You are on page 1of 46

การใช้ โวหารภาพพจน์

นางสุ ทิน สุ ทธิเจริ ญ


การใช้โวหารภาพพจน์
ภาพพจน์ คือ ถ้อยคาเปรียบเทียบ
่ าให้เห็นภาพ มีหลายวิธ ี ด ังนนี้
ทีท

อุปมา (simile) คือ การเปรียบว่าสงนิ่


หนึงน่ เหมือนก ับอีกสงนิ่ หนึงน่ โดยมี
คาเชอ ื่ ม เชอ
ื่ มได้แก่ เหมือน ด ังน
ดุจ เปรียบ ประหนึงน่ ราว เพียงน
พ่างน วิย ครุวนา เป็นต้น
ความงามภาษา
ข้อความ ๑ /เหมือน ,ดัง, ดุจ ฯลฯ /ข้อความ ๒
ตัวอย่าง เสียเจ้า ราว ร้าวมณีรุ้ง
จุดหมายในใจดับไปแล้วเพราะเธอทาลาย
เหมือน ไฟตกนา้ ลงไป
ไร้ประโยชน์ผ่านไป คล้ายดั่งสายนา้ ไหลจาก
ไกลแล้วไม่ลืมคาสัญญา
อุปล ักษณ์ (metaphor)
คือ การเปรียบสงนิ่ หนึงน่ เป็นอีกสงนิ่ หนึงน่ โดย
้ าเชอ
ไม่ใชค ื่ ม แต่ม ักใชก ้ ริยา เป็น ก ับ คือ
โครงนสร้างน
๑ ข้อความ ๑ + เป็น / คือ + ข้อความ

ต ัวอย่างน ิ คือการต่อสู ้ ศตรู


ชวี ต ั คอื ยาชูกาล ังน

๒ ข้อความ ๑ + ข้อความ ๒
ต ัวอย่างน เพชรนา้ ค้างนค้างนหล่นบนพรมหญ้า
- หากว่าเธอคือฟ้ า ฉั นคือทะเล
จะเปรียบทะเลดัง่ ความมั่นคง
หากแผ่นฟ้ าเป็นรักทีช ่ อ ื่ ตรงทุก ๆ สงิ่ จะคง
นิรันดร์ คงจะมีแต่เธอเท่านัน ้ ก็เธอคือ
ดวงตะวันทีฉ ่ ั นนัน
้ มีอยูเ่ ต็มหัวใจ
เธอไม่ต ้องนวลอย่างดวงจันทร์ และตัวฉั น
ไม่ใชด ่ วงตะวันฉาย เธอคือลมหายใจ
เธอคือทุกอย่าง หวังอีกครัง้ คงยังไม่สาย
พีห
่ วังเป็นทราย น ้องเป็นทะเล
แม ้ลมฝนคลืน ่ ลมเกเร
ทรายกับทะเลไม่เคยจากกัน
ข้ อควรระวัง
• อุปลักษณ์เป็ นการเปรียบเทียบ ใชค้ าว่า
เป็ น / คือ
เป็น ไม่เป็น
(มีเปรียบเทียบ)

ความรักเป็ นประกาย ความรักเป็ นความ


สดใสในใจมนุษย์ ต ้องการขัน ้ พืน
้ ฐาน
ของมนุษย์
อติพจน์ (hyperbole)
• คือ การเปรียบเทียบทีเ่ กินความจริงน
ตัวอย่าง
- เก็บเอาวันและคืนทีด ่ ไี ว ้ เก็บเอาเดือนและ
ดาวดวงนัน ้ ทีเ่ ธอฝั นใฝ่ มาให ้เธอ
- ไม่อยากร ้องไห ้ให ้ใครเห็น กลัวจะเป็ น
เชน ่ อุทกภัย
- น้ าตาทุกหยดเหมือนกรดทาลาย ทุกสงิ่
พินาศไปทัว่ ทัง้ โลกา

