You are on page 1of 11

นายธราเทพ เหล็กจาน เลขที่ ๑ ม.

๕/๘

ความงามภาษา
ภาษา หมายถึง การพูด การแสดงออกเพื่อสื่ อความหมายอย่างเป็ นระบบ ระหว่างผูร้ ับสารและผู้
ส่ งสาร ภาษาใช้เสี ยงสื่ อความหมายเป็ นสำคัญ ดังนั้น ทุกชนชาติจึงมีภาษา นัน่ คือภาษาพูด ตัว
อักษรไม่ใช่ภาษา แต่เป็ นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสี ยงในภาษา

ความสัมพันธ์ระหว่างเสี ยงกับความหมาย
เสี ยงจะมีความหมายอย่างไร ขึ้นกับการตกลงกันของคนแต่ละกลุ่ม แต่ละพวก นัน่ คือ ถ้าเสี ยง
กับความหมายมีความสัมพันธ์กนั อย่างใกล้ชิดจริ ง ๆ แล้ว ทุก ๆ ชนชาติจะใช้ค ำตรงกัน และใน
โลกจะมีเพียงภาษาเดียวเท่านั้น
คำที่พอจะมีความสัมพันธ์ระหว่างเสี ยงกับความหมายคือ "คำเลียนเสี ยงธรรมชาติ" ซึ่งมีอยูน่ อ้ ย
นิดในแต่ละภาษา เช่น คนไทย เรี ยกนกชนิดหนึ่งว่า กา คนอินเดียเรี ยก กาก ดังนั้น จึงกล่าวได้วา่
ภาษาเป็ นไปตามกำหนดของแต่ละชนกลุ่ม

กำเนิดภาษา
ภาษาไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่มนุษย์เป็ นผูส้ ร้างขึ้นมา โดยการกำหนดกันเองว่า แต่ละ
คำให้มีความหมายอย่างไร ดังนั้น ภาษาในโลกนี้ จึงมีมากหมายหลายร้อยภาษา

การพัฒนาของภาษา
เมื่อภาษาเกิดขึ ้นมาแล้ ว ภาษามักจะสะท้ อนความเจริ ญของมนุษย์ผ้ สู ร้ างสรรค์ เช่น ภาษาไทย
เป็ นภาษาที่แสดงให้ เห็นถึงคนไทยที่เจริ ญทางด้ านศิลปวัฒนธรรม ตังแต่
้ โบราณ ภาษาไทยจึงมี
ศัพท์เฉพาะที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม แต่ศพั ท์ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีไม่คอ่ ยมี จึง
ต้ องทับศัพท์ หรื อคิดค้ นคำใหม่ในภายหลัง

การเปลี่ยนแปลงภาษา
ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ทังทางด้
้ านเสียง และความหมาย บางคำอาจกลายเป็ นเป็ นคำ
สูญหาย ไม่มีใครใช้ ทังนี
้ ้อาจมีสาเหตุจาก
๑. การพูดในชีวิตประจำวัน ทังการกร่
้ อนเสียง เช่น หมากขาม เป็ น มะขาม สาวใภ้ เป็ น สะใภ้
หรื อการกลมกลืนเสียง เช่น อย่างไร เป็ น ยังไง อย่างนัน้ เป็ น อย่างงัน้

