You are on page 1of 20

ชุดการเรียนวรรณคดีด้วยตัวเอง

เรื่องอิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

ชุดที่ ๖
สุนทรียภาพทางภาษา

จัดทําโดย
นาง ฐิตาพร วิภววาณิชย์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา

ชื่อ ............................. นามสกุล ................................


'

Nationality snow ;oiimosÑ


ชั้น ม. ..............ห้
4 อง............. เลขที่...........
661 22
2

คําชีแ้ จง
๑. นักเรียนอ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ให้เข้าใจ
๒. นักเรียนศึกษาเนื้อหาให้เกิดความเข้าใจ
๓. นักเรียนทํากิจกรรมและแบบทดสอบด้วย
ความรอบคอบ
๔. นักเรียนตรวจแบบทดสอบ ถ้าคะแนนไม่ถึง ๕๐%
ให้นักเรียนอ่านทบทวนชุดการเรียนใหม่อีกครั้ง
๕. นักเรียนควรตั้งใจศึกษาและมีสมาธิในการทํา
๖. หากยังไม่เข้าใจ ให้นักเรียนถามครูผู้สอน
3

จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. นักเรียนบอกความหมายและลักษณะของรส
วรรณคดี และโวหารภาพพจน์ได้

๒. นักเรียนสามารถ จําแนกประเภทของรสวรรณคดี
และโวหารภาพพจน์ได้

๓. นักเรียนสามารถนํารสวรรณคดี โวหารภาพพจน์
มาปรับใช้ในด้านการพูด การเขียน การใช้ภาษาได้
4

โวหารภาพพจน์

โวหารภาพพจน์ คือ กลวิธีการนําเสนอสารอย่างมีศิลปะ ให้แปลกออกไปจากภาษาตาม


ตัวอักษร ทําให้ผู้อ่านเกิดภาพในใจ เกิดความประทับใจ เกิดความรู้สึกสะเทือนใจ เป็นการ
เปรียบเทียบให้เห็นภาพอย่างชัดเจน โวหารภาพพจน์ที่จะกล่าวถึงมีดังนี้
๑. อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คําเชื่อมที่มคี วามหมาย
เช่นเดียวกับ คําว่า ”เหมือน” เช่น ดุจ ดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน เพียง
ประหนึ่ง เพีย้ ง พ่าง ปูน
เช่น “ มีความเกษมสันต์หรรษา ดังได้ผ่านเมืองฟ้าราศี
ด้วยนัดดาเรืองอิทธิฤทธี เห็นว่าบุรีไม่อันตราย”

๒. อุปลักษณ์ คล้ายกับอุปมาโวหาร คือเป็นการเปรียบเทียบเหมือนกันแต่เปรียบเทียบ สิ่ง


หนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง อุปลักษณ์จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมา แต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัยให้เข้าใจเอง ที่
สําคัญ อุปลักษณ์ จะใช้คําเชื่อมว่า “ เป็น คือ ”
เช่น “หวังเป็นเกือกทองรองบาทา พระผู้วงศ์เทวาอันปรากฏ
จะขอพระบุตรีมียศ ให้โอรสข้าน้อยดังจินดา”

๓. อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อเน้นความรู้สกึ ทําให้ผู้ฟังเกิด


ความรู้สึกที่ลกึ ซึ้ง ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูด เพราะเป็นการกล่าวทีท่ ําให้เห็น
ภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่าง ชัดเจน
เช่น “ตราบขุนคีรขี ้น ขาดสลาย แลแม่
รักบ่หายตราบหาย หกฟ้า”
5

๔. บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มี


วิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว์ โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้
แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์
เช่น “เมื่อฟ้าหลัง่ น้ําตา หมู่เมฆาพาหัวร่อ
แผ่นดินร่วมยั่วล้อ ลมรุมด่าว่าซ้าํ เติม”

๕. สัทพจน์ คือภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์ เสียงคลื่น เสียง


