสาปมัทนานงคราญ ให ้จุตผ
ิ ่าน
ไปจากสุราลัยเลิศ,
สู่แดนมนุ ษย ์และเกิด เป็ นมาลีเลิศ
อันเรียกว่ากุพชะกะ,
ให ้เป็ นเช่นนั้นกว่าจะ รู ้สึกอุระ
ระอุเพราะรักรึงเข็ญ.
่ งวันเพ็ญ
ทุกเดือนเมือถึ ้ น
ให ้นางนี เป็
มนุ ษย ์อยู่กาหนดมี
เพียงหนึ่ งทิวาราตรี แต่หากนางมี

ความรักบุรุษเมือใด,
่ ้นแหละให ้ทรามวัย
เมือนั คงรูปอยู๋ไซร ้ บ คืนกลับเป็ น
บุปผา,
หากรักชายแล ้วมัทนา บ มีสุขา
การเรียบเรียงคา
- ้
เรียงประโยคให้เนื อหาเข ้
้มข ้นขึนไปตามล ้ ดท้ายซึงส
าดับ จนถึงขันสุ ่ าคัญทีสุ
่ ด เช่น
นางมทะนา จุตอ
ิ ย่านาน
จงมะละฐาน สุระแมนสวรรค ์,
ไปเถอะกาเนิ ด ณ หิมาวัน
่ั
ดังดนุ ลน วจิสาปไว ้!

- เรียงถอ้ ยคาให้เป็ นประโยคคาถามเชิงวาทศิลป์ แต่ไม่ได ้ต้องการคาตอบจริงๆ เช่น

สุเทษณ์ รักจริงมิจริง ฤ ก็ไฉน อรไท บ่ แจ ้ง


การ?
มัทนา รักจริงมิจริงก็สรุ ะชาญ ชยะโปรด
สถานใด?
การใช้โวหาร
- ่ ่ งเหมือนกับอีกสิงหนึ
อุปมา หรือ การเปรียบเทียบว่าสิงหนึ ่ ่ ง โดยมีคาแสดงความหมายว่า “เหมือน”ปรากฏอยู่
ดว้ ย เช่น เหมือน เสมือน ดุจ ประดุจ ดัง เพียง คล ้าย ตัวอย่างเช่น

สุเทษณ์ แน่ ะมายาวิน เหตุใดยุพน ่ นเช่นนี ?้


ิ จึงเป็
ดูราวมะเมอ เผลอเผลอฤดี ประดุจไม่มี ชีวต
ิ จิตใจ,
คราใดเราถาม หล่อนก็ย ้อนความ
เหมือนเช่นถามไป,

ดังนี จะยวน ชวนเชยฉันใด ก็เปรียบเหมือนไป
พูดกับหุ่นยนต.์

จากบทประพันธ ์ข ้างตน้ เป็ นการเปรียบเทียบว่านางมัทนาพูดจาตอบโต ้สุเทษณ์ราวกับหุ่นยนต ์


การใช้โวหาร
สุเทษณ์ อ ้ามัทนาโฉมฉาย เฉิ ดช่วงดังสาย
วิชชุประโชติพร
ไหนไหนก็เจ ้าสายสมร มาแล ้วจะร ้อน
จะรนและรีบไปไหน?

่ ย้ กมานี ้ เป็ นการเปรียบเทียบความงามของนางมัทนาว่าโชติชว่ งสว่างไสวดั่ง แสงของสายฟ้ าใน


ตัวอย่างทีได
ท้องฟ้ า

มายาวิน ไม้เรียกผะกากุพ-ฺ ชะกะสีอรุณแสง


ปานแก ้มแฉล ้มแดง
ดรุณีณยามอาย;
ดอกใหญ้และเกสร
สุวคนธะมากมาย,
อยู่ทนบวางวาย
คุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
1. คุณค่าด้านอารมณ์
2. คุณค้าด้านคุณธรรม
3. คุณค้าด้านวรรณศิลป์
คุณค่าทางอารมณ์
- ทำให้ผู้อ่ำนสื่อถึงและเข้ำใจอำรมณ์ของตัวละคนที่กำลังพูดอยู่และคล้อยตำมคนพูด เช่น ตัวอย่ำงในตอนที่สุเทษน์คลำยมนตร์ให้มัทนำ มัทนำจึงโอด
ครวญว่ำทำไมสุเทษน์จึงทำเช่นนี้