๒. อิทธิพลจากภาษาอื่น
-ในสมัยก่อน ไทยรับภาษาบาลี สันสกฤต และคำเขมรมาใช้ แต่ในปั จจุบนั ไทยรับเอาคำตะวัน
ตกมาใช้ เช่นคำว่า เกียร์ เมตร ไมล์ สังเกตว่า เรารับแต่คำศัพท์มา มิได้ รับไวยากรณ์มาด้ วย
เช่น เราใช้ คำว่า เขาสูงห้ าฟุต มิใช่ เขาสูงห้ าฟิ ต
-การใช้ สำนวนภาษาต่างประเทศ เช่น มันเป็ นการดีที่จะบอกว่า หรื อ เขาถูกตี
-การใช้ จำนวนนับอยูข่ ้ างหน้ าคำนาม โดยไม่ใช่ลกั ษณนาม เช่น ๓ โจร ปล้ น ๕ เหรี ยญทอง
ต้ องแก้ เป็ น โจร ๓ คน ปล้ นเหรี ยญทอง ๕ เหรี ยญ
-การเรี ยงลำดับคำ เช่น ทุกสภาพถนน ต้ องแก้ เป็ น ถนนทุกสภาพ
-การเรี ยงลำดับประโยค เช่น ไทยส่งออกข้ าวปี ละมาก ๆ ต้ องแก้ เป็ น ไทยส่งข้ าวออกปี ละมาก ๆ
-การใช้ คำว่า ซึง่ เช่น อย่าฆ่าซึง่ สัตว์ อย่าตัดซึง่ ชีวิตมนุษย์ ควรแก้ เป็ น อย่าฆ่าสัตว์ อย่างตัด
ชีวิตมนุษย์

๓. ความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้ อม เมื่อสิ่งแวดล้ อมมีการเปลี่ยนแปลง ก็มีการเรียกสิ่งใหม่


เช่น จานดาวเทียม โทรศัพท์มือถือ

๔. การเรียนภาษาของเด็ก เมื่อเด็กเริ่มเรียนภาษา อวัยวะต่าง ๆ ยังทำงานไม่เต็มที่ เด็ก ๆ จะ


ออกเสียงเพี ้ยนไปจากผู้ใหญ่ บางทีต้องสร้ างคำง่าย ๆ เพื่อให้ เด็กออกเสียงกัน เช่น หม่ำ แทน
คำว่า กิน สมองของเด็กอาจยังไม่พฒ ั นาเต็มที่ มักอาจผูกประโยคแบบแปลก ๆ ถ้ าหากเด็กไม่
ได้ รับการแก้ ไขหรื อผู้ใหญ่เห็นว่าน่ารัก อาจนำมาใช้ ตาม ก็อาจก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
ภาษาได้
ประโยชน์ ของภาษา
๑. ภาษาช่วยธำรงสังคม มนุษย์ใช้ ภาษาทักทายปราศัย สร้ างมิตรไมตรี ทำให้ สงั คมอยูร่ ่วมกัน
อย่างมีความสุข

๒. ภาษาช่วยแสดงเอกัตภาพของบุคคล ภาษาเป็ นส่วนหนึง่ ในการแสดงความคิดเห็น รสนิยม


สติปัญญา ลักษณะเฉพาะของบุคคล

๓. ภาษาช่วยพัฒนามนุษย์ ภาษาทำให้ มนุษย์สามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ความ


คิดที่สงั่ สมมาไปยังรุ่นต่อไป ให้ ขยายกว้ างไปทัว่ เพื่อเป็ นฐานในการสร้ างเสริ ม ให้ เกิดการ
พัฒนามากขึ ้น

๔. ภาษากำหนดอนาคต มนุษย์สามารถกำหนดอนาคตด้ วยการใช้ ภาษา เช่น การวางแผน


การร่างโครงการ การทำนาย การทำสัญญา การพิพากษา การอ้ อนวอน การขอร้ อง

๕. ภาษาทำให้ เกิดความชื่นบาน ภาษาทำให้ เกิดความไพเราะ ความหมายลึกซึ ้ง คารม


คมคาย ถ้ อยคำชวนขัน การเล่นเกมทางภาษา อย่างไรก็ตาม การเล่นสนุกกับภาษา ต้ องอยูใ่ น
รสนิยมที่ดีงาม ไม่เล่นคำผวนที่หยาบคาย เป็ นต้ น