ลม เสียงฝนตก เสียงน้ําไหล ฯลฯ การใช้ภาพพจน์ประเภทนี้จะทําให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริง ๆ
เช่น “ครืนครืนใช่ฟ้าร้อง เรียมครวญ
หึ่งหึ่งใช่ลมหวน พี่ไห้”
๖. การใช้นาฏการ หมายถึง การแสดงต่าง ๆ ที่จัดขึ้นสําหรับถ่ายทอดความเข้าใจระหว่างผู้
แสดง กับผู้ดกู ารแสดงนาฏการเป็นการเสนอสิ่งเร้าที่เป็นของจริง หรือเสมือนของจริง ในลักษณะนี้ก็
คือการใช้คาํ ที่สามารถทําให้เราเห็นเป็นภาพเคลื่อนไหว
เช่น “บ้างวิ่งทิ้งถอนขวากเขากวาง คืนขว้างเข้าไปในค่าย
เอาเชือกฉุดจุดคบเพลิงราย เผาทําลายค่ายล่อหอคอย”

๗. ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์ คือการใช้ถ้อยคําที่มคี วามหมายตรงกันข้าม หรือขัดแย้งกัน


มากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มความหมายให้มนี ้ําหนักมากยิ่งขึ้น
เช่น
เลวบริสุทธิ์ บาปบริสทุ ธิ์
สนุกฉิบหาย สวยเป็นบ้า
รักยาวให้บั่น รักสัน้ ให้ต่อ น้ําร้อนปลาเป็น น้ําเย็นปลาตาย
6

๘. สัญลักษณ์ คือเป็นการเรียกชื่อสิ่งๆหนึ่งโดยใช้คําอื่นมาแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คํา


ที่นํามาแทนจะเป็นคําที่เกิดจากการเปรียบเทียบและตีความ ซึ่งใช้กันมานานจนเป็นที่เข้าใจและรู้จัก
กันโดยทัว่ ไป
เช่น
เมฆหมอก แทน อุปสรรค
สีดํา แทน ความตาย ความชั่วร้าย
สีขาว แทน ความบริสุทธิ์
กุหลาบแดง แทน ความรัก
หงส์ แทน คนชั้นสูง
กา แทน คนต่ําต้อย

๙. นามนัย คือการใช้คําหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่ง
หนึ่ง คล้ายๆสัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่งหนึ่งมา
กล่าว ให้หมายถึงส่วนทั้งหมด
เช่น
เมืองโอ่ง หมายถึง จังหวัดราชบุรี
เมืองย่าโม หมายถึง จังหวัดนครราชสีมา
ทีมสิงโตคําราม หมายถึง อังกฤษ
ฉัตร หมายถึง กษัตริย์
เก้าอี้ หมายถึง ตําแหน่ง
มือที่สาม หมายถึง ผู้ก่อความเดือดร้อน
7

รสวรรณคดีไทย
รสวรรณคดีไทย มีอยู่ ๔ ชนิด คือ
๑) เสาวรจนี รสนี้เป็นการชมความงาม ชมโฉม
เช่น “ ...หนุ่มน้อยโสภาน่าเสียดาย ควรจะนับว่าชายโฉมยง
ทนต์แดงดั่งแสงทับทิม เพริศพริ้มเพรารับกับขนง
เกศาปลายงอนงามทรง เอวองค์สารพัดไม่ขัดตา...”
๒) นารีปราโมทย์ คือ การแสดงความรักผ่านการเกี้ยวแลโอ้โลมปฏิโลม
เช่น “ เมื่อนั้น พระสุรยิ ์วงศ์เทวัญอสัญหยา
โลมนางพลางกล่าววาจา จงผินมาพาทีกับพีช่ าย
ซึ่งสัญญาว่าไว้กบั นวลน้อง จะคงครองไมตรีไม่หนีหน่าย
มิได้แกล้งกลอกกลับอภิปราย อย่าสงกาว่าจะวายคลายรัก”

๓) พิโรธวาทัง คือการแสดงความโกธรแค้น ผ่านการใช้คาํ ตัดพ้อต่อว่าให้สาใจ ทั้งยังแสดงความ


