You are on page 1of 22

คําพ้ องรู ป

- คําที่เขียนเหมือนกัน ** หมายเหตุ อ่านสอบถึง 17 ที่เหลืออ่านคร่ าว ๆ คะ


- แต่ออกเสียงต่างกัน
- ความหมายต่างกัน
คําเขียน อ่ านว่ า ความหมาย
1) กรี กรี กระดูกแหลมหัวกุ้ง
กะ-รี ช้ าง
2) ปั กเป้า ปั ก-เป้า ชื่อว่าวชนิดหนึง่
ปั ก-กะ-เป้า ชื่อปลาชนิดหนึง่
3) สระ สะ บ่อนํ ้าขนาดใหญ่
สะ-หระ ตัวอักษรที่ใช้ แทนเสียงแท้
4) แขม แขม ชื่อไม้ ล้มลุกชนิดหนึง่
ขะ-แม คนเขมร
5) พลี พลี เสียสละ
พะ-ลี การบวงสรวง
6) เพลา เพลา แกนสําหรับสวมสิ่งที่หมุนได้
เพ-ลา เวลา
7) เหมา เหมา รวมทังหมด

เห-มา เบี่ยงเบนไป
8) เสลา สะ-เหลา สวย งาม ชื่อต้ นไม้ ชนิดหนึง่
เส-ลา ภูเขา หิน
9) แหน แห-น เฝ้าระวัง
แ-หน ชื่อพืชเล็ก ๆ ชนิดหนึง่ ลอยอยู่บนผิวนํ ้า
10) ปรัก ปรัก เงิน
ปะ-หรัก ชํารุดทรุดโทรม
11) เสมา เส-มา เครื่ องหมายของเขตโบสถ์
สะ-เหมา ใบหญ้ า, หนาม
12) เขมา เข-มา สบายใจ
ขะ-เหมา เครื่ องยาสมุนไพร
คําพ้ องรู ป
13) ครุ ครุ ภาชนะสาน
คะ-รุ ครู, หนัก
14) เหลา เห-ลา สนุก
เหลา เกลี ้ยงเกลา
15) ตนุ ตะ-นุ ฉัน, ชื่อฉันท์ชนิดหนึง่
ตะ-หนุ ชื่อเต่าทะเล
16) ตรุ ตะ-รุ ต้ นไม้
ตรุ ที่ขงั คน ตะราง
17) สมาธิ สะ-มา-ทิ ความตังมั ้ น่ แห่งจิต
สะ-หมาด การสํารวมใจ
18) กรอด กรอด 1. เซียวลง ผอมลง เช่นผอมกรอด 2. เสียง เช่นเสียงกัดฟั น
กะ-หรอด ชื่อนกขนาดเล็ก มีหลายชนิด
19) มน มน กลม ๆ โค้ ง ๆ ไม่เป็ นเหลี่ยม
มะ-นะ ใจ
20) พยาธิ พะ-ยา-ทิ ความเจ็บไข้
พะ-ยาด ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูสนั หลัง ปรสิตในมนุษย์และสัตว์
21) ผิว ผิว 1. เปลือกนอก, หนังนอก 2. เสียงเป่ าลมด้ วยปาก เช่น ผิวปาก
ผิ-วะ แม้ นว่า
22) ปรามาส ปรา-มาด ดูถกู
ปะ-รา-มาด การจับต้ อง, การลูบคลํา
23) ปาน ปาน รอยสีแดง หรื อรอยสีดําตามร่ างกายแต่กําเนิด
เหมือน, คล้ าย เช่น เก่งปานกัน
ปา-นะ เครื่ องดื่ม, นํ ้าสําหรับดื่ม
24) ปริ ปริ แตก แย้ ม ผลิ
ปะ-ริ 1. อุปสรรค 2. หากนําหน้ าคําอื่น แปลว่า รอบ เช่น ปริ มณฑล
25) วน วน เวียน หมุน
วะ-นะ นํ ้า, ป่ าไม้
คําพ้ องรู ป
26) ทิว ทิว แถว, แนว
ทิ-วะ สวรรค์, เทวโลก
27) กาก กาก ของเหลือ, สิ่งที่เหลือจากการคัน้
กา-กะ นกกา
28) สก สะ-กะ ของตน
สก ผม, สะเด็ดนํ ้า
29) เทว เท-วะ เทวดา
ทะ-เว สอง
30) สาน สาน ถัก ร้ อย
อักษรควบ
อักษรควบคือพยัญชนะ 2 ตัวควบหรื อกลํ้ากันอยู่ในสระเดี ยวกัน พยัญชนะที ค่ วบหรื อกลํ้ากัน
กับตัว " ร ล ว" เมื่อควบหรื อกลํ ้ากันแล้ วออกเสียงพร้ อมกันเรี ยกว่า "อักษรควบ" เช่น พระ คลอง
กราบ
อักษรควบแบ่ งเป็ น 2 ชนิด
1. อักษรควบแท้ คือ พยัญชนะที่ควบกับ "ร ล ว" แล้ วอ่านออกเสียงพร้ อมกันหรื อกลํ ้ากัน
เช่น กวาง อ่านว่า กวาง
ขรุขระ อ่านว่า ขรุ-ขระ
2. อักษรควบไม่แท้ คือ อักษรที่เกิดจากพยัญชนะ 2 ตัวควบหรื อกลํ ้ากันอยู่ในสระเดียวกัน
อ่านออกเสียงได้ เป็ น 2 ลักษณะ คือ
2.1 คําที่ออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวแรก ได้ แก่ "จ ซ ศ ส" ที่ควบกับตัว "ร" เช่น จริ ง ไซร้ เศร้ า สร้ อย
ศรัทธา เศรษฐี สร้ าง เสริ ม แสร้ ง
2.2 ตัว "ท" ควบ กับ ตัว "ร" ("ทร") ออกเสียงเป็ น "ซ" เช่น ทราย ทราบ อินทรี พุทรา มัทรี
ทรุดโทรม ทรวดทรง ทราม นนทรี ต้ นไทร ทรัพย์ แทรก ฉะเชิงเทรา
ยกเว้ นคําว่า "อินทรา", "เมโทร", "จันทรา", "นิทรา"
อักษรนํา
อักษรนํา
- มีพยัญชนะ 2 ตัว ร่ วมอยู่ในสระตัวเดียวกัน
ลักษณะการอ่านของอักษรนํามี 2 ลักษณะ
1. อ่านออกเสียงพยางค์เดียว
2. อ่านออกเสียงสองพยางค์