สทพจน์ (onomatopoeia)
• คือ การใชค ้ าเลียนแสงน สเี สย
ี งน และ
อาก ัปกิรย ิ า ต ัวอย่างน -
่ งนแสงน
- หิงน้ ห้อยน ับร้อยน ับพ ัน สอ
ระยิบระย ับก ัน สว่างนไสวไปทงนต้ ั้ นลาพู
-ไผ่ซออ้อเอียดเบียดออด
ลมลอดไล่เลีย ้ วเรียวไผ่
- ออดแอดแอดออดยอดไกว
แพใบไล้นา้ ลาคลองน
บุคลาธิษฐาน (personification)
คือ การสมมติให้สงนิ่ ทีไ่ ม่ใชค่ นทาอาการ
ของนคนหรือ การสมมติให้สงนิ่ ไม่มช ี วี ต
ิ เกิด
มีชวี ต ้ มา เรียกบุคคลว ัติ หรือ บุคคล
ิ ขึน
สมมุต ิ ก็ได้ ต ัวอย่างน
- ฟ้า ฟ้าชวนหมูด ่ าว บอกก ับเดือนแล้ว
เตือนตะว ัน เหนือ ่ ยไหมฟ้าคอยห่วงนจ ันทร์
เหนือ ่ ยก ันพ ักลงนคงนดี
- นา้ มาหลงนคารมอะไรก ับปลารูปหล่อ
- โอ้ฟ้ามาหลงนอะไรก ับนกต ัวเดียว
ปฏิพากย์ (paradox)
คือ การกล่าวในสงนิ่ ทีข
่ ัดแย้งนก ัน
หรือตรงนก ันข้าม
ต ัวอย่างน
- ว ันทีม
่ แ
ี ดดหนาว คลุงน้ กระไอ
เมฆขาวครึม ้ คลี่
- ร ักยาวให้บน ั้
่ ั ร ักสนให้
ตอ่
้ ัพภาส
การใชอ

อ ัพภาส คือ คาทีพ ่ ยางนค์แรกก ับ


พยางนค์ทส ี่ องนใชพ ้ ย ัญชนะต้น
เดียวก ัน และสระของนพยางนค์แรก
เป็นสระ /อะ/ เชน ่ ยะยิม ้ , ระริก ,
ถะถงน่ ั
บงนเนือ ้ ก็เนือ ้ เต้น พิศเสน ้ สรีร ัว
ทว่ ั ร่างนและทงนต ั้ ัว ก็ระริกระริวไหว
้ ญล
การใชส ั ักษณ์


สญล ักษณ์ คือ คาทีม่ ี
ความหมายอย่างนหนึงน่ แต่
นาไปใชแ ้ ทนความหมายอีก
อย่างนหนึงน่
เพือ ่ หลีกเลีย
่ งนการกล่าวถึงนคา
นนๆ
ั้ โดยตรงน
ตัวอย่าง สญ
ั ลักษณ์ทพ
ี่ บบ่อย
สงนิ่ แทน ความหมายของนสญล ั ักษณ์
กา ชนชนต ั้ า ่ , ไพร่
หงส ์ ชนชนสู ั้ งน , ผูด
้ ี
นกพิราบ เสรีภาพ
แก ้ว สงนิ่ ทีด
่ งนี าม
ดอกไม ้ ผูห ้ ญิงน
แมลงผู ้ ผูช
้ าย
ี ้ าตาล
สน ความแห้งนแล้งน
ตัวอย่าง สญ
ั ลักษณ์ทพ
ี่ บบ่อย
ชวี ต
ต ัวอย่างน ิ เป็นกีฬาเกิดมาเพือ่
่ อ
แข่งนข ัน บ้างนจะไปสูก ้ นเมฆ
บ้างนอยากสูต ่ ะว ัน
ตัวอย่ าง สัญลักษณ์
สด ั
ี า สญล ักษณ์ของน ความทุกข์ , สกปรก
สขี าว สญล ั ักษณ์ ความบริสท ุ ธิ์
ฉ ัตร สญล ั ักษณ์ ความเป็นกษ ัตริย ์
ชอล์ก สญล ั ักษณ์ ครู
ค้อนก ับเคียว สญล ั ักษณ์ กรรมกรก ับ
ชาวนา ,คอมมิวนิสต์
นกพิราบ ั
สญล ักษณ์ เสรีภาพ
การเล่นคา
• การเล่นคา คือ การใชค ้ าทีม ี งน
่ เี สย
เหมือนก ันแต่มคี วามหมายต่างนก ัน อาจ
เขียนเหมือนก ันหรือไม่ก็ได้ ต ัวอย่างน