อิทธิพลของภาษาที่มีตอ่ มนุษย์
-มนุษย์เข้ าใจไปว่า คำต่าง ๆ ในภาษากับสิ่งที่คำนันใช้
้ แทนคือสิ่งเดียวกัน บางคนเชื่อในอำนาจ
ของคำ เช่น ถ้ าท่องคาถาหัวใจหมี จะทำให้ ไม่ถกู ผึ ้งต่อย เป็ นต้ น
-คนไทยบางคน เชื่อในความเป็ นมงคลของพืชบางชนิด ที่พ้องกับสิ่งที่เป็ นมงคล เช่น ใบเงิน
ใบทอง มักนำพืชดังกล่าว มาใช้ ในงานมงคล
-คำบางคำ แฝงความหมายไปทางบวก หรื อคุณสมบัติอนั เป็ นที่ชอบใจ และบางคำ มีความ
หมายเป็ นลบ เช่น สิ ้นใจ พูดปด เหล่านี ้ ให้ ความรู้สกึ ที่ดีกว่า คำว่า ตาย โกหก เป็ นต้ น
โวหารภาพพจน์
 โวหาร คือ การใช้ ถ้อยคำอย่างมีชนเชิ
ั ้ ง เป็ นการแสดงข้ อความออกมาในทำนองต่าง ๆ เพื่อให้
ข้ อความได้ เนื ้อความดี มีความหมายแจ่มแจ้ ง เหมาะสมน่าฟั ง ในการเขียนเรื่ องราวอาจใช้
โวหารต่าง ๆ กัน แล้ วแต่ชนิดของข้ อความ (สมถวิล วิเศษสมบัติ.๒๕๔๔:๑๒๙)
โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนำเสนอสารโดยการพลิกแพลงภาษาที่ใช้ พดู หรื อเขียนให้ แปลก
ออกไปจากภาษาตามตัวอักษรทำให้ ผ้ อู า่ นเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สกึ
สะเทือนใจ เป็ นการเปรี ยบเทียบให้ เห็นภาพอย่างชัดเจน )
ประเภทของโวหารภาพพจน์
๑. อุปมาโวหาร
อุปมา คือ การเปรี ยบเทียบว่าสิ่งหนึง่ เหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้ คำเชื่อมที่มีความหมายเช่นเดียว
กับคำว่า " เหมือน " เช่น ดุจ ดัง่ ราว ราวกับ เปรี ยบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึง่ เพียง
เพี ้ยง พ่าง ปูน ถนัด ละหม้ าย เสมอ กล อย่าง ฯลฯ
๒. อุปลักษณ์
อุปลักษณ์ ก็คล้ ายกับอุปมาโวหารคือเป็ นการเปรี ยบเทียบเหมือนกัน แต่เป็ นการเปรี ยบเทียบสิ่ง
หนึง่ เป็ นอีกสิ่งหนึง่ การเปรี ยบเทียบสิ่งหนึ่งเป็ นอีกสิ่งหนึ่ง
๓. สัญลักษณ์
สัญลักษณ์ เป็ นการเรี ยกชื่อสิ่งๆหนึง่ โดยใช้ คำอื่นมาแทน ไม่เรี ยกตรง ๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมา
แทนจะเป็ นคำที่เกิดจากการเปรี ยบเทียบและตีความ ซึง่ ใช้ กนั มานานจนเป็ นที่เข้ าใจและรู้จกั
กันโดยทัว่ ไป ทังนี
้ ้อาจเป็ นเพราะผู้ประพันธ์ต้องการเปรี ยบเทียบเพื่อสร้ างภาพพจน์หรื อมิฉะนัน้
ก็อาจจะอยูใ่ นภาวะที่กล่าวโดยตรงไม่ได้ เพราะไม่สมควรจึงต้ องใช้ สญ ั ลักษณ์แทน
๔.บุคลาธิษฐาน
บุคลาธิษฐาน หรื อ บุคคลวัต บุคคลสมมติ คือการกล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด
ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ ะ เก้ าอี ้ อิฐ ปูน หรื อสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้ นไม้ สัตว์  โดยให้ สิ่งต่าง
ๆเหล่านี ้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สกึ ได้ เหมือนมนุษย์ ให้ มีคณ ุ ลักษณะต่าง ๆ เหมือนสิ่งมี
ชีวิต ( บุคลาธิษฐาน มาจากคำว่า บุคคล + อธิษฐานหมายถึง อธิษฐานให้ กลายเป็ น
บุคคล )
๕. อธิพจน์
อติพจน์ หรื อ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกินความจริ ง เพื่อสร้ างและเน้ นความรู้สกึ และอารมณ์
ทำให้ ผ้ ฟู ั งเกิดความรู้สกึ ที่ลกึ ซึ ้ง ภาพพจน์ชนิดนี ้นิยมใช้ กนั มากแม้ ในภาษาพูด เพราะเป็ นการ
กล่าวที่ทำให้ เห็นภาพได้ ง่ายและแสดงความรู้สกึ ของกวีได้ อย่างชัดเจน
๖. สัทพจน์
สัทพจน์ หมายถึง ภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียงลม
เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ การใช้ ภาพพจน์ประเภทนี ้จะทำให้ เหมือนได้ ยินเสียงนันจริ
้ งๆ
๗. นามนัย
นามนัย คือ การใช้ คำหรื อวลีซงึ่ บ่งลักษณะหรื อคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่งหนึง่
คล้ ายๆ สัญลักษณ์ แต่ตา่ งกันตรงที่ นามนัยนันจะดึ
้ งเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึง่ มากล่าว
ให้ หมายถึงส่วนทังหมด
้ หรื อใช้ ชื่อส่วนประกอบสำคัญของสิ่งนันแทนสิ
้ ่งนันทั
้ งหมด