1. อ่ านออกเสียงพยางค์ เดียว
- คําที่มี ห นํา อักษรตํ่า เดี่ยว (ได้ แก่ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ)
- และคําที่มี อ นํา ย (อย่า อยู่ อย่าง อยาก)
คํา ห นํา
- ระดับเสียงของคําเมื่อไม่มีรูปวรรณยุกต์ จะออกเสียงตามตัว ห
- หนา อ่านว่า หนา (ระดับเสียงเดียวกับ หา)
- หมู อ่านว่า หมู (ระดับเสียงเดียวกับ หู)
- หนู อ่า่ นว่่า หนู
คํา อ นํา ย
- ระดับเสียงของคําเมื่อไม่มีรูปวรรณยุกต์ จะออกเสียงตามตัว อ มี 4 คํา คือ
1. อย่า อ่านว่า หย่า (ระดับเสียงเดียวกับ อ่า)
2. อยู่ อ่านว่า หยู่ (ระดับเสียงเดียวกับ อู่)
3. อย่าง อ่านว่า หย่าง (ระดับเสียงเดียวกับ อ่าง)
4. อยาก อ่านว่า หยาก (ระดับเสียงเดียวกับ อาก)
2. อ่ านออกเสียงสองพยางค์
- คําที่มีพยัญชนะตัวแรกเป็ น อักษรสูง หรื อ อักษรกลาง นําอักษรตํ่าเดี่ยว (ง ญ ณ น ย ร ล ว ม ฬ)
- พยางค์หน้ าจะออกเสียง อะ กึ่งเสียง
- พยางค์หลังจะมีระดับเสียงตามตัวนํา
- ขยะ อ่านว่า ขะ-หยะ (ระดับเสียงเดียวกับ ขะ)
- จมูก อ่านว่า จะ-หมูก (ระดับเสียงเดียวกับ จูก)
เครื่ องหมายวรรคตอน
เครื่ องหมาย ชื่อเครื่ องหมาย วิธีใช้
1) " บุพสัญญา เครื่ องหมายที่ใช้ ละข้ อความบรรทัดบนที่มีความหมายเหมือนกัน
เมื่อไม่ต้องการเขียนซํ ้า
2) "....." อัญประกาศ เครื่ องหมายที่ใช้ เขียนคร่ อมคําหรื อ เพื่อแสดงว่าคําหรื อ
ข้ อความนันเป็ ้ นคําพูดหรื อความนึกคิด
3) ! อัศเจรี ย์ เครื่ องหมายที่ใช้ เขียนหลังคําอุทาน หรื อข้ อความที่แสดงให้ เห็นถึง
อารมณ์ตา่ ง ๆ และคําที่เลียนเสียงธรรมชาติ
4) . มหัพภาค เครื่ องหมายที่ใช้ เขียนไว้ หลังอักษรย่อ ตัวเลข
5) ? ปรัศนี เครื่ องหมายที่ใช้ เขียนท้ ายประโยคที่มีใจความเป็ นคําถาม
6) , จุลภาค, ลูกนํ ้า เครื่ องหมายที่ใช้ เขียนคัน่ คําหรื อข้ อความที่อยู่ในประโยคเดียวกัน
7) () นขลิขิต เครื่ องหมายใช้ เขียนเพื่ออธิบายหรื อขยายข้ อความที่อยู่ข้างหน้ า
8) ฯลฯ ไปยาลใหญ่ เครื่ องหมายใช้ เขียนไว้ หลังข้ อความที่จะมีตอ่ ไปอีกมากและเป็ น
ประเภทเดียี วกัน
9) ฯ ไปยาลน้ อย เครื่ องหมายที่ใช้ เขียนไว้ ข้างหลังคําที่เป็ นที่ร้ ูจกั กันโดยทัว่ ไป
โดยเขียนไว้ ส่วนหน้ าของคําและละส่วนหลังไว้
10) ____ สัญประกาศ เครื่ องหมายที่ใช้ เขียนไว้ ใต้ ตวั อักษร คํา หรื อข้ อความที่ต้องการ
ให้ ผ้ อู ่านสังเกตเป็ นพิเศษ
11) = เสมอภาค เครื่ องหมายที่ใช้ เขียนระหว่างคํา/ข้ อความ แสดงว่าคําหรื อข้ อความ
ทังสองข้
้ างเท่ากันหรื อเหมือนกัน
12) - ยัตภิ งั ค์ เครื่ องหมายใช้ เขียนแสดงการติดต่อของคําหรื อพยางค์ที่แยกจากกัน
13) ๆ ไม้ ยมก เครื่ องหมายใช้ เขียนไว้ หลังคํา/ข้ อความ เพื่อให้ อ่านคํา/ข้ อความ
ซํ ้ากันสองหน แต่ต้องเป็ นคําหรื อข้ อความชนิดเดียวกัน
14) / ทับ เครื่ องหมายใช้ แบ่งคํา, ข้ อความ หรื อตัวเลขออกเป็ นสองส่วน
อักษรนําพยางค์ เดียว
อย่า อยู่ อย่าง อยาก
หนา หมู หนู เหม็น
หลวม แหลม หลับ หลัก
หนา ใหญ่ หงาย หนัง
หน้ า หลัง หวาน หลาน
หนอ แหลม หน่อย ไหน
อักษรนํา 2 พยางค์
ขยัน อ่านว่า ขะ-หยัน
ถนอม อ่านว่า ถะ-หนอม
ไฉน อ่านว่า ฉะ-ไหน
เฉลียว อ่านว่า ฉะ-เหลียว
ฉลาด อ่านว่า ฉะ-หลาด
ขยับ อ่านว่า ขะ-หยับ
เขยื ้อน
เขยอน อ่านว่า
อานวา ขะ-เหยื
ขะ เหยอน ้อน
ขยะ อ่านว่า ขะ-หยะ
แขยง อ่านว่า ขะ-แหยง
สมํ่าเสมอ อ่านว่า สะ-หมํ่า-สะ-เหมอ
ขมีขมัน อ่านว่า ขะ-หมี-ขะ-หมัน
สว่าง อ่านว่า สะ-หว่าง
ไสว อ่านว่า สะ-ไหว
สมัคร อ่านว่า สะ-หมัก
สมาน อ่านว่า สะ-หมาน
เฉลิม อ่านว่า ฉะ-เหลิม
ฉลอง อ่านว่า ฉะ-หลอง