ลางนลิงนแลลอดเลีย้ ว ลางนลิงน
แลลูกลิงนลงนชงนิ ลูกไม้
ลิงนลมไล่ลมติงน ลิงนโลด แลนา
แลลูกลิงนลางนไหล้ ลอดเลีย ้ วลางนลิงน
การเล่ นเสี ยง
๑. การเล่นอ ักษร
คือ การใชค้ าทีม ี งพยัญชนะต ้นเป็ น
่ เี สย
เสยี งเดียวกัน (อาจใชรู้ ปพยัญชนะ
ต่างกันหรือไม่ก็ได ้) ตัวอย่าง
งามงอนงอนงามงามงาเงือ ่ น
ยามยิม ้ แย ้มเยือนแยบเย ้ยหยัน
จับจิตรเจิมใจจงเจ ้าเจียมจันทร์
กล้ากลิน ่ กลั่นกลบกลัว้ กลิน ่ เกลีย
้ งเกลา
๒. การเล่ นสระ
• การเล่นสระ คือ การใชค้ าทีม ี ง
่ เี สย
สระเป็ นเสยี งเดียวกัน หรือใชสระที
้ เ่ ป็ นคู่
ั ้ ยาวของกันละกัน เชน
สน ่
• ใช ้ /อะ/กับ /อา/ /อิ/กับ /อี/
/อุ/ กับ /อู/
ตัวอย่าง
• ดูหนูสรู่ งู ู งูสด ้ สงูู ้
ุ สูหนู
• หนูงส ู ้ อยู่
ู ดู รูปงูทห
ู่ นูมท
ู ู
๓. การเล่ นวรรณยุกต์
การเล่นวรรณยุกต์ คือ การใชค้ าไม่มรี ป ู
วรรณยุกต์ คาทีใ่ ชรู้ ปวรรณยุกต์เอก และ
คาทีใ่ ชรู้ ปวรรณยุกต์โทชดิ กัน ตัวอย่าง
่ ดอกไม้ไม่ไมตรีทโี่ น้มน้าว
ชอ
อกพีร่ าวร่าวร้าวเชย ี วน้องนเอ๋ย
นวลลอออ่ออ้อข้อชด ิ เชย
ปราชญ์ภเิ ปรยนีน ้ น
ี่ รี มล
ิ บุรทัต)
(ชต
ั ร่ ะหว่างนพย ัญชนะก ับสระ คาผวน
การสบที
ตัวอย่าง
• สองตีนจะติดดิน สองมือชนิ เสมอชน
• ฝนห่าจะฝ่ าหน โหมพลังเข ้าถั่งโถม

• (เนาวรัตน์ พงศไ์ พบูลย์)


