You are on page 1of 21

โคลงสี่สุภาพ

บันไดร้อยกรอง อ่านทานองคล้องใจ
โคลง
โคลง คือค าประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีวิธีเรียบเรียงถ้อยค า
เข้าคณะ มีกาหนดเอกโท และสัมผัส แต่มิได้บัญญัติ บังคั บ ครุลหุ
โคลงแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
• โคลงสุภาพ
• โคลงดั้น
• และโคลงโบราณ
°
โคลงสุภาพ แบ่งออกเป็น 7 ชนิด คือ

¥
๑. โคลง ๒ สุภาพ
๒. โคลง ๓ สุภาพ
๓. โคลง ๔ สุภาพ
๔. โคลง ๔ ตรีพิธพรรณ
๕. โคลง ๕ หรือมณฑกคติ (ปัจจุบันไม่นิยมแต่งกันแล้ว)
๖. =
โคลง ๔ จัตวาทัณฑี
๗. โคลงกระทู้
โคลงดั้น แบ่งออกเป็น 6 ชนิด คือ
๑. โคลง ๒ ดั้น
๒. โคลง ๓ ดั้น
๓. โคลงดั้นวิวิธมาลี
๔. โคลงดั้นบาทกุญชร
๕. โคลงดั้นตรีพิธพรรณ
๖. โคลงดั้นจัตวาทัณฑี
โคลงโบราณ มีลักษณะคล้ายโคลงดั้นวิวิธมาลี แต่ ไม่
บังคับเอกโท มีบังคับแต่เพียงสัมผัสเท่านั้น เป็นโคลง
ที่ไทยเราแปลงมาจากกาพย์ในภาษาบาลี อันมีชื่อ ว่า
คัมภีร์กาพยสารวิลาสินี ซึ่งว่าด้วยวิธีแต่งกาพย์ต่าง ๆ

มีอยู่ ๑๕ กาพย์ด้วยกัน แต่มีลักษณะเป็นโคลงอย่าง


แบบไทยอยู่ ๘ ชนิด เพราะเหตุที่ไม่มีบังคับเอกโท จึง
เรียกว่า โคลงโบราณ นอกนั้น มีลักษณะเป็นกาพย์แท้
โคลงโบราณ แบ่งออกเป็น 6 ชนิด คือ
๑. โคลงวิชชุมาลี
๒. โคลงมหาวิชชุมาลี
๓. โคลงจิตรลดา
๔. โคลงมหาจิตรลดา
๕. โคลงสินธุมาลี
๖. โคลงมหาสินธุมาลี
๗. โคลงนันททายี
๘. โคลงมหานันททายี
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ เป็นโคลงชนิดหนึ่งที่กวีนิยมแต่งมากที่สุด ด้วยเสน่ห์ของ
การบังคับวรรณยุกต์เอกโทอันเป็นมรดกของภาษาไทยที่ลงตัวที่สุด
คาว่า สุภาพ หรือ เสาวภาพ หมายถึงคาที่
มิได้มีรูปวรรณยุกต์

โคลงสี ่ส ุ ภาพเป็ น ค าประพั น ธ์ ท ี่ ก วี


ชอบแต่งและผ่านการพัฒนามายาวนาน
จนมี ฉ ั น ทลั ก ษณ์ ท ี ่ ล งตั ว และเป็ น แบบ
ฉบับดังที่ยึดถือกันในปัจจุบัน
แผนผังโคลงสี่สุภาพ

คาเอก
คาโท
คาสามัญ
คาสร้อย
_
ข้อบังคับของโคลงสี่สุภาพ
.

๑. บทหนึ่งมี ๔ บรรทัด
๒. วรรคหน้าของทุกบรรทัด มี ๕ พยางค์ วรรคหลังของ
บรรทั ด ที ่ ๑ - ๓ มี ๒ พยางค์ บรรทั ด ที ่ ๔ มี ๔ พยางค์
สามารถท่องจานวนพยางค์ได้
๓. มีตาแหน่งสัมผัสตามเส้นโยง
๔. บังคับรูปวรรณยุกต์ เอก ๗ โท ๔

คณะของโคลงสี่สุภาพ

• บทหนึ่งมี ๔ บาท
• วรรคหน้า ของทุกบาท มี ๕ คา
• วรรคหลัง บาทที่ ๑ - ๓ มี ๒ คา
บาทที่ ๔ มี ๔ คา
รวมทั้งหมด โคลงสี่สุภาพมี ๓๐ คา
• คาสร้อย จะอยู่บาทที่ ๑ และบาทที่ ๓
สร้อย ๒ คา มักลงท้ายด้วย นา แฮ เฮย เพื่อรับคา ต่อคา เชื่อมคา
• บังคับรูปวรรณยุกต์ เอก ๗ โท ๔
.