๘. ปรพากย์
ปฏิพากย์ หรื อ ปรพากย์ คือการใช้ ถ้อยคำที่มีความหมายตรงกันข้ ามหรื อขัดแย้ งกันมากล่าว
อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้ มีน้ำหนักมากยิ่งขึ ้น

รสวรรณคดีไทย
รสแห่งกาพย์กลอนไทยมี ๔ รส ดังนี ้
๑. เสาวรจนีย์(บทชมโฉม) คือการเล่าชมความงามของตัวละครในเรื่ อง อาจเป็ นตัวละครที่เป็ น
มนุษย์ อมนุษย์ หรื อสัตว์ ซึง่ การชมนี ้อาจจะเป็ นการชมความเก่งกล้ าของกษัตริ ย์ ความงาม
ของปราสาทราชวังหรื อ ความเจริ ญรุ่ งเรื องของบ้ านเมือง เช่น บทชมโฉมนางมัทนา โดยท้ าวชัย
เสนรำพันไว้ ในวรรณคดีเรื่ อง มัทนะพาธา ว่า
เสียงเจ้ าสิเพรากว่า ดุริยางคะดีดใน
ฟากฟ้าสุราลัย สุรศัพทะเริ งรมย์
ยามเดินบ่เขินขัด กละนัจจะน่าชม
กรายกรก็เร้ ารม ยะประหนึง่ ระบำสรวย
ยามนัง่ ก็นงั่ เรี ยบ และระเบียบบ่เขินขวย
แขนอ่อนฤเปรี ยบด้ วย ธนุก่งกระชับไว้
พิศโฉมและฟั งเสียง ละก็เพียงจะขาดใจ
๒. นารี ปราโมทย์(บทเกี ้ยว โอ้ โลม) คือการกล่าวแสดงความรัก ทังการเกี
้ ้ยวพาราสีกนั ในระยะ
แรกๆ หรื อการพรรณนาบทโอ้ โลมปฏิโลมก่อนจะถึงบทสังวาสนันด้ ้ วย เช่น
ถึงม้ วยดินสิ ้นฟ้ามหาสมุทร ไม่สิ ้นสุดความรักสมัครสมาน
แม้ นเกิดในใต้ ฟ้าสุธาธาร ขอพบพานพิศวาสไม่คลาดคลา
แม้ นเนื ้อเย็นเป็ นห้ วงมหรรณพ พี่ขอพบศรี สวัสดิ์เป็ นมัจฉา
แม้ นเป็ นบัวตัวพี่เป็ นภุมรา เชยผกาโกสุมปทุมทอง
เจ้ าเป็ นถ้ าอำไพขอให้ พี เป็ นราชสีห์สมสูเ่ ป็ นคูสอง
จะติดตามทรามสงวนนวลละออง เป็ นคูค่ รองพิศวาสทุกชาติไป
๓. พิโรธวาทัง(บทตัดพ้ อ) คือการกล่าวข้ อความแสดงอารมณ์ไม่พอใจ ตังแต่
้ เรื่ องเล็กน้ อยไป
จนถึงเรื่ องใหญ่ ตังแต่
้ ไม่พอใจ โกรธ ตัดพ้ อ ประชดประชัน กระทบกระเทียบเปรี ยบเปรย
เสียดสี และด่าว่าอย่างรุนแรง เช่น
ครัง้ นี ้เสียรักก็ได้ ร้ ู ถึงเสียรู้ก็ได้ เชาวน์ที่เฉาฉงน
เป็ นชายหมิ่นชายต้ องอายคน จำจนจำจากอาลัยลาน