เถลไถล อ่านว่า ถะ-เหล-ถะ-ไหล
เอร็ ดอร่ อย อ่านว่า อะ-เหร็ ด-อะ-หร่ อย
ขยาย อ่านว่า ขะ-หยาย
ฉลวย อ่านว่า ฉะ-หลวย
ขนม อ่านว่า ขะ-หนม
อักษรนํา 2 พยางค์
ตลาด อ่านว่า ตะ-หลาด
สนาม อ่านว่า สะ-หนาม
ถนน อ่านว่า ถะ-หนน
ฉวี อ่านว่า ฉะ-หวี
ขนุน อ่านว่า ขะ-หนุน
สมุด อ่านว่า สะ-หมุด
ขนาน อ่านว่า ขะ-หนาน
ตลับ อ่านว่า ตะ-หลับ
ผวา อ่านว่า ผะ-หวา
จรวด อ่านว่า จะ-หรวด
คําพ้ องเสียง
คําพ้ องเสียง
- คําที่อา่ นออกเสียงเหมือนกัน
- แต่เขียนต่างกัน
- ความหมายต่างกัน
อ่ านว่ า กาน
กาญจน์ กาน ทอง
กานท์ กาน บทร้ อยกรอง
การณ์ กาน เหตุ
การ กาน กิจ, งาน, ธุระ
กาน กาน ตัด
กานต์ กาน ที่รัก
กาล กาน เวลา
กาฬ กาน ดํา
อ่ านว่ า พัน
พันธุ์ พัน วงศ์วาน
พรรณ พัน ชนิด, สีสี
พัน พัน ผูกพันกัน, สิบร้ อย
พันธ์ พัน ผูก, มัด
ภัณฑ์ พัน สิ่งของ
อ่ านว่ า สัน
สันต์ (สุขสันต์) สรรค์ (สร้ างสรรค์) สรร (จัดสรร) สัน (สันมีด, สีสนั )
สัณฑ์ (ไพรสัณฑ์) โศกศัลย์
อ่ านว่ า ซ่ อม
ส้ อม (ช้ อนส้ อม) ซ่อม (ซ่อมแซม)
อ่ านว่ า บาด
บาด (ระบาด / มีดบาด) บาตร (ตักบาตร) บาต (บิณฑบาต) บาท (เงินบาท)
อ่ านว่ า สัด
สัด (ติดสัด) สัตว์ (สัตว์เลี ้ยง / สัตว์ป่า) สัตย์ (ซื่อสัตย์ / คําสัตย์)
อ่ านว่ า น่ า
น่า (น่ารัก / น่าเกลียด / น่าสงสาร) หน้ า (ใบหน้ า / หน้ าตา / หน้ าปก / ข้ างหน้ า / หน้ า
ร้ อน / หน้ าฝน / หน้ าหนาว)
อ่ านว่ า สุก
สุก (มะม่วงสุก) สุข (ความสุข) ศุกร์ (วันศุกร์ / ดาวศุกร์ )
อ่ านว่ า จัน
จัน (ดอกจัน / ลูกจัน) จันทน์ (ต้ นจันทน์ / ถนน จันทร์ (วันจันทร์ / ดวงจันทร์ / พระจันทร์ / อัฒจันทร์ )
จันทน์)
อ่ านว่ า สับ
สับ สรรพ (สรรพสินค้ า / สรรพ ศัพท์ (โทรศัพท์) สัป (สัปหงก /สัปเหร่อ)
นาม)
อ่ านว่ า สิน
สิญจน์ (สายสิญจน์) สิน (ทรัพย์สิน) ศิลป์ (หัวศิลป์ )
อ่ านว่ า พุด
พุด (ดอกพุด) พุธ (วันพุธ) พุทธ (พระพุทธ)
อ่ านว่ า ขัน
ขันธ์ ขรรค์ (พระขรรค์) ขัน (น่าขัน / ขบขัน / ขันนํ ้า)
อ่ านว่ า พัน
ภัณฑ์ (พิพิธภัณฑ์ / สังฆภัณฑ์) พันธ์ (กุมภาพันธ์ / ประชาสัมพันธ์)
พัน (เกี่ยวพัน / ผูกพัน) พันธุ์ (พืชพันธุ์) พรรณ (ผิวพรรณ / พรรณไม้ )
อ่ านว่ า กัน
กัน กัณฐ์ (ทศกัณฐ์ ) กรรณ (พระกรรณ) กรร (กรรไกร)
กรรจ์ (ฉกรรจ์)
อ่ านว่ า หาน
หาร (บวก ลบ คูณ หาร) หาญ (กล้ าหาญ) หาริ ย์ (ปาฎิหาริ ย์) หาริ ย์ (ปาฎิหาริ ย์)
อ่ านว่ า สาน
สาน (จักสาน) สาร (นิตยสาร / วรสาร) ศาล (ศาลยุติธรรม / ศาลฏีกา)
อ่ านว่ า สูน
ศูนย์ (เลขศูนย์ / ศูนย์กลาง) สูญ (สูญเสีย / สูญหาย / สาบสูญ)
อ่ านว่ า พึ่ง
พึง่ (พึง่ พา) ผึ ้ง (ผึ ้งต่อย)
อ่ านว่ า เท่ า
เท่า (เท่ากัน / เท่าเทียม) เถ้ า (ขี ้เถ้ า / เถ้ าถ่าน) เฒ่า (ผู้เฒ่า / แก่เฒ่า)
อ่ านว่ า ทุก
ทุก (ทุกวัน) ทุกข์ (ความทุกข์)
อ่ านว่ า ขัน้
ขั ้น (ขั ้นบันได) คัน่ (คัน่ หนังสือ)
อ่ านว่ า เยา
เยา (ย่อมเยา) เยาว์ (วัยเยาว์)
อ่ านว่ า โจด
โจษ (โจษจัน) โจทก์ (โจทก์จําเลย) โจทย์ (โจทย์ปัญหา)
อ่ านว่ า กาด
กาจ (เก่งกาจ) กาศ (อากาศ, อวกาศ, กาด (ผักกาด)
ประกาศ)
อ่ านว่ า สง
พระสงฆ์ ประสงค์ สรงนํ ้า
อ่ านว่ า พด
บรรพต พระภรต ไม้ ตะพด
อ่ านว่ า ย่ า
ต้ นหญ้ า คุณย่า
อ่ านว่ า พิด
เพ่งพิศ พิศมัย
อ่ านว่ า ค่ า
ฆ่า ข้ า ค่า
อ่่ านว่่ า คันั
คัน (คันนา, ตัวคัน) ครรภ์
ภาษาไทย สรุ ปอ่ านจับใจความ ป.4 สอบครั ง้ ที่ 2
ภาษาพาที บทที่ 6 โอมพินิจมหาพิจารณา
1. "จดหมายลูกโซ่" หมายความว่าอย่างไร
ตอบ จดหมายที่ส่งไปมาไม่ร้ ูจบ
2. เพราะเหตุใดปองสิทธิ์จงึ ไม่ช่วยจิตงามเขียนจดหมายลูกโซ่