การถ่ วงเสี ยง
• คือ การทาให ้คาประพันธ์มล ี ักษณะสมดุลทาง
เสย ี ง โดยการใชค้ าทีอ ่ อกเสย ี งเหมือนกัน หรือใช ้
หรือใชค้ าทีม ่ พ
ี ยัญชนะต ้นเป็ นเสย ี งเดียวกันใน
ตาแหน่งของคาสุดท ้าย ของแต่ละจังหวะในวรรค
เดียวกัน หรือคาประพันธ์บทเดียวกันแต่ตา่ งวรรค
เดียวกัน
• การถ่วงเสย ี งโดยใชค้ าทีอ ่ อกเสย ี งเหมือนกัน
เรียกว่าการถ่วงเสย ี งโดยการใชค้ าซ้า
• สว่ นการถ่วงเสย ี งโดยใชค้ าทีม
่ เี สย ี งพยัญชนะต ้น
เป็ นเสย ี งเดียวกัน เรียกว่า การถ่วงเสย ี งโดยการ
สร ้างสม ั ผัส (อักษรการถ่วงเสียง
๑. การถ่ วงเสี ยงโดยการใช้ คาซ้า
ตัวอย่าง
น้ าเคีย
้ วยูงนว่าเงีย
้ ว ยูงนตาม
ทรายเหลือบหางยูงนงาม ว่าหญ ้า
ตาทรายยิง่ นิลวาม พรายเพริด
ลิงว่าหว ้าหวังหว ้า หว่าดิน้ โดยตาม
(โคลงโลกนิต)ิ
ตัวอย่าง

ใจบุญบุญนักรู ้ เร็วทา
ใจบาปทาบาปกรรม ง่ายแท ้
ใจบุญก่อบาปลา บากยาก จิตนา
ใจบาปทาบุญแล ้ ยิง่ น้ าแสนทวี

(โคลงโลกนิต)ิ
๒. การถ่ วงเสี ยงโดยการใช้ สัมผัสอักษร

ตัวอย่าง

มีมต
ิ รจงรอบรู ้ ร ักสนิท
ดุจอุทรเดียวชด ิ ชอบหน ้า
ความขาเงือ ่ นงาปิ ด ปัดเป่ า
ท่าว่ามิตรนีอ้ า้ เอกล้าเหลือดี
(โคลงโลกนิต)ิ
ตัวอย่าง

แม ้นกุศลเราสองเคยร่วมสร ้าง
ขอร่วมห ้องอย่าให ้ห่างเสน่หา
ี่ งผลทีไ่ ด ้ เพิม
เสย ่ บาเพ็ญมา
ขอร่วมชวี าร่วมวางชวี าวาย
(เพลงยาวเจ ้าฟ้ าธรรมาธิเบศร์)
ไวพจน์

คือคาทีม ่ ค
ี วามหมายเดียวก ัน

หรือใกล้เคียงนก ัน เชน
(นา้ )นที วารี ชล ธาร ธารา
กระแส
(ลม) พายุ ลม วาโย พระพาย
ข้อที่ 1) "ตูม เสย ั
ี งนกลองนสญญาณบอก
ให้พ ักเทีย่ งนคืน เมือ่ หยุดการแสดงน ลูกคู่
ของนพริม ้ เพราต่างนชวนก ันกินอาหาร“

• ก. ใชค้ าไวพจน์
• ข. ใชค้ าซา้
• ค. ใชค้ าเลียนเสย ี งธรรมชาติ
• ง. ใชค้ าทีเ่ ล่นเสยี งวรรณยุกต์
ข ้อ 2 "จาจะต ้องกระเหม็ดกระแหม่
รักษาทรัพย์ และผลประโยชน์ทห ี่ าได ้มา
นัน
้ ให ้เหลืออยูก
่ บ
ั ตนด ้วย" ข ้อความนีม ้ ี
ความหมายตรงกับข ้อใดมากทีส ่ ด ุ

ก. พากเพียร
ข. ตระหนี่
ค. ม ัธย ัสถ์
งน. รอบคอบ
ข้อ 3) "อะไรทีด ่ งนี ามให้รบี ทาเสยี อย่า
ผ ัดว ันประก ันพรุงน
่ เมือ
่ โอกาสทีท ่ าได้ผา่ น
พ้นไป จะไม่มโี อกาสเชน ่ นนอี
ั้ ก" ข้อความนี้
ถ้ากล่าวโดยใชส ้ านวนแทน ควรใชส ้ านวน
ใดมากทีส ่ ด