น้อยเนื้อต่ําใจ, ความผิดหวัง, ความคับแค้น และความโกรธ ตามออกมาด้วย
เช่น “เมื่อนั้น พระผู้ผ่านไอศูรย์สูงส่ง
ประกาศิตสีหนาทอาจอง จะณรงค์สงครามก็ตามใจ
ตรัสพลางย่างเยื้องยุรยาตร จากอาสน์แท่นทองผ่องใส
พนักงานปิดม่านทันใด เสด็จเข้าข้างในฉับพลันฯ”
๔) สัลลาปังคพิไสย คือ การโอด คร่ําครวญ หรือบทโศก
เช่น “ นางนวลจับนางนวลนอน เหมือนพี่แนบนวลสมรจินตะหรา
จากพรากจับจากจํานรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี
แขกเต้าจับเต่าร้างร้อง เหมือนร้างห้องมาหยารัศมี
นกแก้วจับแก้วพาที เหมือนแก้วพีท่ ั้งสามสั่งความมา”
8

สุนทรียภาพทางวรรณศิลป์

๑. การเล่นคํา คือ การใช้คําคําเดียวกันหรือคําพ้องรูปพ้องเสียงในคําประพันธ์


เช่น
“ นางนวลจับนางนวลนอน เหมือนพี่แนบนวลสมรจินตะหรา
จากพรากจับจากจํานรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี”

๒. การเล่นความ คือ การใช้ถ้อยคําทีม่ ีเนื้อความกินใจ กระทบอารมณ์


เช่น “แม่รักลูกลูกก็รู้อยูว่ ่ารัก คนอื่นสักหมื่นแสนไม่แม้นเหมือน”
๓. การเล่นเสียงสัมผัสอักษร คือ การใช้อักษรหรือพยัญชนะตัวเดียวกันเป็นการใช้
พยัญชนะเสียงเดียวกันต่อๆ กันหลายคํา
เช่น “จําใจจําจากเจ้า จําจร” “ รักเร่เร่รักไร้ รังรัก”
๔. การเล่นเสียงสัมผัสสระคือการใช้สระเสียงเดียวกัน เกิดเสียงเสนาะจากการเล่นเสียงสระ
เช่น “ แม่ยังกลับหลังมาโลมลูบจูบกระหม่อมจอมเกล้าทั้งสองเรา ”
“ เจ้าเคยเคียงเรียงหมอนนอนแนบข้างทุกราตรี ”
๕. การเล่นเสียงวรรณยุกต์ คือ การผันวรรณยุกต์เสียงต่างๆ
เช่น “ ว่าโอโอ่โอ้กรรมมาจําไกล เวรชื่อใดจองจ่องจ้องประจาน”
๖. คําอัพภาส คือ คําซ้ําแล้วกร่อนเสียงคําหน้า เป็น อะ
เช่น “ ยะเยือกเย็นเส้นหญ้ารุกขาเขา สงัดเหงาเงียบเสียงสําเนียงหาย”
“ ยิ่งระรื่นชื่นชุ่มชอุ่มใบ หนาวหทัยโทมนัสระมัดกาย”
9

กิจกรรมที่๑
คําสั่ง อ่านคําประพันธ์ต่อไปนี้ แล้วตอบว่าเป็นโวหารภาพพจน์ชนิดใด

ปฏิพากย์ อติพจน์ อุปมา


สัญลักษณ์ บุคลาธิษฐาน อุปลักษณ์
-

นามนัย สัทพจน์ l

๑. พระคุณครูดงั่ แผ่นฟ้ามหาสมุทร
ท่านสร้างสรรค์ปัญญาวุธพิสทุ ธิ์ศรี
ครูเสมือนแสงทองส่องธาตรี
quam ✓
ศิษย์จึงมีทางสายยาวได้ก้าวเดิน

๒. ตาเธอคือดวงดาว
ระยับพราวบนฟากฟ้า
ยามสิ้นแสงจันทรา
qdoinu.si ✓
ดาวดวงน้อยคอยส่องทาง

๓. ตราบขุนคิริขน้ ขาดสลาย ลงแม่


รักบ่หายตราบหาย หกฟ้า oñwori
สุริยจันทรขจาย จากโลก ไปฤา ✓
ไฟแล่นล้างสี่หล้า ห่อนล้างอาลัย
10