ตอบ เพราะเห็นว่าเป็ นเรื่ องไร้ สาระ
3. ในคําสัง่ ของจดหมายลูกโซ่สงั่ ให้ จิตงามเขียนตอบกี่ฉบับ และภายในกี่วนั
ตอบ เขียน 24 ฉบับ ภายใน 1 สัปดาห์
4. "ถ้ าท่ านไม่ ทาํ ตามนี ้ ภัยพิบัติจะมาถึงท่ าน" คําที่ขีดเส้ นใต้ หมายความว่าอย่างไร
ตอบ ทุกข์ภยั ไข้ เจ็บ
5. คนที่ไม่มีเหตุผลเมื่อได้ รับจดหมายลูกโซ่จะรู้สกึ อย่างไร
ตอบ รู้สกึ กลัว
6. นักเรี ยนได้ ข้อคิดอะไรจากเรื่ อง "โอม...พินิจมหาพิจารณา"
ตอบ ควรคิดก่อนที่จะเชื่อใคร
7. สิ่งที่ปรากฎในจดหมายลูกโซ่ท่ีมีผลต่อคนที่ขาดความเชื่อมัน่ คือสิ่งใด
ตอบ คําขู่ในจดหมายลูกโซ่
8. เหตุการณ์ใดแสดงให้ เห็นว่าจิตงามกําลังตกเป็ นเครื่ องมืของคนที่ไม่หวังดี
ตอบ จิตงามยอมเขียนจดหมายลูกโซ่
9. เพราะเหตุใดจิตงามจึงไม่ได้ ออกไปวิ่งเล่น
ตอบ เพราะจิตงามกลัวในคําขู่จงึ รี บเขียนจดหมายให้ เสร็ จตามเงื่อนไขที่กําหนด
10. เมื่อได้ ฟังคําอธิบายของแม่ว่าแม่เคยได้ รับจดหมายลูกโซ่ในสมัยเด็กแล้ ว จิตงามทําอย่างไร
ตอบ เลิกเขียนจดหมายลูกโซ่
11. คนที่หลงเชื่ออะไรง่าย ๆ แสดงว่าเป็ นคนอย่างไร
ตอบ หูเบา หัวอ่อน ขาดความเชื่อมัน่ ในตนเอง
12. โอม! พินิจมหาพิจารณา สติมา ปั ญญามี หมายความว่าอย่างไร
ตอบ คนที่มีสติจะเกิดปั ญญา คิดทําอะไรได้ สําเร็ จ
13. คําว่า "หวังลม ๆ แล้ ง ๆ" หมายความอย่างอย่างไร
ตอบ ตังความหวั
้ งในสิ่งที่ยากจะเป็ นไปได้
14. การที่เราจะเชื่อสิ่งใดนันจะต้
้ องกระทําอย่างไร
ตอบ คิดพิจารณาใช้ สติให้ รอบคอบ
15. การที่พ่อแม่อบรมแล้ วจิตงามปฏิบตั ติ าม แสดงว่าจิตงามเป็ นคนอย่างไร
ตอบ ว่านอนสอนง่าย
16. หากนักเรี ยนได้ รับจดหมายลูกโซ่นกั เรี ยนจะทําอย่างไร
ตอบ ไม่เขียนตอบเพราะไร้ สาระ
17. เมื่อพบว่าเพื่อนมีความเชื่อที่ไม่สมเหตุสมผล เราควรปฏิบตั อิ ย่างไร
ตอบ นิ่งฟั งเขาก่อน
18. ผู้ใหญ่บางคนเห็นอะไรแปลก ๆ แล้ วมาตีเป็ นตัวเลขแสดงว่าเป็ นคนอย่างไร
ตอบ ไม่มีเหตุผล
19. นักเรี ยนได้ ข้อคิดอะไรจากเรื่ อง "โอม! พินิจมหาพิจารณา"
ตอบ ก่อนที่เราจะเชื่อสิ่งใดควรคิดพิจารณาใช้ สติให้ รอบคอบเสียก่อน
20. ปองสิทธิ์เป็ นคนอย่างไร
ตอบ ไม่เชื่อคนง่ายมีความคิดพิจารณารอบคอบ
ภาษาพาทีบทที่ 7 แรงพิโรธจากฟ้ าดิน
1. เพราะเหตุใดชาวบ้ านจึงอพยพเข้ าเมือง
ตอบ เพราะเกิดความแห้ งแล้ งในถิ่นที่อยู่
2. สาเหตุใดที่ทําให้ หมูบ่ ้ านของแตงอ่อนเกือบจะเกิดอัคคีภยั
ตอบ มีคนต้ มยากินแล้ วลืมดับไฟทําให้ ไฟลุกลามไปล้ อมรอบหมูบ่ ้ าน
3. เมื่อชาวบ้ านไม่มีแหล่งทํากิน ชาวบ้ านส่วนใหญ่จะทําอย่างไร
ตอบ 1. ขึ ้นเขา เข้ าป่ าไปตัดต้ นไม้ น้อยใหญ่ทําฟื นขาย
2. ไปหางานในเมืองทํา
4. "ฝนตกหนักไม่หยุดและตกติดต่อกันทังวั ้ นทังคื
้ น" จากข้ อความนี ้จะเกิดภัยธรรมชาติที่เรี ยกว่าอย่างไร
ตอบ อุทกภัย
5. จุดประสงค์ของการทําพิธีแห่นางแมวคืออะไร
ตอบ ให้ ฝนตกลงมา
6. "จากเหตุการณ์เมื่อมีคนมาต้ มยากิน แล้ วลืมดับไฟทําให้ ไฟลุกลามไปล้ อมรอบหมูบ่ ้ านคนในหมูบ่ ้ าน
ต่างมาช่วยกันดับไฟ" แสดงให้ เห็นคุณธรรมใด
ตอบ สสามัคั คีี
7. ประเพณีแห่งนางแมวเกิดขึ ้นเนื่องจากภัยใด และเกิดขึ ้นที่ภมู ภิ าคใดของไทย
ตอบ ทุพภิกขภัย ภาคอีสาน
8. จากเรื่ องแรงพิโรธจากฟ้าดิน เหตุการณ์ใดตรงกับคํากล่าวที่ว่า "หวังไปตายเอาดาบหน้ า"
ตอบ ชาวบ้ านไม่มีแหล่งทํากิน จึงทิ ้งหมูบ่ ้ านไปหางานทําในเมือง
9. โทษของการตัดไม้ ทําลายป่ า ส่งผลให้ เกิดภัยธรรมชาติที่เรี ยกว่าอะไร
ตอบ ทุพภิกขภัย
10. จากเรื่ อง "แรงพิโรธจากฟ้าดิน" สิ่งใดที่เปรี ยบเสมือนว่าฝนได้ ตกแล้ วตามคําร้ องขอ