• คาสุดท้ายของบาทที่ ๑ สัมผัสกับคาที่ ๕ ของวรรคแรกในบาทที่ ๒ และ ๓


• คาสุดท้ายของบาทที่ ๒ สัมผัสกับคาที่ ๕ ของวรรคแรกในบาทที่ ๔
• หากแต่งหลายบทคาสุดท้ายของบทแรกส่งสัมผัสไปยังคาที่ ๑
หรือ ๒ หรือ ๓ ของวรรคแรกในบทต่อไป
แม่บทโคลงสี่สุภาพ
เสียงลือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่เอย
เสียงย่อมยอยศใคร ทั่วหล้า
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤาพี่
สองพี่คิดเองอ้า อย่าได้ถามเผือ
(ลิลิตพระลอ)

คาเอก : เล่า ย่อม ทั่ว พี่ ตื่น พี่ อย่า (รวม ๗ คา)
คาโท : อ้าง หล้า อ้า ได้ (รวม ๔ คา)
คาสร้อย : พี่เอย ฤาพี่
การอ่านโคลงสี่สุภาพ
เสียงลือ/เสียงเล่าอ้าง/ อันใด/พี่เอย/
เสียงย่อม/ยอยศใคร/ ทั่วหล้า/
สองเขือ/พี่หลับใหล/ ลืมตื่น/ฤาพี่/
สองพี/่ คิดเองอ้า/ อย่าได้/ถามเผือ//
(ลิลิตพระลอ)
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับการแต่งโคลงสี่

ค ำเอก คือ ค าที่มีรูปวรรณยุกต์เอกก ากับ


เช่น แม่ พ่อ พี่ ปู่ ย่า ทั่ว รั่ว มั่ว เป็นต้น

ค ำโท คือ ค าที่มีรูปวรรณยุกต์โท


กากับ เช่น บ้าน ม้า ช้าง น้า ป้า ข้า เป็นต้น
1 ป
กรณีที่ไม่สามารถหาพยางค์ที่มีรูป
วรรณยุกต์ตามต้องการได้ให้ใช้ เอก
โทษ และโทโทษ
- เอกโทษ และโทโทษ คืออะไร?
คำเอกโทษ
คำเอกโทษ คือการนาคาที่ปกติใช้วรรณยุกต์โทกากับมา มาใช้ วรรณยุกต์เอก
กากับแทน เพื่อใช้แทนที่คาเอก ในตาแหน่งบังคับของโคลง เช่น

หมั้นหมาย เขียนเป็น มั่นหมาย มั่น เป็นคาเอกโทษ


เขี้ยวคม เขียนเป็น เคี่ยวคม เคี่ยวเป็นคาเอกโทษ

คำโทโทษ
คำโทโทษ คือการนาคาที่ปกติใช้วรรณยุกต์เอกกากับ มาใช้วรรณยุกต์โทกากับ
แทน เพื่อให้ใช้แทนคาโทในตาแหน่งบังคับ เช่น

หยอกเล่น เขียนเป็น หยอกเหล้น เหล้น เป็นคาโทโทษ


มั่นคง เขียนเป็น หมั้นคง หมั้น เป็นคาโทโทษ
ชมพู่ เขียนเป็น ชมผู้ ผู้ เป็นคาโทโทษ
คำตำย คำตำย
คำตำย คาที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นใน แม่ ก กา และคาที่มีตัวสะกดในแม่
กก กบ กด ซึ่งไม่มีรูปวรรณยุกต์ เช่น

คบกากาโหดให้ เสียพงศ์
พาตระกูลเหมหงส์ แหลกด้วย
คำเป็น คือ คาที่ประสมด้วยสระเสียงยาวไม่มีตัวสะกด เช่น ราชา มีดี ถ้ามี
ตั ว สะกดก็ จ ะต้ อ งสะกดในมาตราแม่ กง กน กม เกย เกอว รวมทั ้ ง สระ
อา ใอ ไอเอา
คำสร้อย
คำสร้อย คือ คำที่เติมลงท้ำยบำทของโคลงเพื่อควำมไพเรำะหรือให้ชั ดเจน
มำกยิ่งขึ้น คำสร้อยจะมี ๒ คำ คำหนึ่งจะมีควำมหมำย อีกคำหนึ่งจะเป็นคำสร้อย
เช่น พ่อ แม่ พี่ เลย นำ ฮำ แฮ แล รำ ฤา เทอญ เอย นอ เฮย เป็นต้น
หลักกำรแต่งคำประพันธ์
(โคลงสี่สุภำพ)
๑. ตำแหน่งที่บังคับวรรณยุกต์เอกอำจใช้คำตำยแทนได้
๒. คำที่ ๗ ของบำทที่ ๑ และคำที่ ๕ ของบำทที่ ๒ และ ๓ ห้ำมใช้ค ำที่มี
รูปวรรณยุกต์
๓. ค ำสุดท้ำยของบทนิยมใช้เสียงจัตวำและห้ำมใช้ค ำตำยหรือค ำที่มี
รูปวรรณยุกต์
๔. ค ำที ่ ๕ และ ๖ ของทุ ก บำทอำจมี ส ั ม ผั ส พยั ญ ชนะจะท ำให้ โ คลงมี
ควำมไพเรำะ
๕. คำที่ ๔ และ ๕ ของบำทแรกสำมำรถสลับตำแหน่งเอกโท กันได้
จบ
โคลงสี่สุภาพ

You might also like