บทตัดพ้ อที่แสดงทังอารมณ์
้ รักและแค้ นของ อังคาร กัลยาณพงศ์ จากบทกวี “เสียเจ้ า”
จะเจ็บจำไปถึงปรโลก ฤๅรอยโศกรู้ร้างจางหาย
จะเกิดกี่ฟ้ามาตรมตาย อย่าหมายว่าจะให้ หวั ใจ
๔. สัลลาปั งคพิไสย (บทโศก) คือการกล่าวข้ อความแสดงอารมณ์โศกเศร้ า อาลัยรัก เช่น
สุนทรภู่ตร่ำครวญถึงรัชกาลที่ ๒ ซึง่ สวรรคต แล้ วเป็ นเหตุให้ สนุ ทรภู่ต้องตกระกำลำบาก เพราะ
ไม่เป็ นที่ โปรดปรานของรัชกาลที่ ๓ ต้ องระเห็จเตร็ดเตร่ไปอาศัยในที่ต่าง ๆ ขณะล่องเรื อผ่าน
พระราชวัง สุนทรภู่ซงึ่ รำลึกความหลังก็คร่ำครวญอาลัยถึงอดีตที่เคยรุ่งเรื อง
เคยหมอบใกล้ ได้ กลิ่นสุคนธ์ตลบ ละอองอบรสรื่ นชื่นนาสา
สิ ้นแผ่นดินสิ ้นรสสุคนธา วาสนาเราก็สิ ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ์
สันสกฤต
 ๑. ภาษาสันสกฤต เป็ นภาษาตระกูลวิภตั ติปัจจัย มีรูปคำสละสลวย ไพเราะ นิยมใช้ เป็ นคำ
ราชาศัพท์ ภาษาในวรรณคดี ชื่อบุคคล และสถานที่ ฯลฯ
๒. ข้ อสังเกตและตัวอย่างคำภาษาสันสกฤต นิยมใช้ ฑ เช่น กรีฑา จุฑา ครุฑ ไพฑูรย์ วิฑาร
ฯลฯ
 ๓. นิยมใช้ รร เช่น กรรณ ขรรค์ ครรภ์ ธรรม พรรษา บรรพต วรรค วรรณะ มหัศจรรย์ สรรพ
สวรรค์ สุวรรณ อัศจรรย์ ฯลฯ
๔. นิยมมีอกั ษรควบกล้ำ เช่น กษัตริย์ เกษตร ตรุษ บุตร ปราชญ์ ปรารถนา พฤกษ์ เนตร ไมตรี
ศาสตรา อาทิตย์ ฯลฯ
๕. ใช้ ศ ษ ประสมคำเป็ นส่วนมาก เช่น กษัย เกษม เกษียณ ทักษิณ ทัศนีย์ บุษกร
บุรุษ เพศ ภิกษุ มนุษย์ วิเศษ ศิลปะ ศิษย์ ศึกษา ศุกร์ ศูนย์ เศียร อักษร อัธยาศัย ฯลฯ
๖. ใช้ ส นำหน้ าพยัญชนะวรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) เช่น พัสดุ พิสดาร สตรี สถาน สถิต สถิติ
สถาปนา สนธยา สัตย์ สันโดษ อัสดง ฯลฯ
ประสมด้ วยสระ ไอ เอา ฤ ฤ ๅ ฦ ฦ ๅ เช่น ไศล ไศวะ ไวทย์ ไวษณพ ไวยากรณ์ ไวศฺย ไอราวัณ
ไอยรา เกาศัย เอารส ฤดี ฤทัย ฤทธิ์ ฤๅษี กฤษณา พฤติกรรม พฤษภาคม ทฤษฎี นฤมล มฤตยู
ฦๅชา ฦๅสาย ฯลฯ