ตอบ สายนํ ้าที่ผ้ คู นสาดใส่กรงแมว
11. เพราะเหตุใดดินจึงไม่ไหลถล่มหมูบ่ ้ านของแตงอ่อนเมื่อเกิดอุทกภัย
ตอบ เพราะมีบงึ ขนาดใหญ่ขวางอยู่ดนิ จึงไหลลงไปในบึง จนเห็นนํ ้าเอ่อขึ ้นมาถึงขอบ
12. อุทกภัย วาตภัย อัคคีภยั ทุพภิกขภัย หมายถึง
ตอบ อุทกภัย - ภัยที่เกิดจากนํ ้าท่วม วาตภัย - ภัยที่เกิดจากลม
อัคคีภยั - ภัยที่เกิดจากไฟไหม้ ทุพภิกขภัย - ภัยที่เกิดจากความแห้ งแล้ ง
13. พิธีแห่นางแมวมีขึ ้นในเวลาใด และจัดขึ ้นเพื่ออะไร และจัดขึ ้นเนื่องจากภัยใด
ตอบ ตอนสาย จัดเพื่อขอให้ ฝนตก เนื่องจากเกิดทุพภิกขภัย
14. ฝนตกหลังแห่นางแมวกี่วนั และภูมอิ ากาศเป็ นอย่างไร
ตอบ 3 วัน ท้ องฟ้าที่เคยสว่างใส จะกลับมีเมฆครึม้ อากาศร้ อนอบอ้ าว และไม่ช้าฝนจะตกลงมา
15. เมื่อเกิดนํ ้าท่วมหนักชาวบ้ านนําสัตว์เลี ้ยงอพยพมาอาศัยอยู่ที่ไหน
ตอบ บนทางหลวง
16. สาเหตุสําคัญที่ทําให้ เกิดโคลนถล่มลงมาคือ
ตอบ ไม่มรี ากต้ นไม้ คอยยึดดิน
17. ข้ อคิดที่ได้ จากเรื่ องนี ้คือ
ตอบ 1. การตัดไม้ ทําลายป่ าทําให้ เกิดภัยธรรมชาติ
2. มนุษย์ต้องเรี ยนรู้ที่จะอนุรักษ์ ธรรมชาติเพื่อป้องกันภัยธรรมชาติ
18. การเปลี่ยนหลังคาเป็ นสังกะสีในหมูบ่ ้ านของแตงอ่อนอยู่สมั พันธ์กบั ภัยด้ านใด
ตอบ วาตภัย
19. "ตามความเชื่อที่ว่าเมื่อทําพิธีนี ้แล้ วฝนจะตก" คือพิธีใด
ตอบ พิธีแห่นางแมว
20. ธรณีพิบตั ภิ ยั เป็ นอันตรายเกิดจากสิ่งใด
ตอบ ภัยที่เกิดจากแผ่นดินนไไหว หว
21. ก่อนเกิดเหตุการณ์พายุฤดูร้อนขึ ้นในหมูบ่ ้ านของแตงอ่อนจะมีลกั ษณะภูมอิ ากาศอย่างไร
ตอบ อากาศร้ อนอบอ้ าวติดต่อกันหลายวันลมสงบ ไม้ ไม่สนั่ ไหว
22. เพราะเหตุใดผู้คนในหมูบ่ ้ านของแตงอ่อนจึงเริ่ มป่ วยกระเสาะกระแสะ
ตอบ เพราะดื่มกินนํ ้าบ่อที่ไม่สะอาด ไม่มีใครสนใจสุขอนามัย
23. เพราะเหตุใดชาวบ้ านจึงขึ ้นเขาเข้ าป่ าตัดต้ นไม้ มาทําฟื นขาย
ตอบ เพราะไม่มีแหล่งทํากิน
24. เมื่อฝนฟ้าไม่ตกต้ องตามฤดูกาลจะเกิดภัยธรรมชาติใด
ตอบ ทุพภิกขภัย
25. เพราะหมูบ่ ้ านของแตงอ่อนตังอยู ้ ่ในที่ดอนจึงเกิดผลดีอย่างไร
ตอบ เมื่อฝนหยุดตก นํ ้าค่อย ๆ แห้ งพื ้นดินจะชุ่มนํ ้า ทําให้ ขดุ พรวนได้ ง่าย ปุ๋ ยที่มากับนํ ้ามีมาก
26. เรื่ องแรงพิโรธจากฟ้าดิน อ่านแล้ วเข้ าใจว่าเหตุการณ์นี ้เกิดขึ ้นที่ภาค "อีสาน"
ดรุ ณศึกษาบทที่ 32 นายขนมต้ ม
1. พระเจ้ ามังระทําอย่างไร เพื่อเป็ นการให้ ขวัญและกําลังใจแก่นายทัพ นายกองที่ไปรบจากเมืองไทยมา
ตอบ จัดให้ มีงานมหรสพสมโภชต่าง ๆ มีร้องเล่น เต้ นรํ า มวยปลํ ้า เพื่อเป็ นการสร้ างขวัญ กําลังใจให้
แก่นายทัพนายกองที่ไปศึกจากเมืองไทย
2. นายขนมต้ มมีลกั ษณะเด่นในเรื่ องใด
ตอบ มีฝีมือด้ านการชกมวยไม่แพ้ ใคร
3. บอกสาเหตุที่ทําให้ ไทยเสียกรุงแก่พม่า
ตอบ 1. ผู้นําของไทยอ่อนแอ
2. หวาดระแวงสงสัยข้ าราชการน้ อยใหญ่จะเป็ นใจกับข้ าศึกให้ ใช้ อาวุธ **
4. จากเรื่ องนายขนมต้ ม ถ้ าเปรี ยบกับกีฬาไทยในปั จจุบนั หมายถึงกีฬาชนิดใด
ตอบ มวยไทย
5. จากเรื่ องนายขนมต้ ม กล่าวเน้ นให้ เห็นความสําคัญในเรื่ องใด
ตอบ ผู้นําของคนหมูม่ าก
6. เพราะเหตุใดพระเจ้ ามังระจึงได้ จดั งามสมโภชต่าง ๆ ขึ ้น
ตอบ เพืื่อทํําให้้ ทหารเป็ป็ นขวัญ
ั กํําลังั ใจ
7. เพราะเหตุใดพระเจ้ าสุริยามริ นทร์ จงึ ไม่แจกจ่ายอาวุธให้ กบั ทหาร
ตอบ กลัวทหารจะไปเข้ าข้ างพม่า
8. ขุนหลวงตากมีความสําคัญต่อบ้ านเมืองอย่างไร
ตอบ ป้องกันบ้ านเมือง กอบกู้เอกราชคืนมาให้ กบั ชาติไทย
9. "ศิ ษย์ จะรู้ก็เพราะครู ท่านเร้ารุก ราษฎรจะสุขเพราะกษัตริ ย์ท่านคุม้ ขัง" ข้ อความนี ้หมายความว่า
