You are on page 1of 28

การอ่านและพิจารณา

วรรณคดีและวรรณกรรม

ขัตติยพันธกรณี
01
การอ่านและพิจารณา

เนื้ อหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม


1.1 เนื้ อหา

มีการรุ กรานจากฝรัง
่ เศษ ร. 5 ป่วยหนั กไม่เป็นอันทํางาน

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ หยุดเสวยโอสถ และเขียน


กรมพระยาดํารงราชานุภาพ บทพระราชนิ พนธ์บรรยาย
เขียนให้กําลังใจ ความทุกข์และลา
1.2 โครงเรื่องหลัก

โครงเรือ
่ งหลักของ ขัตติพันธกรณี คือ ความลําบาก

พระทัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรง

ประชวรหนั กทําให้เป็นภาระของเหล่าผูด
้ ูแลและไม่เป็นอัน

ทรงงาน จนคิดอยากจะจากไป แต่เพราะหน้ าที่ของกษั ตริย์

จึงจําต้องอดทน
1.2 โครงเรื่องรอง

การให้กําลังใจของสมเด็จ

01
ความขัดแย้งระหว่าง 02 พระเจ้าบรมวงศ์ เธอ
ประเทศไทยและฝรัง
่ เศส
กรมพระยาดํารงราชานุภาพ

การไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคของ
03 รัชกาลที่ 5
1.3 ตัวละคร

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

- กษัตริย์รช
ั กาลที่ 5
- ประชวรหนั กในช่วงที่มีการรุ กรานจากฝรัง
่ เศส
- กังวลที่ไม่อาจทรงงานได้
- เขียนบทพระราชนิ พนธ์เพื่อลาลา
1.3 ตัวละคร

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยา


ดํารงราชานุภาพ

- ได้อ่านบทพระราชนิ พนธ์ของร. 5
- เขียนบทพระนิ พนธ์อินทรวิเชียรฉั นทร์
- ให้กําลังใจและอาสาที่จะรับใช้ด้วยความภักดีต่อร. 5
1.4 ฉากท้องเรื่อง

กรุ งรัตนโกสิ นทร์


ในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112

ลัทธิจักรวรรดินิยม
ความขัดเเย้งระหว่างไทยเเละฝรัง
่ เศส
1.5 บทเจรจารําพึงรําพัน

“ เจ็บนานนึ กหน่ ายนิ ตย์ มะนะเรือ


่ งบํารุ งกาย
ส่ วนจิต บ มีสบาย ศิ ระกลุ้มฤทัยพึง
แม้หายพลันยาก จะลําบากฤทัยพึง
ตริแต่จะถูกรึง อุระรัดและอัตรา
กลัวเป็นทวิราช บ ตริป้องอยุธยา
เสี ยเมืองจึงนิ นทา บ ละเว้น ฤ ว่างวาย”

เราสามารถตีความได้จากร้อยกรองโดยไม่จําเป็นต้องรู จ
้ ักตัวผู้ประพันธ์เลยว่า
ตัวละครนั้ น ป่วยด้วยโรคภัย รวมถึงผู้ประพันธ์มีภาระหน้ าที่อันยิ่งใหญ่ที่รบ
ั ผิดชอบ
และเขาได้เผชิญกับปัญหาที่ผู้ประพันธ์เองกังวลว่าจะไม่สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้
1.5 บทเจรจารําพึงรําพัน

“ ประสาแต่อยู่ใกล้ ทัง
้ รู ใ้ ช่ว่าหนั กหนา
เลือดเนื้ อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย”

ตัวละครมีความจงรักภักดีต่อผู้ท่ส
ี ่ งถึงอย่างมาก รวมถึงแสดงฐานะที่ตนเองนั้ นเป็น
คนใกล้ชด
ิ และรู ถ
้ ึงความป่วย และความกังวลของของผู้ท่ส
ี ่ งถึง และพร้อมที่จะสละเลือดเนื้ อ
แทนหากชีวิตของตัวละครนี้ สามารถช่วยบรรเทาอาการป่วยของผู้ท่ส
ี นทนาด้วยได้
1.6 แก่นเรื่อง

อาการพระ- ประสงค์ท่จ
ี ะไปสู่
ประชวร ภพเบื้องหน้ า

ภาระหน้ าที่ ความกังวล


1.6 แก่นเรื่อง

แสดงความ
ถวายกําลังพระทัย
จงรักภักดี

“เราไม่ควรเพิกเฉยต่ออุปสรรค
ไม่ว่ามันจะรับมือยากเพียงใด”
02 การอ่านและพิจารณา

การใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.1 การสรรคํา
เลือกใช้คําให้ เหมาะสมกับเรื่องเเละฐานะของบุคคลในเรื่อง