๗. มีหลักเกณฑ์ตวั สะกด ตัวตามไม่แน่นอน กัลป์ การบูร กีรติ โกรธ จักร จันทรา ดัสกร ทรัพย์
นิตยา ประพันธ์ ประพฤติ พยายาม ลักษณะ วิทยุ มนตรี มัตสยา มัธยม ศัพท์ ศาสนา ศาสตรา
อาชญา อาตมา อาจารย์ อุทยาน ฯลฯ
ตัวอย่างคำบาลีสนั สกฤต
กัลบก มฤตยู กรรณ มนุษย์ กรรม มนัส กษัตริ ย์ มารุต กัลป์ มิตร การบูร มนตรี กีรติ ไมตรี โกรธ
มหัศจรรย์ กรีฑา ยักษา กษัย วรรค เกษี ยณ วรรณะ เกษี ยร วัสดุ เกษตร พรรษา ครรชิต
พยายาม ครรภ์ พฤศจิกายน จักร วิทยุ จักรวาล พิสดาร จันทรา วิเศษ จุฑา เพศ ดัสกร ศัพท์
ทรมาน ศาสนา ทรัพย์ ศาสตรา ทฤษฎี ศึกษา ทิศ ศิลปะ ทหาร ศิษย์ ทัศนีย์ ศุกร์ ทิพย์ ศูนย์
นักษัตร ศรี นมัสการ เศียร นาที สัตย์ นฤคหิต สันโดษ นิตยา สมปฤดี นิทรา สตรี นฤมล สวรรค์
เนตร สรรพ บุษบา สุวรรณ บรรพต สถาปนา บุษกร สดุดี บุรุษ สกล ประเทศ สกุล ประทีป
อักษร ประพันธ์ อาตมา ประพฤติ อัศจรรย์ ประเวณี อัธยาศัย ประมาท อารยะ ประโยค อวกาศ
ประถม อาจารย์ ภักษา อาทิตย์ ภิกษุ อุทยาน