ก. ตีนถีบปากก ัด
ข. ได้ทข ี แี่ พะไล่
ค. นา้ ขึน้ ให้รบี ต ัก
งน. ร ักยาวให้บน ั้
่ ั ร ักสนให้
ตอ่
ข ้อที่ 4) "ในปี หนึงน่ ๆของนชวี ต ิ ถ้าเราจะสารวจ
ตรวจสอบต ัวเราเองน ก็จะพบว่ามีความทุกข์
หลายเรือ ่ งน หลายประการเกิดขึน ั อ
้ สล ับซบซ ้ น
ในชวี ต ิ ตลอดเวลา ถ้าเราบ ันทึกไว้เป็น ...
ตงนแต่
ั้ ตน ิ้ ปี แล้วเอามารวมเข้า
้ ปี จน กระทงน่ ั สน
ก็จะได้ทก ุ ข์กองนใหญ่" ควรเติมคาใดลงนใน
ชอ ่ งนว่างนจึงนจะตรงนความหมาย
ก. ภาษา
ข. อ ักขรวิธ ี
ค. พย ัญชนะ
งน. ลายล ักษณ์อ ักษร
5"ในสมัยดึกดาบรรพ์นัน้ นกกะปูดยังมีตาส ี
แดงเหมือนอย่างทุกวันนี้ สาเหตุทน ี่ กกะปูด
จะตาแดงนัน้ เล่ากันมาว่า ......." การใช ้
ภาษาดังกล่าวนีเ้ หมาะสมกับเรือ ่ งประเภทใด

ก. เรือ ั้
่ งสน
ข. นิทาน
ค. นิยาย
ง. บทความ
ข้อที่ 6) การกระทาในข้ อใดไม่ เหมาะสมที่จะ
นามาใช้ กบั ชีวติ ในปัจจุบันมากทีส่ ุ ด
ก. พระสงนฆ์สวดมนต์รา ่ กระหนา ่ ไป

เอานา้ ซดสาดให้ อยูฉ่ านฉ่า
ข. สวดมนต์จบพล ันมิท ันชา้
เอานา้ ชามาประเคนให้พระสงนฆ์
ค. บ้างนสุมไฟใสค ่ ว ันก ันยุงนริน

ตามถิน ่ บ้านนอกอยูค ่ อกนา
งน.แกต ักนา้ รา่ รดหมดราคี
ชว่ ยข ัดสโี ซมขมิน ้ สน ิ้ เป็นชาม
ข้อที่ 7 ข้อใดมีการใช้คาไวพจน์
ก. สาย ัณห์ตะว ันยาม ขณะข้ามฑิฆ ัมพร
เข้าภาคนภาตอน ทิศะตกก็ราไร
ข. โน่นๆแน่ะยาวกว้างน ณ ระหว่างนทะเลวน
ี่ วและเขียวกล กะจะดาแสดงนส ี
นา้ เชย
ค. นา้ ค้างนพระพร่างนโปรย ชลโชยชะดอกใบ
สุมทุมชอุม่ ใส ชพ ิ สดเสมือนหมาย
งน. การล่วงนประเวณี ณ บุตรี และภรรยา
ของนชายผูอ ้ น
ื่ ลา- มกกิจบ่บ ังนควร
ข้อที่ 8) ข้อใดไม่มีคาที่หมายถึงป่ า
ก. ไก่ป่าข ันแจ้วอยูแ ่ นวไพร
เขีย ่ คุย
้ ขุยไผ่เป็นถิน
่ ถิน