๔. เสียงสะอื้นจากผืนดินเหมือนสิ้นหวัง
แว่วน้าํ หลั่งสู่โลกราวโศกเศร้า
อากาศธาตุแปรปรวนชวนซบเซา V. honoring in ✓
ภาพไฟเผาป่าราบตราบปัจจุบนั

๕. อันน้ําตาลหวานไว้ข้างมด
มดจะอดใจให้ไม่หวั่นไหว
กาลวงว่าหงส์ให้ปลงใจ
iv. ñnueni ✓
ด้วยไม่ได้ดูหงอนแต่ก่อนมา
11

กิจกรรมที่ ๒
คําสั่ง อ่านบทประพันธ์ต่อไปนี้ แล้วตอบว่าเป็นรสวรรณคดีชนิดใดและบอก
สุนทรียภาพทางวรรณศิลป์
๑. อยากลบรอยเท้าเปื้อนพื้นเรือนหอ ลบภาพคู่เคลียคลอกันต่อหน้า
ยิ่งอยากลบยิง่ กระจ่างไม่ร้างรา เห็นต้องตําตาจึงจําไว้ตําใจ
offmtsnwfofolmiboiwnixmiboiwof.gg
ตอบ ......................................................................
๒. โอ้บางกอกกอกเลือดให้เหือดโรค แต่ความโศกนีจ้ ะกอกออกที่ไหน
เห็นได้เห็นก็ยิ่งเหน็บเจ็บปวดใจ หนาวหทัยโทมมนัสระมัดกาย
ÑañÑsnÑHo / Motown; ✓
ตอบ ..................................................................
๓. ฝากสายฝันสายใจสายลมหนาวไปบอกข่าวความรักจักมาสู่
พร้อมกุหลาบดอกนี้สีชมพู ให้รับรู้ว่าเรา “รัก” เจ้าแล้ว
withstand minion; ✓
ตอบ .....................................................................
๔. นิ้วเรียวยาวขาวนวลชวนจุมพิต มิเพีย้ นผิดเนียนขี้ผึ้งกลึงกลมสวย
แลริกริกพลิกเพลินเชิญงงงวย เจียนใจป่วยไหวหวามตามตามกัน
badoo.ME/boFosbofosofwwdof ✓
ตอบ .......................................................................
๕. ลําดวนเอยจะด่วนไปก่อนแล้ว ทั้งเกดแก้วพิกุลยี่สุ่นสี
จะระโรยร้างห่างกลิ่นมาลี เจ้าจําปีกี่อีกปีจะมาเอย
ÑanÑsnIno / Own of ✓
ตอบ .........................................................................
12

กิจกรรมที่ ๓
คําสั่ง จงเติมคําในช่องว่างและหาคําตอบจากในปริศนาอักษรไขว้นี้
คําใบ้ : โวหารทีใ่ ช้ในวรรณคดี

ว ภ ค บั น ย า ย ท ธิ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ร บ ย
ล ม ฉ ฮ า ด พ ก อ ติ พ จ น์ ว ง บ ร ล อุ
ท ณ์ ร ร ม น า ฉ ธิ ส ม จ ต ช ย ร น ป ม
ม ก ษ ฉ ถ ช ห พ ว ป ซ ฝ บ ค ย ษ น ด สั
ต ลั พ ก ร ณ น า ง บ น ข ร า ธ ล า ข ท
พ ป ติ พ ลั บ ธ ต า ม บ พ ย ช ต ว ม ข พ
ด อุ ป ม า ญ ม ด ณ์ ผ ธ อ ษ ร ค บ นั ย จ
ก ฬ ย ง ฉ ล สั ษ ค ซ ท ค ด ว บุ ง ย ต น์
ญ ฝ ผ บ ว ส ก ฒ น ฉ ร ส ข ซ ต ค ร ล ค
น ค ฟ ธ ซ ลั ถ ฉ ญ ฟ ม ง ต น ล ม ค บุ ช
ม ห ภ ส ป ฏิ พ า ก ย์ อุ ท ธ ก ก ธ า ส อ
จ ส ห อุ ม ฟ ค ภ บุ ค ล า ธิ ษ ฐ า น ฝ ธ