“ ด้วยเดชะบุญญา- ภินิหาระเเห่งคํา
สั ตย์ข้าจึงได้สัม- ฤทธิดังมโนหมาย
ขอจงวราพาธ บรมนาถเร่งเคลื่อนคลาย
พระจิตพระวรกาย จงผ่องพ้นที่หม่นหมอง
ขอจงสํ าเร็จรา- ชะประสงค์ท่ท
ี รงปอง
ปกข้าฝ่าละออง พระบาทให้สามัคคี”

คําศั พท์ ความหมาย


วราพาธ พระอาการเจ็บป่วย

มโน ใจ

ฝ่าละออง ย่อมาจากฝ่าละอองธุ ลีพระบาท หมายความว่า ท่าน


ใช้กับพระมหากษัตริย์หรือพระราชินีเท่านั้ น
การเลือกใช้คําเหมาะสมเเก่ลักษณะคําประพันธ์

จากบทประพันธ์ข้างต้นผูเ้ เต่งได้มีการใช้คําว่า
“บริรก
ั ษ์”ที่แปลว่าดูเเลรักษาเพื่อให้เข้ากับความ
“ เจ็บนานนั กอกผู้ บริรักษ์ ปวงเฮย
หมายเเละฉั นทลักษณ์ ของบทกลอน โดยทัว
่ ไปคนส่ วน
คิดใคร่ลาลาญหัก ปลดเปลื้อง”
ใหญ่มักใช้คําว่าดูเเลมากกว่าการใช้คําว่าบริรก
ั ษ์ ดังนั้ น
คํานี้ จึงเหมาะเเก่การใช้ในคําประพันธ์
เเละ

นอกจากนี้ ผูเ้ เต่งมีการเลือกใช้คําว่า “เเรงระดม”


เพื่อเเสดงให้เห็นถึงเเรงศรัทธาของประชาชนชาวสยาม “ ชาวเรือก็ย่อมรู ้ ฉะนี้ อยู่ทุกใจ
(ไทย)ที่มีต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เต่ลอยอยู่ตราบใด ต้องจําเเก้ด้วยเเรงระดม”
คําที่เล่นเสี ยงสั มผัส

“ ขอเหตุทข
่ี ุ่ นขั ด จะวิบัติพระขันตี
จงคลายเหมือนหลายปี ละลืมเลิกละลายสูญ”

จากบทประพันธ์ข้างต้นผูเ้ เต่งมีการเล่นเสี ยงสั มผัสพยัญชนะ ล.ลิง รวมไปถึง


มีการใช้คําที่เล่นเสี ยงสั มผัสในอีกด้วย ได้เเก่ ขุ่น-ขัด คลาย-หมาย เเละ ละลืมเลิก
ละลาย
คําที่เล่นเสี ยงหนั กเบา

“ ประสาแต่อยู่ใกล้ ทัง
้ รู ใ้ ช่ว่าหนั กหนา

เลือดเนื้ อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย”

บทพระราชนิ พนธ์ขัตติยพันธกรณี เป็นการเเต่งเเบบอินทรวิเชียรฉั นท์


ดังนั้ นจึงไม่มีความเคร่งครัดในเรือ
่ งของคําครุ เเละลหุ เเต่ใช้ตามการออกเสี ยง
หนั กเบาของภาษาพูดในภาษาไทยตามธรรมชาติเช่นเดียวกับที่กวีโบราณปฏิบัติมา
โดยมีการทอดเสี ยง เน้ นเสี ยงหนั ก เเละผ่อนเสี ยงเบาในบางคํา ดังตัวอย่างข้างต้น
คําพ้องเเละคําซา

“ เป็นเด็กมีสุขคล้าย ดีรฉาน

รู ส
้ ุขรู ท
้ ก
ุ ข์หาญ ขลาดด้วย

ละอย่างละอย่างพาล หย่อนเพราะ เผลอแฮ

คล้ายกับผูจ
้ วนม้วย ชีพสิ้ นสติสูญ”

บทพระราชนิ พนธ์ขัตติยพันธกรณี มีการใช้ซาคําหรือการใช้คําเดียวกันในความ


หมายเดียวกันหลายแห่งในบทประพันธ์หนึ่ งบทเพื่อยาความหมายหรือความสํ าคัญใน
บทประพันธ์ให้หนั กเเน่ นยิ่งขึ้น เช่น “ละอย่างละอย่างพาล”
2.2 การเรียบเรียงคํา
2.2 การเรียบเรียงคํา