ข. สบ ิ ว ันดนพนมพนาวา
ั้ ั าเข้าพิจต
ชกม้ ิ รบุร ี
ค. สว ่ นพระโพธิสตว์ ั ทอดพระเนตรเห็นธชก ี ็
ชน ื่ ชม
งน. เสย ี งนชะนีเหนีย ่ วไม้ไห้อยูโ่ หยๆละห้อย
ว ังนเวงนวิเวกดงน
9) ข้ อความต่ อไปนีม้ ีการสรรคาใช้ อย่ างไร
"รอนรอนอ่อนแสงนพระสุรย ั
ิ า ชก
ม้าเลียบลงนตรงนนา้ ไหล"
ก. ใชค ้ าไวพจน์
ข. ใชค ้ าซา้
ค. ใชค ้ าเลียนเสย ี งนธรรมชาติ
้ าทีเ่ ล่นเสย
งน. ใชค ี งนวรรณยุกต์
ข้อ 10) ข้อความต่อไปนีม ี ารสรรคาใช ้
้ ก
อย่างนไร "ตูม เสย ั
ี งนกลองนสญญาณบอก
ให้พ ักเทีย
่ งนคืน เมือ
่ หยุดการแสดงน ลูกคู่
ของนพริม้ เพราต่างนชวนก ันกินอาหาร“

ก. ใชค ้ าไวพจน์
ข. ใชค ้ าซา้
ค. ใชส ้ ทพจน์

้ าทีเ่ ล่นเสย
งน. ใชค ี งนวรรณยุกต์
ข้อ11) ข้อความต่อไปนี้มีการสรรคาใช้อย่างไร
"พอจวนพลบพบฝูงนจิงน้ จอก
น้อย วิงน่ ร่อยร่อยตามเขาแล้ว
เห่าหอน"
ก. ใชค้ าไวพจน์ ข. ใชค ้ าซา้
ค. ใชค ้ าเลียนเสย ี งนธรรมชาติ
งน. ใชค้ าทีเ่ ล่นเสย
ี งนวรรณยุกต์
ข ้อที่ 12) ข ้อความต่อไปนีม
้ ก ้ างไร
ี ารสรรคาใชอย่

"ทว่ ั ทิชคณานนมี ั้ ชาติเกิดแต่ฟองน


ฟัก เสย ี งนสุโนกเสนาะน ักน่าใคร่
ฟังน"
ก. ใชค ้ าไวพจน์
ข. ใชค ้ าซา้
ค. ใชค ้ าเลียนเสย ี งนธรรมชาติ
งน. ใชค ้ าทีเ่ ล่นเสย ี งนวรรณยุกต์
ข ้อที่ 13) ข ้อความต่อไปนีม ี ารสรรคาใช ้
้ ก
อย่างไร
"หาร ังนเรียกคูอ ่ ยูก
่ ับดิน หยุดกิน
วิงน่ กรากกระต๊ากไป"
ก. ใชค ้ าไวพจน์
ข. ใชค ้ าซา้
ค. ใชค ้ าเลียนเสย ี งนธรรมชาติ
งน. ใชค ้ าทีเ่ ล่นเสย ี งนวรรณยุกต์
14) ข้ อความต่ อไปนีม้ ีการสรรคาใช้ อย่ างไร
"เจ็บไกลใจอาวรณ์ ร ้อนรุมรุม ่ กลุ ้ม
กลางทรวง"
ก. ใชค ้ าไวพจน์
ข. ใชค ้ าซา้
ค. ใชค ้ าเลียนเสย ี งนธรรมชาติ
้ าทีเ่ ล่นเสย
งน. ใชค ี งนวรรณยุกต์
ข้อ 15)
ข้อความต่อไปนีม ้ ก
ี ารสรรคาใชอ ้ ย่างนไร
"พราหมณ์โสมน ัสชน ื่ ชมภิรมย์เปรม
ปราโมทย์ จึงน่ กล่าวว่า ซงนึ่ หลานร ักมาชว ่ ย
โปรดแนะแนววนาล ัย"
ก. ใชค ้ าไวพจน์
ข. ใชค ้ าซา้
ค. ใชค ้ าเลียนเสย ี งนธรรมชาติ
้ าทีเ่ ล่นเสย
งน. ใชค ี งนวรรณยุกต์
ข้อที่ 16) ข้อความต่อไปนี้มีการสรรคาใช้อย่างไร