ตอบ ลูกศิษย์จะมีวิชาความรู้เพราะมีครูคอบอบรมสัง่ สอน ราษฎรจะมีความสุขก็เมื่อมีกษัตริ ย์ที่เข้ มแข็ง
คอยดูแลปกป้อง
10. เรื่ อง นายขนมต้ ม ต้ องการให้ เห็นความสําคัญของสิ่งใด
ตอบ การเป็ นผู้นําขอคนหมูม่ ากต้ องมีความสามารถ เข้ มแข็ง และ กล้ าหาญ
11. พระที่นงั่ สุริยามริ นทร์ มีความบกพร่ องในเรื่ องใดจึงทําให้ เสียเมือง
ตอบ อ่อนแอ หวาดระแวง ***
12. "เพื่อให้ เกิดความโสมนัสรื่ นเริ งแก่นายทัพนายกอง" โสมนัสหมายถึง
ตอบ ความสุข ดีใจ
13. ข้ อคิดที่ได้ จากเรื่ องนายขนมต้ มคืออะไร
ตอบ การจะทําอะไรด้ วยคนหมูม่ ากจะสําเร็ จหรื อไม่ ขึ ้นอยู่กบั การมีหวั หน้ าที่เข้ มแข็ง
14. นายขนมต้ มแสดงความสามารถต่อหน้ าพระเจ้ าอังวะอย่างไร
ตอบ ชกมวยชนะทหารพม่าถึงเก้ าคนสิบคน
15. "พวกชาวบ้ านบางระจันที่รวมตัวกันตังค่ ้ ายสู้รบได้ ชยั ชนะทหารพม่าถึงเจ็ดครัง้ "
จากข้ อความนี ้ทําให้ เราเห็นถึงคุณธรรมใด
ตอบ ความสามัคคี
16. "ไทยมีพิษทัว่ ทังตั
้ ว แต่มือเปล่า ไม่มีอาวุธเลย คนเดียวยังต่อสู้เอาชนะได้ ถึงเก้ าคนสิบคน"
ประโยคนี ้หมายความว่าอย่างไร
ตอบ คนไทยมีความสามารถด้ านการชกมวยแม้ มือเปล่าไม่มีอาวุธก็สามารถเอาชนะได้ ถึง 9 คน 10 คน
17. จึงจะสมกับ ขัตติยราชประเพณีแต่ก่อน" คําที่ขีดเส้ นใต้ หมายความว่าอย่างไร
ตอบ ประเพณีที่พระมหากษัตริ ย์ปฏิบตั สิ ืบต่อมา
18. คุณธรรมใดที่ทําให้ กลุม่ ชาวบ้ านบางระจันและพวกคริ สตังวัดนักบุญโจแซฟสามารถสู้รบกับพม่าได้
ตอบ ความสามัคคี
19. เพราะเหตุใดพระเจ้ าสุริยามริ นทร์ จงึ ไม่สงั่ ให้ ทหารยิงปื นใหญ่ตอบโต้ พม่า
ตอบ เพราะนางในทูลอ้ อนวอนมิให้ ยิงตอบพม่า
20. "นี
"นเพราะเจานาย
่เพราะเจ้านายไม่
ไมไได้ดจงตองเ
จงึ ต้ องเสีสยเมอง
ยเมือง"" เป็
เปนคาพู
นคําพดของใคร
ดของใคร คํคาทขดเ
าที่ขีดเส้สนใ
นใต้ตหมายถง
หมายถึงใคร
ใคร
ตอบ คําพูดของพระเจ้ าอังวะ เจ้ านายหมายถึง พระเจ้ าสุริยามริ นทร์
21. "ไทยมีพิษทัว่ ทังตั
้ ว แต่มือเปล่า ไม่มีอาวุธเลย คนเดียวยังต่อสู้เอาชนะได้ ถึงเก้ าคนสิบคน"
ข้ อความนี ้ใครเป็ นคนพูด และกล่าวชมใคร
ตอบ คําพูดพระเจ้ าอังวะ กล่าวชมนายขนมต้ ม
22. ในแผ่นดินพระเจ้ าสุริยามริ นทร์ คนไทยได้ รับความโทมนัสเนื่องจากสาเหตุใด
ตอบ เนื่องจากไทยเสียกรุงแก่พม่าครอบครัวคนไทยถูกกวาดต้ นไปเป็ นเชลย
ดรุ ณศึกษาบทที่ 34 ฉลองพระบาทเกีย๊ ะ
1. จากเรื่ อง "ฉลองพระบาทเกี๊ยะ" ผู้แต่งมีจดุ ประสงค์จะสอนอะไรแก่นกั เรี ยน
ตอบ ให้ เป็ นผู้มีความกตัญญู ตอบแทนบุญคุณแก่ผ้ มู ีพระคุณ
2. ที่มาของการเล่าเรื่ องฉลองพระบาทเกี๊ยะ คืออะไร
ตอบ ความสงสัยที่พ่อหลินเห็นชาวจีนใส่รองเท้ าเกี๊ยะกันทัว่ เมือง
3. เหตุการณ์ใดแสดงให้ เห็นว่าตัวละครในเรื่ องนี ้ ทําดีแล้ วไม่หวังสิ่งตอบแทน
ตอบ กายจือฉุยเห็นพระเจ้ าต๋งนี่พ้นทุกข์มีความสุขแล้ ว ก็ไปช่วยแม่ทํามาหากิน ไม่มารับรางวัล
เมื่อพระเจ้ าต๋งนี่ตามหาตัว ก็รีบไปซ่อนตัวในป่ า
4. จากเรื่ องนี ้การกระทําใดบงบอกว่ากายจือฉุยเป็ นคนกตัญญู ซื่อสัตย์ และรักเจ้ านาย
ตอบ ติดตามเจ้ านายที่ได้ รับความลําบากยอมเสียสละ ตัดกล้ ามเนื ้อแขนเพื่อนําไปประทําความหิว
5. การกระทําใดที่บ่งบอกว่าพระเจ้ าต๋งนี่ เป็ นคนที่มีความกตัญญูร้ ูบญ ุ คุณของกายจือฉุย
ตอบ ให้ ตดั ต้ นไม้ ที่กายจือฉุยตายอยู่นนมาทํ ั้ าฉลองพระบาทเกี๊ยะเพื่อจะได้ ระลึกถึงบุญคุณกายจือฉุย
6. เหตุใดพ่อหลินจึงเกิดความสงสัยเรื่ องรองเท้ าเกี๊ยะ
ตอบ เพราะเห็นคนจีนใส่เกือกไม้ เดินดังเกี๊ยะ ๆ แปลกหู
7.