การเรียบเรียงประโยคให้เนื้ อหาเข้มข้นขึ้นไป
ตา
มลําดับแต่คลายความเข้มข้นลงในช่วงหรือประโ
ยคสุดท้ายอย่างฉั บพลัน

ลิลิต
อินทรวิเชียรฉั นท์ การเรียงข้ อความที่บรรจุ
และโคลงสี่ สุภาพ สารสํ าคัญไว้ท้ายสุด
เรียบเรียงประโยคให้เนื้ อหาเข้มข้นขึ้นไป
ตามลําดับจนถึงขัน
้ สุดท้ายที่สําคัญที่สุด

บทพระนิ พนธ์และ
พระนิ พนธ์
เรียงข้ อความที่บรรจุสารสํ าคัญไว้ท้ายสุด

“ ผิวพอกําลังเรือ ก็แล่นรอดไม่รา้ วราน


หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลําไป
ชาวเรือก็ย่อมรู ้ ฉะนี้ อยู่ทุกจิตต์ใจ
แต่ลอยอยู่ตราบใด ต้องจําแก้ด้วยแรงระดม”

จะเห็นได้ว่า ได้มีการเกริน
่ นํ าถึงเรือที่กําลังแล่น แล้วจึงต่อว่าหากถึงคราวล่มก็ต้อง
เป็นไปตามกรรม เช่นเดียวกับทุกสรรพสิ่ งที่ ต้องเป็นไปตามกรรม จากนั้ นจึงค่อยอธิบาย
ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นแล้วนั้ นจะต้องช่วยกันแก้ไข
เรียบเรียงประโยคให้ เนื้ อหาเข้ มข้ นขึ้ นไปตามลําดับจนถึงขั้ นสุดท้ายที่สําคัญที่สุด

“ เจ็บนานหนั กอกผูบ
้ ริรก
ั ษ์ บริรก
ั ษ์ ปวงเฮย
คิดใคร่ลาลาญหัก ปลดเปลื้อง
ความเหนื่ อยแห่งสูจัก พลันสร่าง
ตูจักสู่ภพเบื้อง หน้ านั้ นพลันเขษม”

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิ พนธ์ว่าพระองค์ทรงพระ
ประชวรมานานเป็นที่หนั กใจแก่ผู้ดูแลรักษา จึงมีพระราชดําริท่จ
ี ะเสด็จสวรรคตเพื่อ
ปลดเปลื้องภาระของตน
2.3 การใช้โวหาร
2.3 การใช้โวหาร

อุปลักษณ์ อุปมา
เปรียบภาระหน้ าที่เป็นดัง
่ ตะปูตรึง
พระบาทของพระองค์ไว้ เปรียบการที่กษัตริย์ไม่สามารถรักษา
ปกป้องบ้านเมืองไว้ได้เป็นดัง
่ “ทวิราช”

โวหาร
นามนั ย เปรียบพายุในมหาสมุทรเป็นดัง

อุปสรรคและเปรียบคนไทย ทุก
เปรียบผิวของพระลักษณ์ ที่เป็นสี
เหลืองกับความเหลือง ของกล้วยเผา
คน เสมือนลูกเรือของสยาม
03
การอ่านและพิจารณา

ประโยชน์ หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
3. คุณค่าด้านต่างๆ

คุณค่าด้านอารมณ์ คุณค่าด้านปัญญา คุณค่าด้านคุณธรรม


ซาบซึง
้ ในบุญคุณของ วิธก
ี ารเอาตัวรอด ความรับผิดชอบที่พระมหา-
บรรพบุรุษไทย ปัญหาต่างๆของราชวงศ์ กษัตริย์พึงปฏิบัติเกี่ยวกับ
สะเทือนใจเเละเศร้าหมอง ประชาชนทัว่ ไปต้องดูแลตัวเอง ความเป็นอยู่ของประชาชน

คุณค่าด้าน คุณค่าด้าน คุณค่าด้าน


ประวัตศ
ิ าสตร์ จินตนาการ การใช้ภาษา
เปรียบเทียบประเทศเป็นเรือ มีการใช้ฉันทลักษณ์
สะท้อนเรือ
่ งภาระหน้ าที่และ
พระมหากษัตริย์เป็นกัปตันของ
ความกังวลใจของพระองค์ มีการใช้ภาพพจน์ ต่างๆ
ส่ วนประชาชนเป็นลูกเรือ
สมาชิก

1. ชญานั นท์ อนุเอกจิตร เลขที่ 03


2. รมิดา เมฆภานุวัฒน์ เลขที่ 12
3. วีรส
์ ุดา พิศิฏฐศั กดิ์ เลขที่ 16
4. ชาลิสา ปิ่ นวิถี เลขที่ 17
ห้อง 1101

You might also like