สุเทษณ์ “อ้ำมัทนำโฉมฉำย เฉิดช่วงดังสำย วิชชุประโชติอัมพร


ไหนไหนก็เจ้ำสำยสมร มำแล้วจะร้อน จะรนและรีบไปไหน?”
มัทนำ “เทวะ, อันข้ำนี้ไซร้ มำนี่อย่ำงไร บทรำบสำนึกสักนิด;
จำได้ว่ำข้ำสถิต ในสวนมำลิศ และลมรำเพยเชยใจ,
แต่อยู่ดีดีทันใด บังเกิดร้อนใน อุระประหนึ่งไฟผลำญ,
ร้อนจนสุดที่ทนทำน แรงไฟในรำน ก็ล้มลงสิ้นสมฤดี.
ฉันใดมำได้แห่งนี้? หรือว่ำได้มี ผู้ใดไปอุ้มข้ำมำ?
ขอพระองค์จงเมตตำ และงดโทษข้ำ ผู้บุกรุกถึงลำนใน.”
สุเทษณ์ “อ้ำอรเอกองค์อุไร พี่จะบอกให้ เจ้ำทรำบคดีดังจินต์;
พี่เองใช้มำยำวิน ให้เชิญยุพิน มำที่นี้ด้วยอำถรรพณ์”
มัทนำ “เหตุใดพระองค์ทรงธรรม์ จึ่งทำเช่นนั้น ให้ข้ำพระบำทต้องอำย
แก่หมู่ชำวฟ้ำทั้งหลำย? โอ้พระฦสำย พระองค์จงทรงปรำนี.”
คุณค่าด้านคุณธรรม
ในบทละคนคาฉันท์เรื่องมัทนะพาธา มีการสะท้อนสังคมเรื่อง “ทีใ่ ดมีรกั ทีน่ นมี
ั ่ ทุกข์” และ “ความรักทา
ให้คนตาบอด” ซึง่ เป็ นการชีใ้ ห้เห็นโทษของความรัก เวลาเรามีความรัก ความสามารถในการมองอะไรรอบๆ
จะค่อยๆ เสียไป ในบทละครพูดคาฉันท์น้ี สุเทศณ์รกั นางมัทนา แต่พอไม่สมหวัง สุเทศณ์กเ็ ป็ นทุกข์ สุเทศณ์
พร้อมทีจ่ ะทาลายหลังจากสุเทศณ์ไม่สมหวัง

บทละครนี้ยงั มีคุณค่าด้านคุณธรรมเรื่อง ผูห้ ญิงควรจะระวังตัวจากผูช้ ายให้ดี การสาปให้มทั นา


เป็ นดอกกุหลาบนัน้ สือ้ ถึงความสวยงามของดอกกุหลาบ แต่หนามของดอกกุหลาบสือ่ ถึงสติปัญญา หนาม
ของดอกกุหลาบจึงเป็ นเกราะป้ องกันจากคนทีจ่ ะเด็ดดอกกุหลาบออกไป ถ้าผูห้ ญิงมีความเฉลียวฉลาดรูท้ นั
ก็จะรอดจากผูช้ ายทีห่ มิน่ ศักดิ ์ศรีได้
คุณค่าด้านอืน่ ๆ - วรรณศิลป์
ในบทละครพูดคาฉันท์เรื่องมัทนะพาธานัน้ ไม่ได้ประกอบด้วยคาฉันท์อย่างเดียว แต่ประกอบด้วย
กาพย์ยานี กาพย์ฉบัง กาพย์สรุ างคนางค์ และบทเจรจาร้อยแก้วด้วย และเวลาใช้แล้วแต่สถานการณ์ โดย
ร้อยแก้วจะถูกใช้เวลาต้องการจะดาเนินเรื่องอย่างรวดเร็ว กาพย์จะถูกใช้เวลาต้องการจังหวะเสียงและคา
คล้องจอง และฉันท์จะถูกใช้ในเวลาทีผ่ เู้ ขียนต้องการจะเน้นอารมณ์

You might also like