7 เพราะเหตุใดกายจืือฉุยจึงึ ไม่ย่ อมออกมารัับรางวัลั
ตอบ เพราะไม่หวังสิ่งตอบแทน
8. สิ่งใดที่ทําให้ พระเจ้ าต๋งนี่ได้ ระลึกถึงกายจือฉุยอยู่ทกุ เมื่อ
ตอบ เสียงของฉลองพระบาทเกี๊ยะ
9. นักเรี ยนควรเอาตัวอย่างจากพวกคนจีนในเรื่ องคุณธรรมใด
ตอบ ความกตัญญู
10. เพราะเหตุใดกายจือฉุยจึงกลับไปช่วยแม่ทอเสื่อขาย
ตอบ เพราะพระเจ้ าต๋งนี่พ้นทุกข์ กลับไปครองราชย์แล้ ว **
11. หลังจากพระเจ้ าต๋งนี่กลับมาครองราชย์แล้ ว กายจือฉุยทําอะไรต่อไป
ตอบ ช่วยมารดาทดเสื่อเลี ้ยงชีพ
12. เมื่อทหารกราบทูลพระเจ้ าต๋งนี่ว่า พบโครงกระดูกอยู่ที่โคนต้ นไม้ พระเจ้ าต๋งนี่ทําอย่างไร
ตอบ ให้ ตดั ต้ นไม้ ต้นนันมาทํ
้ าฉลองพระบาทเกี๊ยะ
13. กายจือฉุยทราบข่าวว่าพระเจ้ าต๋งนี่ออกตามหา กายจือฉุยทําอย่างไร
ตอบ ซ่อนตัวในป่ า
14. เพราะเหตุใดพระเจ้ าต๋งนี่ถึงลําบากตรากตรํ า
ตอบ เพราะมีคนกราบทูลพระบิดาว่าพระเจ้ าต๋งนี่เป็ นกบฎ
15. เพราะเหตุใดพระเจ้ าต๋งนี่จงึ คิดกลอุบายให้ ทหารเอาไฟเผาป่ า
ตอบ เพราะหวังให้ กายจือฉุยหนีออกมา
16. พ่อหลินลูกนายพรหมเห็นพวกจีนใส่เกือกไม้ เดินดังเกี๊ยะ จึงไปถามตาจินแส จากข้ อความนี ้
แสดงให้ เห็นว่าพ่อหลินมีนิสยั อย่างไร
ตอบ ช่างสังเกต ใฝ่ เรี ยนรู้
17. พระเจ้ าต๋งนี่กลับมาครองราชสมบัตไิ ด้ อย่างไร
ตอบ บิดามารดาพระเจ้ าต๋งนี่สวรรคต
18. พระเจ้ าต๋งนี่และกายจือฉุยมีคณ ุ ธรรมใดที่เหมือนกัน
ตอบ ความกตัญญู
19. พ่อหลินลูกนายพรหมเป็ นเด็กแปลกประหลาดอย่างไร
ตอบ ถ้ าเขาไม่เข้ าใจอะไรจะทนนิ่งไว้ ไม่ได้ ต้ องถามเอาเรื่ องจนได้
20. การกระทําใดของพระเจ้ าต๋งนี่ที่เป็ นการแสดงถึงการระลึกถึงคุณงามความดีของกายจือฉุย
ตอบ สัง่ ใหทหารตัดต้ นไม้ ที่กายจือฉุยตายอยู่ใกล้ ๆ นันมาทํ ้ าฉลองพระบาทเกี๊ยะ
21. นักเรี ยนได้ ข้อคิดอะไรจากเรื่ องฉลองพระบาทเกี๊ยะ
ตอบ ควรมีความกตัญญู ญต่ตอ่ ผูผ้้ มีพระคณ
ระคุณ
22. ใครเป็ นคนเล่าเรื่ องฉลองพระบาทเกี๊ยะให้ พ่อหลินฟั ง
ตอบ ตาจินแส

1. เจ๊ ก คําเรี ยกคนจีน 6. ซื่อสัตย์ ประพฤติตรงและจริ งใจ ไม่คดิ คดทรยศ


2. จินแส ซินแส, หมอ, ครู 7. อกตัญญู ผู้ไม่ร้ ูอปุ การคุณที่ท่านทําแก่ตน
3. สายัณห์ เวลาเย็น 8. สะดุ้ง ไหวตัวขึ ้นทันทีด้วยความตกใจ
4. อิดโรย อ่อนเพลีย, ละเหี่ย 9. ระลึก คิดถึง หรื อนึกถึงเรื่ องราวในอดีตได้
5. สงเคราะห์ การช่วยเหลือ 10. ฉลองพระบาทเกี๊ยะ รองเท้ าเกี๊ยะ
วรรณคดีลาํ นําบทที่ 4 เรื่องเล่ าจากพัทลุง
1. ผู้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่ องเงาะป่ าคือใคร
ตอบ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั
2. ตัวละครเรื่ องเงาะป่ าให้ ความรู้เกี่ยวกับการดําเนินชีวิตของชนเผ่าใด
ตอบ เผ่าซาไก อยู่บนภูเขาสูงในจังหวัดพัทลุง
3. ชนเผ่าในเรื่ องเงาะป่ าอาศัยอยู่ภาคใดของประเทศไทย
ตอบ ภาคใต้
4. ยกตัวอย่างคําศัพท์พืชในภาษาก๊ อย
ตอบ อเวย์ กายัง จอเฮ็ด
5. จุดเด่นของพระราชนิพนธ์เงาะป่ ามีอะไรบ้ าง
ตอบ กล่าวถึงธรรมชาติที่สวยงาม ความอุดมสมบูรณ์ของป่ า ที่เต็มไปด้ วยสัตว์น้อยใหญ่
การแสดงให้ เห็นลักษณะการดํารงชีวิตของชนเผ่าซาไก
6. ชนพื ้นเมืองที่อาศัยอยู่ในป่ าทางภาคใต้ ของไทย คือ
ตอบ เงาะป่ า
7 คนปัปั กษ์์ ใต้้ ชอบเรีี ยกจังั หวัดั พัทั ลุงว่่าอย่่างไร
7.