โวหารการเขียน
โวหารในการเขียน โวหาร หมายถึง วิธีการเขียนเรี ยบเรี ยงข้ อความให้ สอดคล้ องกับเนื ้อเรื่ อง
โวหารที่ใช้ ใน การเขียนเรี ยงความ ได้ แก่ พรรณนาโวหาร บรรยายโวหาร อุปมาโวหาร เทศนา
โวหาร เทศนา โวหาร สาธกโวหารและอธิบายโวหาร
๑. พรรณนาโวหาร หมายถึง การเรียบเรียงข้ อความโดยให้ รายละเอียดเกี่ยวกับ บุคคล สิ่งของ
ธรรมชาติ สภาพแวดล้ อม ตลอดจนความรู้สกึ ต่าง ๆของผู้เขียน โดยเน้ น ให้ ผ้ อู า่ นเกิดอารมณ์
ความรู้สกึ ร่ วมกับผู้เขียน
ตัวอย่าง
“สมใจเป็ นสาวงามที่มีลำแขนขาวผ่องทังกลมเรี
้ ยวและอ่อนหยัด ผิวขาวละเอียดเช่นเดียวกับ
แขน ประกอบด้ วยหลังมืออวบนูน นิ ้วเล็กเรี ยว หลังเล็บมีสี ดังกลีบดอกบัวแรกแย้ ม”
๒. บรรยายโวหาร หมายถึง การเขียนอธิบายหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เป็ น ข้ อเท็จจริงตามล า
ดับเหตุการณ์ เป็ นการเขียนตรงไปตรงมา ไม่เยิ่นเย้ อ มุง่ ความชัดเจน เพื่อให้ ผ้ อู า่ นได้ รับความรู้
ความเข้ าใจ เช่น การเขียนเล่าเรื่ อง เล่าเหตุการณ์ การเขียน รายงาน เขียนตำราและเขียน
บทความ
ตัวอย่าง
“ช้ างยกขาหน้ าให้ ควาญเหยียบขึ ้นนัง่ บนคอ ตัวมันสูงใหญ่ ใบหูไหว พะเยิบ หญิงบนเรื อนลง
บันไดมาข้ างล่าง เธอชูแขนยื่นผ้ าขาวม้ าและข้ าวห่อใบตองขึ ้นมา ให้ เขา”
๓. อุปมาโวหาร หมายถึงการเขียนเป็ นสำนวนเปรียบเทียบที่มีความคล้ ายคลึงกัน เพื่อทำให้ ผ้ ู
อ่านเกิดความเข้ าใจลึกซึ ้งยิ่งขึ ้น โดยการเปรี ยบเทียบสิ่งของที่เหมือนกัน เปรี ยบเทียบโดยโยง
ความคิดไปสูอ่ ีกสิ่งหนึง่ หรื อเปรี ยบเทียบข้ อความตรงกันข้ ามหรื อ ข้ อความที่ขดั แย้ งกัน

ตัวอย่าง
“ อันว่าแก้ วกระจกรวมอยูก่ บั สุวรรณ ย่อมได้ แสงจับเป็ นเลื่อม พรายคล้ ายมรกต ผู้ที่โง่เขลาแม้
ได้ อยูใ่ กล้ นกั ปราชญ์ ก็อาจเป็ นคนเฉลียวฉลาดได้ ฉนั เดียวกัน”
๔. เทศนาโวหาร หมายถึง การเขียนอธิบาย ชี ้แจงให้ ผ้ อู า่ นเข้ าใจ ชี ้ให้ เห็น ประโยชน์หรือโทษ
ของเรื่ องที่กล่าวถึง เป็ นการชักจูงให้ ผ้ อู ื่นคล้ อยตาม เห็นด้ วยหรื อเพื่อ แนะนำสัง่ สอนปลุกใจ
หรื อเพื่อให้ ข้อคิดคติเตือนใจผู้อา่ น
ตัวอย่าง
“ การทำความดีนนั ้ เมื่อทำแล้ วก็แล้ วกัน อย่าได้ นำมาคิดถึงบ่อย ราวกับว่าการทำความดีนนั ้
ช่างยิ่งใหญ่นกั ใครก็ทำไม่ได้ เหมือนเรา ถ้ าคิดเช่นนันความดี
้ นันก็
้ จะเหลือเพียงครึ่งเดียวแต่ถ้า
ทำแล้ วก็ไม่น่านำมาใส่อีก คิดแต่จะทำอะไรต่อไปอีกจึง จะดี จึงจะเป็ นความดีทีสมบูรณ์ ไม่ตก
ไม่หล่น”
๕. สาธกโวหาร หมายถึง การหยิบตัวอย่างมาอ้ างอิงประกอบการอธิบายเพื่อ สนับสนุน
ข้ อความที่เขียนไว้ ให้ ผ้ อู า่ นเข้ าใจ และเกิดความเชื่อถือ
ตัวอย่าง
“ อำนาจความสัตย์เป็ นอำนาจอันศักดิ์สิทธิ์ ไม่เพียงแต่จบั หัวใจคน แม้ แต่สตั ว์ก็ยงั มีความรู้สกึ
ในความสัตย์ซื่อ เมื่อกวนอูตายแล้ ว ม้ าของกวนอูก็ไม่ยอมกิน หญ้ ากินน้ำและตายตามเจ้ าของ
ไปในไม่ช้า ไม่ยอมให้ หลังของมันสัมผัสกับผู้อื่นนอกจาก นายของมัน”

You might also like