"แล้วพย ักกว ักเรียกอ้ายเด็กเด็ ก


ลูกเล็กเล็กหลบลอบค่อยหมอบ
ก้ม"
ก. ใชค ้ าไวพจน์
ข. ใชค ้ าซา้
ค. ใชค ้ าเลียนเสย ี งนธรรมชาติ
งน. ใชค้ าทีเ่ ล่นเสย
ี งนวรรณยุกต์
17) "การกระทาอะไรทีห ่ วังผลจากคนอืน ่ นัน
้ เรา
ต ้องดู บุคคล ต ้องดูสถานที่ และต ้องดูเวลาให ้
เหมาะสม" ข ้อความนีม ้ ก
ี ลวิธก
ี ารเรียบเรียงคา
อย่างไร
ก. เรียงข ้อความทีบ ่ รรจุสาระสาคัญไว ้ท ้ายสุด
ข. เรียงประโยคให ้เนือ ้ หาเข ้มข ้นขึน
้ ไป
ตามลาดับ
ค. เรียงถ ้อยคาให ้เป็ นประโยคคาถามเชงิ
วาทศล ิ ป์
ง. เรียงวลีทมี่ ค
ี วามสาคัญเท่าๆกัน เคียงขนาน
กันไป
18) ข้อความใดเรี ยงถ้อยคาให้เป็ นประโยคคาถามเชิงวาทศิลป์
ก. ในเมืองไทยเรานั้น การขายนา้ ดืม่ อัดลมในกระป๋อง
กาลังขยายตัวมากขึน้ และแข่งกันทุกยีห่ อ้
ข. ขวดเบียร์และขวดนมส่วนใหญ่ไม่มีใครซือ้ เสียแล้ว เพราะการ
เวียนกลับมาใช้น้อยลง
ค. ส่วนนา้ ดืม่ ทัง้ อัดลมและไม่อัดลมนั้น นอกจากกระป๋องแล้ว
เวลานีเ้ อาบรรจุขวดพลาสติกขาย ก็มีมากด้วยกัน บางยีห่ อ้ ซือ้
แล้วก็ซอื้ เลยไม่ตอ้ งคืนขวด
ง. ปั ญหาขยะมีความรุ นแรงขึน้ ทุกขณะ หากทุกคนไม่ลุกมา
ช่วยกันแล้วก็คงแก้ไขไม่สาเร็จ แล้วเราจะอยู่กันไปวันๆในโลก
ขยะโดยไม่คดิ แก้ไขกันหรือ
ข้ อ 19) สานวนใด ไม่ ได้ เล่ นเสี ยงสั มผัส

ก. สวยแต่รป ู จูบไม่หอม
ข. บัวไม่ให ้ชา้ น้ าไม่ให ้ขุน

ค. สวรรค์ในอก นรกในใจ
ง. ไม ้อ่อนดัดง่าย ไม ้แก่ดด ั ยาก
20) ข้ อความต่ อไปนีใ้ ช้ ภาพพจน์ ประเภทใด
"หมูม่ ดงน่ามทางนานอย่างนเงนียบ
งน่าย เขียนจดหมายถึงนมนุษย์
ให้หยุดอ่าน จดใจความตาม
จริงนไม่ทงนิ้ งนาน กว่าลมราน
ลายซอยบนรอยทราย"
ก. อุปมา ข. อติพจน์
ค. บุคคลว ัต งน. นามน ัย

You might also like