ตอบ เมืองลุง
8. ที่บ้านเกิดของพ่อมีลกั ษณะภูมปิ ระเทศเป็ นอย่างไร
ตอบ มีภเู ขาทะเลป่ าไม้ นาข้ าว สวนยางพารา
9. เหตุใดน้ องชายจึงอยากเป็ นเจ้ าเงาะน้ อย
ตอบ จะได้ เที่ยวสนุกไม่ต้องไปโรงเรี ยน ไม่ต้องทําการบ้ าน
10. "ครัง้ ได้ มากมายหลายสิบนก ต่างอิ่มอกปรี ดเิ์ ปรมเกษมศานต์
ดึงเถาวัลย์พนั ผูกกล้ องแทนคาน พาดไหล่แล่นทะยานเหย่าครรไล
จากบทประพันธ์นี ้มีความหมายอย่างไร
ตอบ เมื่อทังสองเป่
้ านกได้ จํานวนมากแล้ ว ดึงเถาวัลย์มาผูกนกกับกล้ อง
11. "เห็นฝูงปลามาเป็ นพรวนทวนกระแส สองเงาะแบมือจ้ องเที่ยวมองจับ
เหยียบศิลากลิ ้งกลมลื่นล้ มพับ ลงนอนทับกันงอนหง่อหัวร่ อริ ก
จากบทประพันธ์นี ้แสดงให้ เห็นว่าสมัยก่อนในนํ ้ามีความอุดมสมบูรณ์อย่างไร
ตอบ มีปลาอยู่อย่างชุกชุม สามารถจับมาประกอบอาหารได้
12. ภาษาของชนเถ่าซาไกใช้ เรี ยกว่าภาษาใด
ตอบ ภาษาก๊ อย
13. นักเรี ยนได้ ข้อคิดใดจากเรื่ อง "เรื่ องเล่าจากพัทลุง"
ตอบ เงาะป่ ามีความสุขเมื่ออยู่ท่ามกลางธรรมชาติที่สวยงาม
ความรักเป็ นเรื่ องบังคับใจไม่ได้
14. เงาะน้ อยไม่ต้องไปโรงเรี ยนไม่ต้องทําการบ้ าน แต่พวกเขาต้ องทําสิ่งใดที่เปรี ยบเหมือนพวกเขาได้
ไปโรงเรี ยนเหมือนกัน
ตอบ ไปเรี ยนรู้ในป่ า เรี ยนรู้การมีชีวิตรอดในป่ า
15. ชื่อเมืองทางใต้ ของไทยมีอะไรบ้ าง ยกตัวอย่าง 3 ชื่อ
ตอบ เมืองคอน เมืองตะกัว่ ป่ า เมืองนรา เมืองลุง
16. ศิลปะการแสดงของภาคใต้ มีอะไรบ้ าง ยกตัวอย่างมา 3 ชื่อ
ตอบ หนังตะลุง รํ ามโนราห์ ลิเกฮูลู
17. ที่มาของเรื่ อง "เงาะป่ า" มาจากเด็กชายชาวเงาะคนหนึง่ ที่มชี ื่อว่าอะไร
ตอบ คนัง
18. ดอกแคอ่านเรื่ อง "เงาะป่ า" ตอนใดให้ น้องชายฟั ง
ตอบ ตอน คนังและไม้ ไผ่ไปล่าสัตว์
19. จากเรื
จากเรื่ องถ้ อยคาที
ยคําที่เเปป็็ นภาษาที่ใใชใ
ช้้ ในเรื่ อง "เงาะป่
"เงาะปา"่ า" ตอนนีส้ส่่วนนใหญ่
ใหญ่เเปป็็ นภาษาอะ
ภาษาอะไร
ไร และกล่าวถึงสิ่งงใด
ใด
ตอบ ก็อย กล่าวถึง พืชและสัตว์นานาชนิด
20. พ่ออธิบายเกี่ยวกับ "ซาไก" หรื อ "เงาะ" ให้ ดอกแคฟั งอย่างไร
ตอบ ชนพื ้นเมืองที่อาศัยอยู่ในป่ าทึบทางภาคใต้ ของไทย
21. เพราะเหตุใดรัชกาลที่ 5 จึงโปรดปรานคนังมาก
ตอบ เพราะเป็ นเด็กฉลาด
22. รัชกาลที่ 5 นําเรื่ องราวของพวกเงาะจากคนังมาทําสิ่งใด
ตอบ แต่งเป็ นกลอนบทละคร
23. เพราะเหตุใดน้ องชายของดอกแคจึงให้ ดอกแคอ่านบทละครตอนคนังกับไม้ ไผ่ไปล่าสัตว์
ตอบ เพราะเป็ นตอนที่มีเนื ้อหาสนุกสนาน
24. บทสรุปความรักของ ลําหับ ฮเนา และซมพลา เป็ นอย่างไร ตรงกับสํานวนใด
ตอบ ตายทัง้ 3 คน จบลงด้ วยความเศร้ า ตรงกับสํานวน รักสามเส้ า
25. เงาะป่ า ตอนคนังกับไม้ ไผ่ไปล่าสัตว์ เป็ นเรื่ องราวที่เกี่ยวกับเรื่ องใด
ตอบ การนําเสนอภาพธรรมชาติที่สวยงามอุดมสมบูรณ์ พฤติกรรมของเด็กชายชาวเงาะป่ า การใช้
อาวุธล่าสัตว์ รวมไปถึงการประกอบอาหารอย่างง่าย ๆ
26. นักเรี ยนคิดว่าการเข้ าป่ าล่าสัตว์ของคนังกับไม้ ไผ่ ถือว่าเป็ นการทําลายธรรมชาติหรื อไม่อย่างไร
ตอบ ไม่ เพราะพวกเขาเป็ นชาวป่ าต้ องเรี ยนรู้ที่จะมีชีวิตอยู่ในป่ า การล่าสัตว์ของคนังกับไม้ ไผ่เป็ นไป
เพื่อการหาอาหารประทังชีวิตเท่านัน้

You might also like