๑. ________หมายถึ
✓ gun ง การใช้ถ้อยคําเปรียบเทียบ โดยนําสิ่งที่คล้ายมาเปรียบเทียบ
๒. ________หมายถึ
✓ oioñnuoai ง การเปรียบสิง่ หนึง่ ว่า เป็น หรือ คือ อีกสิ่งหนึง่
๓. ________หมายถึ
✓ oiiyñnuoni ง การใช้สงิ่ ต่างๆทีเ่ ป็นรูปธรรมและนามธรรมมาแทนอีกสิ่งหนึ่ง
๔. ________หมายถึ
✓ ooiwori ง การใช้ถ้อยคําเกินจริง เพื่อให้เกิดความรู้สึก
๕. ________หมายถึ
✓ Nogami ง การใช้ถ้อยคําที่ขัดแย้งกัน
๖. ________หมายถึ
✓ www.eo ง การใช้ถ้อยคําที่บอกถึงลักษณะหรือคุณสมบัตขิ องสิ่งๆนั้น
๗. _______
✓ Yaniv ginหมายถึง สิง่ ต่างๆที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิดหรือสิง่ มีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์
แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์
✓ ________หมายถึ
๘. inward ง ภาพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชาติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์
13

กิจกรรมที่ ๔

คําสั่ง จงโยงเส้นคําประพันธ์กับภาพที่ตรงกับรสวรรณคดี

✓เราอ่
๑. จึงบัญชาตรัสด้วยขัดเคือง
อนง้อขอไปในสารา
ดูดู๋เจ้าเมืองดาหา
แต่ว่าจะรับไว้กไ็ ม่มี

:
๒. ซึง่ สัญญาว่าไว้กับนวลน้อง จะคงครองไมตรีไม่หนีหน่าย
มิได้แกล้งกลอกกลับอภิปราย อย่าสงกาว่าจะวายคลายรัก

๓. ครัน้ ออกมานอกนคเรศ พระทรงเดชเศร้าสร้อยละห้อยไห้


เหลียวหลังตัง้ ตาดูเวียงชัย หฤทัยหวั่นหวัน่ ถึงกัลยา

/
๔. ทนต์แดงดังแสงทับทิม เพริศพริม้ เพรารับกับขนง
เกศาปลายงอนงามทรง เอวองค์สารพัดไม่ขัดตา
14

เฉลยกิจกรรม
กิจกรรมที่ ๑
๑. อุปมา ๒. อุปลักษณ์ ๓.อติพจน์ ๔.บุคลาธิษฐาน ๕.สัญลักษณ์

กิจกรรมที่ ๒ ๑) สัลลาปังคพิสยั , เล่นเลียง ๒) สัลลาปังคพิสัย, เล่นคํา


๓) นารีปราโมทย์, เล่นคํา ๔) เสาวรจนี, เล่นเสียงสัมผัส
๕) สัลลาปังคพิสัย, อัพภาส

กิจกรรมที่ ๓
๑. อุปมา ๕. ปฏิพากย์
๒. อุปลักษณ์ ๖. นามนัย
๓. สัญลักษณ์ ๗. บุคลาธิษฐาน
๔. อติพจน์ ๘. สัทพจน์

ว ภ ค บั น ย า ย ท ธิ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ร บ ย
ล ณ์ ฉ ฮ า ด พ ก อ ติ พ จ น์ ว ง บ ร ล อุ
ท ษ ร ร ม น า ฉ ธิ ส ม จ ต ช ย ร น ป ม
ม ก ษ ฉ ถ ช ห พ ว ป ซ ฝ บ ค ย ษ น ด สั
ต ลั พ ก ร ณ น า ง บ น ข ร า ธ ล า ข ท
พ ป ติ พ ลั บ ธ ต า ม บ พ ย ช ต ว ม ข พ
ด อุ ป ม า ญ ม ด ณ์ ผ ธ อ ษ ร ค บ นั ย จ
ก ฬ ย ง ฉ ล สั ษ ค ซ ท ค ด ว บุ ง ย ต น์
ญ ฝ ผ บ ว ส ก ฒ น ฉ ร ส ข ซ ต ค ร ล ค
น ค ฟ ธ ซ ลั ถ ฉ ญ ฟ ม ง ต น ล ม ค บุ ช
ม ห ภ ส ป ฏิ พ า ก ย์ อุ ท ธ ก ก ธ า ส อ
จ ส ห อุ ม ฟ ค ภ บุ ค ล า ธิ ษ ฐ า น ฝ ธ
15

กิจกรรมที่ ๔

๑.

๒.

๓.

๔.

พยายามต่อไปนะครับ
เหลือแบบทดสอบครับ
16

แบบทดสอบ
จงเลือกคําตอบทีถ่ ูกต้ องทีส่ ุ ดเพียงข้ อเดียว Yoo

÷
๑. ข้ อใดทีไ่ ม่ ใช้ โวหารภาพพจน์

ก. ฉันไม่ใช่พระอิฐพระปูนนะ
ข. เขามีเพชรอยูใ่ นมือแต่ปล่อยให้หลุดมือไปได้
ค. ธรรมชาติรอบข้างต่างสลดหมดความคะนองทุกสิ่ งทุกอย่าง
ง. บนเนินเขาเตี้ยๆ มีน้ าํ พุที่ให้น้ าํ ตลอดฤดู ทั้งฤดูร้อนและฤดูหนาว

๒. ข้ อใดมีโวหารภาพพจน์ เหมือนข้ อความทีว่ ่ า " เธอเป็ นทาสผูซ้ ื่ อสัตย์ของฉัน "

ก. เธอคือสายนํ้าฉํ่าใจ
ข. เมื่อลมพัดใบไม้สะบัดโบกมือเรี ยกเธอ

ค. เรื อชัยไวว่องวิง่ รวดเร็ วจริ งยิง่ อย่างลม
ง. รอบข้างไม่มีที่นาที่ไหนว่าง แต่ชาวนายังอดตาย

๓. ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ โวหารภาพพจน์ ข้อใด "เราต่างคงความกร่ อนในความแกร่ งและ



คงความเข้มแข็งในความเปราะ สะอื้นไห้ในเสี ยงหัวเราะและเงียบเสนาะเสี ยงดนตรี "
ก. อติพจน์ ข. อุปลักษณ์
ค. ปฏิพากย์
✗ ง. บุคลาธิษฐาน
17

✓๔. ข้อใดมีสัมผัสอักษรมากทีส่ ุ ด
ก. เห็นกรวดทรายชายทะเลชโลทร ละเอียดอ่อนดังละอองสําลีดี
ข. ดอกไม้แย้มกลีบยิม้ ริ มบึงช่างตรึ งจิต ลมจุมพิตเท่าไรก็ไม่หมอง
ค. อันพริ กไทยใบผักชีเหมือนสี กา ต้องโรยหน้าสักหน่อยอร่ อยใจ
✗ง. เป็ นฟองฟุ้ งรุ่ งเรื องอยูร่ างชาง กระเด็นพร่ างพรายพราวราวกับพลอย

✓๕. “ เมื่อฟ้ าหลัง่ นํ้าตา หมู่เมฆาพาหัวร่ อ


แผ่นดินร่ วมยัว่ ล้อ ลมรุ มด่าว่าซํ้าเติม”
ข้ อความนีใ้ ช้ โวหารภาพพจน์ ชนิดใด ?

ก. นามนัย ข. อติพจน์
ค. อุปลักษณ์ ง.✗ บุคลาธิษฐาน

✓๖. "สายธาราดัง่ นาฬิกาแก้ว แว่วแว่วจ๊อกจ๊อกเซาะซอกหิ น "


ข้ อความนีม้ โี วหารภาพพจน์ ชนิดใดบ้ าง
๑. อุปมา ๒. สัทพจน์ ๓. อุปลักษณ์ ๔. บุคลาธิษฐาน

ก. ข้อ ๑ และ ๒

ข. ข้อ ๒ และ ๓
ค. ข้อ ๓ และ๔ ;
ง. ข้อ ๑ และ ๓
18


๗. “พระจะไปดาหาปราบศึก หรื อรําลึกถึงคู่ตุนาหงัน
ด้วยสงครามในจิตยังติดพัน จึงบิดผันพจนาไม่อาลัย”

จากคําประพันธ์ ดงั กล่ าวจัดเป็ นรสวรรณคดี ในข้ อใด

ก. เสาวรจนี ✗ข. นารี ปราโมทย์


ค พิโรธวาทัง ง . สัลปังคพิสัย

÷
๘. จากคําประพันธ์ ในข้ อใด จัดเป็ นนารีปราโมทย์

ก. น้องเอ๋ ยเพราะน้อยหรื อถ้อยคํา หวานฉํ่าจริ งแล้วเจ้าแก้วเอ๋ ย


ข. ถลันจ้วงทะลวงจํ้า บุรุษนําอนงค์หนุน
ค. ต้อนรับเทพธรรมชาติยาตรเยื้องกราย ระเริ งร่ ารื่ นรับกับทิวา
ง . ตระบอกแบ่งผกาเกสรบง- กชลาดลานลง

๙. บทแสดงความพลัดพราก ความเสี ยใจ เศร้ าโศก หมายถึง รสวรรณคดีในข้ อใด

ก. เสาวรจนี ข. นารี ปราโมทย์


ค พิโรธวาทัง ✗ง . สัลปังคพิสยั


๑๐. “ ย่ามกระสอบกรอบแกรบกระไกรกริ ก กลักพริ กพลิกแพลงตะแคงง่าย
กะโปเลเชือกร้อยขึ้นห้อยท้าย เมื่อยามร้ายดูงามกว่าชามดิน”
คําประพันธ์ บทนีไ้ ม่ ปรากฏลักษณะใด
ก. เล่นสัมผัส ข. เล่นคํา '

ค. เล่นเสี ยง
✗ ง. เลียนเสี ยง .
19

เฉลยแบบทดสอบ
๑. ง. ๒. ก.
๓. ค. ๔. ง.
๕. ง. ๖. ก
๗. ค. ๘. ก.
๙. ง. ๑๐.ข.
20

ความรู้เพิ่มเติม : รสวรรณคดีสันสกฤต
รสวรรณคดีสันสกฤตมีปรากฏในตํารานาฏยศาสตร์ (นาฏยเวท) ของพระภรตมุนี มี ๙ รส คือ
๑) ศฤงคารรส รสแห่งความรัก จะกล่าวว่าในรสนี้ อาจเทียบได้กับนารีปราโมทย์ก็ได้
เช่น ..ถึงไปก็ไม่อยู่นาน เยาวมาลย์อย่าโศกเศร้าหมอง
พระจุมพิตชิดเชยปรางทอง กรประคองนฤมลขึ้นบนเพลาฯ

๒) หาสยรส รสแห่งความขบขัน

๓) กรุณารส รสแห่งความเมตตากรุณาที่เกิดภายหลังความเศร้า

๔) รุทรรส/เราทรรส รสแห่งความโกรธเคือง เช่น

เมือ่ นั้น ท้าวกะหมังกุหนิงนเรนทร์สูร


ได้ฟังทั้งสองทูตทูล ให้อาดูรเดือดใจดั่งไฟฟ้า
จึงบัญชาตรัสด้วยขัดเคือง ดูดู๋เจ้าเมืองดาหา
เราอ่อนง้อขอไปในสารา แต่จะว่ารับไว้ก็ไม่มี

๕) วีรรส รสแห่งความกล้าหาญ

เช่น ...จะตั้งหน้าอาสาชิงชัย มิได้ยอ่ ท้อถอยหลัง


สู้ตายไม่เสียดายชีวัง กว่าจะสิ้นชีวังของข้านี้ฯ

๖) ภยานกรส รสแห่งความกลัว ตื่นเต้นตกใจ


เช่น เห็นระตูถอยเท้าก้าวผิด พระกรายกริชแทงอกตลอดหลัง
ล้มลงด่าวดิ้นสิ้นกําลัง มอดม้วยชีวังปลดปลงฯ

๗) พีภัตสรส รสแห่งความชัง ความรังเกียจ

๘) อัพภูตรส รสแห่งความพิศวงประหลาดใจ

๙) ศานติรส รส แห่งความสงบ

You might also like